บทเรียน ระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ นางสาวอมล

Download Report

Transcript บทเรียน ระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ นางสาวอมล

บทเรียน ระบบเฝ้ าระวังภาวะโลหิต
จางในหญิงตัง้ ครรภ์
นางสาวอมลวรรณ แก้วศรี
พยาบาลวิชาชีพ ชานาญการ
ความเป็ นมาและความสาคัญ
 ภาวะโลหิตจางในหญิงตัง้ ครรภ์เป็ นปั ญหาสาธารณสุขที่สาคัญ จาก
การศึกษาอุบตั ิการณ์ภาวะโลหิตจางในหญิงตัง้ ครรภ์ของประเทศไทย
พบร้อยละ 21.15 โดยพบที่ภาคกลาง ร้อยละ 24.28 ภาคใต้ ร้อยละ
22.85 ภาคเหนือ ร้อยละ 17.43 และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ
17.83
สาเหตุภาวะโลหิตจางในหญิงตัง้ ครรภ์ได้แก่
การขาด
สารอาหารจาพวกธาตุเหล็กและกรดโฟลิก การเสียเลือดจาก
การมีพยาธิปากขอ โลหิตจางอะพลาสติก (Aplastic
anemia) โรคทางพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย โรค
เม็ดเลือดแดงแตกง่าย รวมไปถึงการตกเลือดก่อนคลอด
ภาวะโลหิตจางในหญิงตัง้ ครรภ์ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของ
มารดาและทารก พบว่าทาให้เกิดการคลอดก่อนกาหนด
(preterm labour) ทารกแรกเกิดมีนา้ หนัก
ตัวน้อย และภาวะตกเลือดหลังคลอด(2) นอกจากนี้ พบว่า
หญิงตัง้ ครรภ์ท่ีมีภาวะโลหิตจางตลอดการตัง้ ครรภ์คลอดทารก
นา้ หนักแรกเกิดน้อยกว่าหญิงตัง้ ครรภ์ท่ีไม่มีภาวะโลหิตจาง
เฉลีย่ 66.0 กรัม และเสีย่ งต่อการคลอดทารกนา้ หนักน้อย คิด
เป็ น 1.29 เท่าของหญิงตัง้ ครรภ์ท่ีไม่มีภาวะโลหิตจาง
2553 พบหญิง
ตัง้ ครรภ์มีภาวะเลือดจางในระหว่างตัง้ ครรภ์ โดยมีภาวะเลือด
จางในตรวจเลือดครัง้ ที่ 1 ร้อยละ 14.77 ในการตรวจเลือด
ครัง้ ที่ 2 ภาวะโลหิตจางเพิม่ ขึ้นเป็ นร้อยละ 33.93 ใน
ปี งบประมาณ 2554 คลินิกฝากครรภ์ กลุ่มอนามัยแม่และ
เด็ก จึงต้องจัดระบบเฝ้ าระวังภาวะเลือดจางในหญิงตัง้ ครรภ์ให้
มีความเป็ นรูปธรรมมากขึ้นเพือ่ ให้สามารแก้ไขปั ญหาภาวะ
โลหิตจางในหญิงตัง้ ครรภ์ท่ีมาฝากครรภ์ท่ีศนู ย์อนามัยที่ 7
อุบลราชธานี
ซึง่ จากการดาเนินงานในปี งบประมาณ
กราฟแสดง ร้ อยละของหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเลือดจางขณะ
ตั้งครรภ์ ในการตรวจเลือดครั้งที่ 1 และ 2 เปรียบเทียบระหว่ าง ปี
2553 และ 2554
40
35
33.93
30
25
23.07
18.01
20
15
10
5
0
14.77
Hct
Hct
การจัดระบบเฝ้ าระวังเพือ่ ป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
ครัง้ แรกที่มาฝากครรภ์
ซักประวัตวิ า่ หญิงตัง้ ครรภ์มีโรคประจาตัวเป็ นโรคโลหิตจาง
หรือไม่ และคนในครอบครัวมีประวัตโิ รคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
หรือไม่
ตรวจดูความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC )
ตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียเมื่อผลการคัดกรองผิดปกติ จะได้รบ
ั
การตรวจดูชนิดของฮีโมโกลบิน เพื่อดูภาวะเสีย่ งทีจ่ ะเกิดภาวะ
โลหิตจาง โดยแยกระหว่างเลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก และ
จากโรคธาลัสซีเมีย
ในกรณีท่ีหญิงตัง้ ครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ถ้าตรวจพบว่าปริมาณเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (Hct) น้อย
กว่า 35% หรือความเข้มข้นเลือด (Hb) น้อยกว่า 12
gm% ถือว่าหญิงตัง้ ครรภ์รายนัน้ มีภาวะโลหิตจางมาก่อน
การตัง้ ครรภ์
่ เกีย่ วกับการรับประทานอาหารที่มี
จะได้รบั การซักประวัติเพิม
ธาตุเหล็ก การรับประทานอาหารสุกๆดิบๆ
ส่งพบแพทย์ แพทย์ให้การรักษาด้วยยา Triferdine
และ Folic acid 1 เม็ดหลังอาหารเช้า
Hct ซา้ ทุก 2 เดือน
ทุกครัง้ ที่หญิงตัง้ ครรภ์มาฝากครรภ์พยาบาลจะซักประวัติการ
รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กโดยใช้แบบประเมินภาวะ
โภชนาการในหญิงตัง้ ครรภ์
สอบถามการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก ,ปั ญหาในการ
รับประทานยา เช่น การลืมรับประทานยา รับประทานยาแล้วมี
อาการคลืน่ ไส้อาเจียนหรือไม่ จนทาให้หญิงตัง้ ครรภ์ไม่อยาก
รับประทานยาต่อ วิธีการแก้ไข
ตรวจ
เมื่อเข้าสู่ปลายไตรมาสที่ 2
ถ้า Hct น้อยกว่า 33% ส่งพบแพทย์ แพทย์เพิม่ การ
รักษาโดยการให้ยา FeSO4 1 เม็ด หลังอาหารเช้า
ในบางรายเมื่อให้การรักษาแล้วยังพบว่าระดับความเข้มข้นเลือด
ไม่เพิม่ ขึ้น บางครัง้ กลับลดลง แพทย์กจ็ ะเพิม่ ยา FeSO4
เป็ น 2 ครัง้ และ3 ครัง้ หลังอาหาร
ผลการดาเนินงานเฝ้ าระวังและแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิง
ตัง้ ครรภ์ ในรอบ 6 เดือนแรก
กระบวนการ PDCA ที่ได้นามาใช้ในระบบเฝ้ าระวังภาวะ
โลหิตจางในหญิงตัง้ ครรภ์
ได้มีการทบทวนอีกครัง้ ว่าเพราะอะไรเมื่อมีการวางระบบเฝ้ า
ระวังแล้วภาวะโลหิตจางในหญิงตัง้ ครรภ์จงึ ยังสูงอยู่ ซึง่
จากการซักประวัติการรับประทานยาของหญิงตัง้ ครรภ์ก็
รับประทานสมา่ เสมอ มีลมื รับประทานบ้างแต่เมื่อได้รบั
คาแนะนาว่าสามารถรับประทานในทันทีท่ีนกึ ได้หรือรับประทาน
ในมื้อถัดไป
จากการประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหารหญิงตัง้ ครรภ์
ส่วนใหญ่รบั ประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กธาตุเหล็กอย่างน้อย
สัปดาห์ละ 2 – 3 ครัง้
ผูป้ ฏิบตั ิงานได้มีการตัง้ ข้อสังเกตว่าหญิงตัง้ ครรภ์มีภาวะโลหิตจาง
สูงขึ้น เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น
่ นแปลงเม็ดเลือดในระยะตัง้ ครรภ์พบว่าการ
ซึง่ จากการเปลีย
เปลีย่ นแปลงที่เด่นชัดที่สดุ คือการเพิม่ ขึ้นของปริมาณเลือด
(Blood volume) โดยเพิม่ ขึ้นเฉลีย่ ร้อยละ 45 (เมื่อ
เทียบกับสตรีท่ีไม่ตงั้ ครรภ์)โดยจะเริม่ เพิม่ ขึ้นช่วงปลายไตรมาสแรก
และเพิม่ อย่างรวดเร็วในไตรมาสที่ 2 และช้าลงช่วงไตรมาสที่ 3
่ ขึ้นไม่ได้สดั ส่วนกับการเพิม่ ปริมาณเม็ด
จะเห็นได้ว่าปริมาณเลือดเพิม
เลือดแดง ทาให้ความเข้มข้นของฮีโมโกลบินและค่าฮีมาโตคริต ในสตรี
ตัง้ ครรภ์มีค่าตา่ ลงโดยจะมีค่าตา่ สุดในช่วงปลายของไตรมาสที่สอง แต่
ไม่ควรตา่ กว่า 33 %
ได้มีการทบทวนทฤษฎีเพิม่ เติมว่าสาเหตุอะไรที่มีผลทาให้เกิด
ภาวะโลหิตจางในหญิงตัง้ ครรภ์ได้อกี
ซึง่ ในหญิงตัง้ ครรภ์ท่ีอายุครรภ์ตงั้ แต่ 20 สัปดาห์ข้ น
ึ ไปจะมี
การให้ยาเสริมแคลเซียมวันละครัง้ เพือ่ ป้องกันภาวะครรภ์เป็ น
พิษ
่ วกับยาที่มีผลต่อการขัดขวางการดูด
จากการทบทวนทฤษฎีเกีย
ซึมธาตุเหล็กก็คือยาที่ส่วนผสมของแคลเซียม ซึง่ ถ้ารับประทาน
พร้อมกันจะลดการดูดซึมธาตุเหล็ก
จากการซักถาม หญิงตัง้ ครรภ์ส่วนใหญ่รบั ประทานยาทัง้ สอง
ตัวหลังอาหารเช้าพร้อมกัน
วิธีการแก้ไขเพิม่ เติมในช่วง 6 เดือนหลัง
มีการปรับวิธีการแนะนาหญิงตัง้ ครรภ์เพิม่ เติมเกีย่ วกับผลที่
เกิดขึ้นจากการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กและยาเสริม
แคลเซียมพร้อมกัน
 ให้แยกรับประทานคนละเวลา เช่นหญิงตัง้ ครรภ์บางรายเลือก
รับประทานยาเม็ดเสริมแคลเซียมหลังอาหารเช้า ยาเสริมธาตุ
เหล็กหลังอาหารเย็น ส่วนในรายที่แพทย์ให้การรักษาภาวะ
โลหิตจางด้วยยา FeSO4 1 เม็ด 3 เวลาหลังอาหาร
หญิงตัง้ ครรภ์จะเลือกรับประทานยาเสริมแคลเซียมก่อนนอน
ผลการดาเนินงานในรอบ 6 เดือนหลัง
แนวโน้มของภาวะโลหิตจางในหญิงตัง้ ครรภ์ ในการตรวจเลือดครัง้ ที่ 1 และ2
เปรียบเทียบ ผลงาน 6 เดือนแรก และ 6 เดือนหลัง
80
70
46.67
60
50
Hct
40
30
20
10
0
28.31
9.09
9.8
สิง่ ที่ได้เรียนรู ้
การใช้ กระบวนการ PDCA มาปรับปรุ งวิธีการทางานหรือการพัฒนางาน จะทาให้
สามารถเปลีย่ นงานทีเ่ ป็ น routine ให้ เป็ นงานวิชาการทีส่ ามารถแก้ไขปัญหาได้
ในการป้ องกันภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ จะใช้ วธิ ีใดวิธีหนึ่งไม่ ได้ จะต้ องมี
การแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ เช่ นการซักประวัติว่ามีโรคประจาตัวเป็ นโรคโลหิตจาง
หรือโรคธาลัสซีเมียหรือไม่ พฤติกรรมการรับประทานอาหารทีม่ ีธาตุเหล็กและ
โปรตีนซึ่งเป็ นส่ วนประกอบในการสร้ างเม็ดเลือด มีพฤติกรรมการรับประทาน
อาหารสุ กๆดิบๆหรือไม่
เมือ่ เกิดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ นอกจากการให้ การรักษาด้ วยยาเสริมธาตุ
เหล็กแล้ ว ควรจะทาควบคู่กนั กับการให้ คาแนะนา เรื่องการรับประทานอาหารทีม่ ี
ธาตุเหล็ก อาหารทีช่ ่ วยดูดซึมธาตุเหล็ก และหลีกเลีย่ งรับประทานอาหารหรือยาที่
ขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็กพร้ อมกันกับยาเสริมธาตุเหล็ก
ขอบคุณค่ะ