ไข้ออกผื่นในเด็ก

Download Report

Transcript ไข้ออกผื่นในเด็ก

ไข้ออกผืน่ ในเด็ก
ไข้ออกผืน่ ในเด็ก
1.การติดเชือ้ (Infection)
1.1 การติดเชือ้ ไวรัส (viral infection)
1.2 การติดเชือ้ แบคทีเรีย (bacterial infection)
1.3 การติดเชือ้ Mycoplasma
1.4 การติดเชือ้ Rickettsiae
2. ผืน่ จากสาเหตุอ่นื ๆ ทีไ่ ม่ใช่การติดเชือ้ (non-infection)
2.1 ผืน่ แพ้ยา (cutaneous drug eruption)
2.2 Collagen vascular disease
การติดเชือ้ (infection)
การติดเชือ้ ไวรัส
- ผืน่ ชนิด classic viral exanthems
- ผืน่ ชนิดไม่เจาะจง
ผืน่ ชนิด classic viral exanthems
หัด (measles)
• ส่วนใหญ่มกี ารระบาดในฤดูหนาว อายุทพ่ี บบ่อยคือช่วงอายุ 1-4 ปี
• อาการแสดง มีไข้สงู ไอมาก ตาแดงมีขต้ี า ภายหลังจากมีไข้ 3-4 วัน
จะมีจุดสีขาวฐานแดงขนาด 1-3 มม. ทีก่ ระพุง้ แก้ม เรียกว่า Koplik’s
spot (ลักษณะเฉพาะ)
• ผืน่ จะเกิดขึน้ ในวันที่ 4 หลังจากเริม่ มีไข้โดยเห็นเป็ นผืน่ จุดแดงๆ เริม่
จากบริเวณหลังหูก่อน จากนัน้ จะลามไปทีห่ น้า ลาตัว แขนและขา โดย
พบผืน่ มากทีบ่ ริเวณลาตัว เมือ่ ผืน่ ถึงเท้าไข้จะลดลง ซึง่ ใช้เวลา
ประมาณ 2-3 วัน ภายหลังผืน่ หายจะเปลีย่ นเป็ นสีดา (hyperpigment)
ผืน่ ชนิด classic viral exanthems
หัดเยอรมัน (rubella)
• โรคนี้พบบ่อยในเด็กโต
• เกิดจากเชือ้ rubella virus
• ผูป้ ว่ ยจะมีไข้ต่าๆ ปวดเมือ่ ยตามตัว
• ผืน่ จะเกิดขึน้ ภายหลังมีไข้ 2-3 วัน โดยผืน่ ขึน้ ทีห่ น้าก่อน แล้วกระจาย
อย่างรวดเร็วไปทีค่ อ ลาตัว แขน ขา ผืน่ จะมีอยูไ่ ม่เกิด 3 วัน และหาย
ได้เองโดยไม่มสี ดี า (hyperpigment)
• การตรวจร่างกายพบต่อมน้าเหลืองโตทีบ่ ริเวณท้ายทอย หลังหู และ
ต้นคอ ในปากตรวจพบจุดเลือดออกที่ uvula (Fouchheimer’s spot)
ผืน่ ชนิด classic viral exanthems
หัดดอกกุหลาบ (roseola infantum)
• พบบ่อยในเด็กอายุ 3 เดือนถึง 3 ปี
• เกิดจากเชือ้ human herpesvirus type 6
• อาการ: ไข้สงู เบื่ออาหาร ร้องกวนหรือโยเย ไม่ไอ ไม่มนี ้ามูก ตาไม่
แดง ไข้จะมีอยูป่ ระมาณ 3-5 วัน แล้วลดลงอย่างรวดเร็ว
• หลังจากนัน้ จึงมีผน่ื ลักษณะเป็ น maculopapular rash ขึน้ ทีล่ าตัวก่อน
แล้วกระจายไปทีห่ น้า แขน ขา ผืน่ จะอยูน่ านไม่เกินสัปดาห์
ผืน่ ชนิด classic viral exanthems
• ลักษณะคล้ายกับผืน่ ในโรคหัด แต่โรคนี้แยกจากโรคหัดโดยเด็กไม่มี
อาการไอ ผืน่ ขึน้ โดยไม่มไี ข้ และผืน่ หายโดยไม่มี hyperpigment
• การตรวจร่างกายอื่นๆ พบต่อมน้าเหลืองโตบริเวณหลังหู และคอ
• โรคนี้ในช่วงทีเ่ ด็กมีไข้สงู มักจะได้รบั การรักษาด้วยยาปฏิชวี นะ เช่น
amoxicillin และเมือ่ มีผน่ื ขึน้ ทาให้ทงั ้ แพทย์และญาติเข้าใจผิดคิดว่า
เกิดจากการแพ้ยา
ผืน่ ชนิด classic viral exanthems
Erythema infectiosum (Fifth’s disease)
• พบในเด็กวัยเรียนแต่พบได้น้อยในประเทศไทย
• เกิดจากการติดเชือ้ human parvovirus B19
• อาการ: มีไข้ต่าๆ มีผน่ื ผิวหนัง ซึง่ มีลกั ษณะจาเพาะ คือ มีผน่ื สีแดงที่
บริเวณแก้มทัง้ สองข้าง (slapped cheek) หลังมีไข้ 1-4 วัน มีผน่ื แดง
เป็ นร่างแหทีบ่ ริเวณแขน และขา (lacy or reticulated eythema) ผืน่
เป็ นๆ หายๆ อยูน่ าน 2-3 สัปดาห์
ผืน่ ชนิด classic viral exanthems
Infectious monomucleosis
• พบบ่อยในเด็กโต
• เกิดจากการติดเชือ้ Epstein-Barr virus (HHV4)
• อาการ: มีไข้สงู 4-14 วัน ต่อมน้าเหลืองโต เจ็บคอร่วมกับมีฝ้าขาวใน
คอ ตับม้ามโต ตาบวม ตาเหลือง ผืน่ พบในสัปดาห์แรกร้อยละ 10-15
ลักษณะผืน่ เป็ นแบบ maculopapular อาจพบ petechiae,
papulovesicular หรือ urticaria
ผืน่ ชนิด classic viral exanthems
ไข้เลือดออก (dengue infection)
• เกิดจากการติดเชือ้ dengue virus
• อาการ: มีไข้สงู ไม่มอี าการไอหรือน้ามูก ปวดท้อง อาเจียน ผื่นพบใน
วันที่ 4-5 หลังจากไข้ลดลง ลักษณะเป็ นผืน่ แดง มีจุดขาวตรงกลาง
(convalescence rash) โดยพบทีแ่ ขน ขา และพบจุดเลือดออก อาจ
พบอาการคันร่วมด้วย
• การตรวจร่างกายพบ ตับโต กดเจ็บ การตรวจเลือด complete blood
count (CBC) พบ hemoconcentration, atypical lymphocyte
เพิม่ ขึน้ และเกร็ดเลือดต่า
ผืน่ ชนิดไม่เจาะจง (non-specific virus)
เชื้อ enterovirus
• ติดต่อผ่านทางเดินอาหาร
• อาการทีส่ าคัญ ได้แก่ อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน
ถ่ายอุจจาระเหลว ผืน่ พบได้หลายชนิด เช่น morbilliform, petechiae,
vesicular, urticaria
ผืน่ ชนิดไม่เจาะจง (non-specific virus)
เชื้อ adenovirus
• มักพบในฤดูหนาว
• มักพบอาการทางระบบทางเดินหายใจร่วมกับผืน่
• โดยผืน่ ทีเ่ กิดจากเชือ้ นี้อาจต้องแยกจากผืน่ แพ้ยาชนิด
maculopapular rash ซึง่ การวินิจฉัยทีแ่ น่นอนต้องอาศัย viral
culture, serological study
การติดเชือ้ แบคทีเรีย
ไข้ดาแดง (scarlet fever)
• พบมากในเด็กวัยเรียน ปจั จุบนั พบโรคนี้น้อยลง
• สาเหตุเกิดจากเชือ้ group A Streptococcus
• อาการมี: ไข้สงู ปวดศีรษะ เจ็บคอ ภายในปากแดง ลิน้ เป็ นฝ้าขาว
เห็น papillary บวมแดง (white strawberry tongue) หลังจากนัน้
เปลีย่ นเป็ น red strawberry tongue
การติดเชือ้ แบคทีเรีย
• ผืน่ ปรากฏภายใน 1-2 วันหลังจากมีไข้ ลักษณะเป็ นผืน่ แดงคล้าย
กระดาษทราย (sand-paper like) หน้าแดง แต่บริเวณรอบปากซีด
(circumoral pallor) บริเวณข้อพับเห็นเป็ นจุดเลือดออกเรียบเป็ นเส้น
(pastia’s lines)
• หลังจากผืน่ หายจะมีการลอกของผิวหนังเป็ นแผ่นใหญ่ภายใน 1
สัปดาห์ ซึง่ เป็ นชัดบริเวณมือ เท้า ลอกเป็ นแผ่น แต่ตามตัวลอก
เป็ นขุย ซึง่ เป็ นลักษณะจาเพาะของโรค
การติดเชือ้ แบคทีเรีย
Staphylococcus scalded skin syndrome (SSSS)
• พบในเด็กทีอ่ ายุน้อยกว่า 5 ปี
• เป็ นโรคทีม่ อี าการรุนแรง เกิดจาก epidermolytic toxin หรือ
exfoliative exotoxin A และ B (ETA & ETB) ของ Staphylococcus
aureus จากการติดเชือ้ ที่ nasopharynx สะดือ นัยน์ตา และผิวหนัง
• ผูป้ ว่ ยจะมีอาการไข้สงู ร้องกวน ผืน่ แดงทัง้ ตัว (erythroderma) เจ็บ
บริเวณผิวหนัง (cutaneous tenderness) บริเวณหน้าเห็นเป็ นผื่น
สะเก็ดรอบปากและตา (periorificial crusting) ซึง่ เป็ นลักษณะเฉพาะ
ของโรค ต่อมา 24-48 ชัวโมง
่ ผิวหนังพองเป็ นตุ่มน้า การตรวจ
Nikosky’s sign ให้ผลบวก
การติดเชือ้ แบคทีเรีย
Toxic shock syndrome
• เป็ นโรคทีม่ คี วามรุนแรงและมีอตั ราตายสูงถ้าไม่ได้รบั การรักษา
• เกิดจาก toxin ของเชือ้ Staphylococcus
• อาการแสดงเริม่ ด้วยไข้สงู อาเจียน ปวดเมือ่ ยตามตัว ปวดศีรษะ และมีความดัน
โลหิตต่า หรือในรายรุนแรงอาจมีอาการช็อกร่วมด้วย ลักษณะผื่นเป็นแบบ
diffuse macular erythroderma rash หรือ sunburn rash ซึง่ ต่อมา 1-2 สัปดาห์
หลังมีไข้ผ่นื จะลอกทัง้ ตัว โดยเฉพาะบริเวณฝา่ มือฝา่ เท้าจะลอกเห็นได้ชดั
• นอกจากผื่นอาจพบอาการของระบบอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น คลื่นไส้ อาเจียน การ
ทางานของตับ ไต ระบบประสาท ระบบเลือด ผิดปกติ ถ้าไม่ได้รบั การรักษา
ผูป้ ว่ ยอาจเสียชีวติ ได้
การติดเชือ้ แบคทีเรีย
ไข้กาฬหลังแอ่น (meningococcemia)
• พบได้ไม่บ่อยแต่ถา้ ไม่ได้รบั การวินิจฉัยทีถ่ ูกต้องอาจเกิดโรคแทรก
ซ้อนทีร่ นุ แรงและทาให้ผปู้ ว่ ยเสียชีวติ ได้
• เกิดจากการติดเชือ้ Niesseria meningitides
• อาการทางผิวหนัง พบประมาณ 2 ใน 3 ของผูท้ ต่ี ดิ เชือ้ ลักษณะผืน่
เป็ น maculopapular rash หรือพบเป็ น petechiae หรือ stellate
purpura บริเวณแขน ขา ฝา่ เท้า ฝา่ มือ ร่วมกับมีไข้สงู ปวดเมือ่ ยตาม
ตัว ปวดข้อ ช็อก หรืออาการเยือ่ หุม้ สมองอักเสบ
การติดเชือ้ แบคทีเรีย
Leptospirosis
• เกิดจากการติดเชือ้ Leptospira
• ประวัตทิ ช่ี ว่ ยในการวินิจฉัย คือ ผูป้ ว่ ยไปเล่นน้า ซึง่ สัมผัสกับอุจจาระ
และปสั สาวะหนูทม่ี เี ชือ้ นี้
• อาการสาคัญ คือ ไข้สงู หนาวสัน่ ปวดกล้ามเนื้อมาก ตาแดง ปวด
ศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน อาจมีอาการของ aseptic meningitis หรือตัว
เหลืองร่วมด้วย ลักษณะผืน่ เป็ นแบบ erythematus maculopapular
rash
การติดเชื้อ Mycoplasma
• ส่วนใหญ่พบในเด็กวัยเรียน
• ผูป้ ว่ ยจะมีอาการไข้ต่าๆ ไอมาก
• ลักษณะผืน่ ทีพ่ บบ่อยคือ maculopapular rash แต่สามารถพบผืน่ ได้
ทุกแบบ เช่น urticaria vesiculo-bullous หรือรุนแรงเป็ น StevensJohnson syndrome
การติดเชื้อ Rickettsiae
• เกิดจากถูกไรอ่อนกัด ซึง่ มีเชือ้ Rickettsia tsutsugamushi
• พบน้อยในเด็ก มักพบใน endemic area ของเชือ้
• บริเวณทีถ่ ูกกัดเห็นเป็ นวงแดงล้อมรอบรอยดาไหม้ตรงกลางคล้าย
บุหรีจ่ ้ี (eschar) ซึง่ พบบริเวณในร่มผ้า
• ผูป้ ว่ ยจะมีอาการไข้สงู ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ไอแห้งๆ ผืน่ พบใน
วันที่ 5-7 ภายหลังได้รบั เชือ้ ลักษณะเป็ น erythematous
maculopapular rash เป็ นอยูน่ าน 3-4 วัน ผืน่ หายเองได้
ผืน่ จากสาเหตุอื่นๆ ที่ไม่ใช่การติด
เชื้อ (non-infection)
ผืน่ แพ้ยา (cutaneous drug eruption)
• ผืน่ ทีพ่ บบ่อยทีส่ ดุ ของการแพ้ยาได้แก่ exanthematous eruption หรือ
maculopapular rash
• ผูป้ ว่ ยมักมีผน่ื ขึน้ หลังการได้รบั ยาประมาณ 1-2 สัปดาห์ ลักษณะผืน่
แพ้ยา เป็ น generalized aymmetrical maculopapular rash ขึน้ ที่
ลาตัว แขนขา อาจมีอาการคันร่วมด้วย
• ในรายทีส่ งสัยว่าอาจเกิดจากการแพ้ยา ควรสัมภาษณ์ประวัตกิ ารใช้ยา
ทีไ่ ด้รบั มาก่อนภายใน 1-3 สัปดาห์ ก่อนมีผน่ื ขึน้ ถ้าไม่แน่ใจให้หยุด
ยาทีอ่ าจเป็ นสาเหตุ ถ้าเกิดจากการแพ้ยา ผืน่ จะหายภายใน 2-3 วัน
หลังหยุดยา ทัง้ นี้ขน้ึ กับค่าครึง่ ชีวติ ของยาด้วย
Collagen vascular disease
Systemic lupus erythematosus (SLE)
• พบบ่อยในผูป้ ว่ ยเด็กเพศหญิง
• ผูป้ ว่ ยจะมีอาการไข้รว่ มกับผืน่ เป็ นๆ หายๆ ลักษณะผืน่ ทีพ่ บในผูป้ ว่ ย
SLE มีได้หลายแบบตัง้ แต่ผน่ื แบบไม่จาเพาะ เช่น maculopapular
rash, urticaria จนถึงผืน่ ทีจ่ าเพาะ เช่น malar rash, discoid LE,
vasculitis หรือ photosensitivity
• อาการอื่นๆ ทีพ่ บร่วมด้วย เช่น ปวดข้อ ผมร่วง ซีด แผลในปาก ต่อม
น้าเหลืองโต อาการทางประสาท และไต เป็ นต้น
Collagen vascular disease
Juvenile rheumatoid arthritis (JRA)
• ผืน่ ของโรคนี้มลี กั ษณะเฉพาะคือ เป็ นผืน่ แบบ maculopapular rash
เห็นได้ชดั เวลาไข้สงู แต่ถา้ ไข้ลดลง ผืน่ จะหายไป
• อาจมีอาการของตับม้ามโต (hepatosplenomegaly) ต่อมน้าเหลืองโต
Collagen vascular disease
Kawasaki disease
• เป็ นโรคทีพ่ บบ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี สาเหตุยงั ไม่ทราบแน่นนอน การ
วินิจฉัยอาศัยอาการทางคลินิก โดยมี criteria ในการวินิจฉัย ดังนี้
• ไข้สงู มากกว่า 5 วัน
• มีผ่นื ซึง่ อาจพบเป็ น maculopapular rash, urticaria, scarlatiniform, erythema
multiform-like แต่ไม่พบ vasicobullous
• ตาแดงทัง้ 2 ข้าง โดยไม่มขี ต้ี า
• การเปลีย่ นแปลงทีร่ มิ ฝีปาก โดยปากแดง แห้ง แตก (dryness, redness,
fissuring) และลิน้ คล้ายผล strawberry
• การเปลีย่ นแปลงทีม่ อื และเท้า อาจพบผื่นแดงในระยะแรก ต่อมาสัปดาห์ท่ี 2
ของไข้ ผื่นลอกทีป่ ลายนิ้วมือ นิ้วเท้า ซึง่ เป็ นลักษณะเฉพาะของโรค
• ต่อมน้าเหลืองโตส่วนใหญ่เป็ นต่อมน้าเหลืองข้างคอ และมีขนาดมากกว่า 1.5
cm
Collagen vascular disease
• การวินิจฉัย ผูป้ ่ วยต้องมีไข้สูงร่ วมกับอาการทางคลินิกอีก 4 ใน 5 ข้อ
และต้องวินิจฉัยแยกโรคอื่นๆ ได้ เนื่องจากยังไม่มีผลการตรวจทาง
ห้องปฏิบตั ิการที่ช่วยในการวินิจฉัยที่แน่นอน