สมุทรศาสตร์เบื้องต้น

Download Report

Transcript สมุทรศาสตร์เบื้องต้น

้ งต้น (HE202)
สมุทรศาสตร์เบือ
สมุทรศาสตร์ (Oceanography)
วิทยาศาสตร์แขนงหนึง่
ซงึ่ มีความเกีย
่ วพ ันก ับ
วิทยาศาสตร์แขนงอืน
่ ๆ
อีกหลายสาขาโดยมี
ึ ษา
ว ัตถุประสงค์เพือ
่ ศก
ให้เกิดความรูแ
้ ละความ
เข้าใจเกีย
่ วก ับทะเลและ
มหาสมุทร
สมุทรศาสตร์ (Oceanography)
วิทยาศาสตร์แขนงหนึง
่ ซงึ่ มีความ
เกีย
่ วพ ันก ับวิทยาศาสตร์แขนงอืน
่
ๆ อีกหลายสาขาโดยมี
ึ ษาให้เกิด
ว ัตถุประสงค์เพือ
่ ศก
ความรูแ
้ ละความเข้าใจเกีย
่ วก ับ
ทะเลและมหาสมุทร
สมุทรศาสตร์
(Oceanography)
สมุทรศาสตร์กายภาพ (Physical Oceanography)
 สมุทรศาสตร์เคมี (Chemical Oceanography)
ี ะ (Biological Oceanography)
 สมุทรศาสตร์ชว
 สมุทรศาสตร์ธรณี (Geological Oceanography)
 สมุทรศาสตร์อต
ุ น
ุ ย
ิ มวิทยา (Meteorological
Oceanography)

สมุทรศาสตร์กายภาพ







ึ ษาล ักษณะทางกายภาพของ
การศก
ทะเล และมหาสมุทรได้แก่
้ - นา้ ลง กระแสนา้ คลืน
นา้ ขึน
่
อุณหภูม ิ ความหนาแน่น
ี งในทะเล
การหมุนเวียนของนา้ เสย
ความโปร่งแสงของนา้ ทะเล
นา้ แข็งในทะเล
์ องนา้ ทะเล
ิ สข
และปัจจ ัยอืน
่ ๆ ทางฟิ สก
Sea Surface Temperature - October 7, 2002
WAVES
สมุทรศาสตร์เคมี






ึ ษาถึงทีม
ศก
่ า องค์ประกอบและ
ปฏิกริ ย
ิ าทางเคมีของนา้ ทะเล รวมทงั้
สภาพความเค็ม
ความนาไฟฟ้า
ความเป็นกรด - ด่าง
ปริมาณสารอาหาร แร่ธาตุ ก ัมม ันตร ังส ี
ปริมาณก๊าซทีล
่ ะลายอยูใ่ นนา้ ทะเล
CHEMISTRY
ค่าความเค็มเฉลีย
่ ในมหาสมุทร
สมุทรศาสตร์ชวี ะ

ั ใน
ึ ษาถึงสงิ่ มีชวี ต
ศก
ิ ทงพื
ั้ ชและสตว์
ั ันธ์
ทะเล ว ัฏจ ักรและความสมพ
ระหว่างสงิ่ มีชวี ต
ิ ในทะเล รวมทงั้
สภาพแวดล้อมของทะเลและ
มหาสมุทรทีเ่ กีย
่ วข้องก ับสงิ่ มีชวี ต
ิ
ปรากฎการณ์ขป
ี้ ลาวาฬ (Red Tides)
สมุทรศาสตร์ธรณี





ึ ษาถึง กาเนิดของเปลือกสมุทร
ศก
การเคลือ
่ นต ัวของเปลือกสมุทร
่ นประกอบ
ล ักษณะภูมป
ิ ระเทศและสว
้ ท้องทะเล
ทางกายภาพของพืน
้ ท้องทะเล
ล ักษณะตะกอนพืน
และล ักษณะชายฝั่งชนิดต่าง ๆ
Mostly beach
Mostly rocky shoreline
What are beaches made of?
สมุทรศาสตร์อต
ุ น
ุ ย
ิ มวิทยา




ั ันธ์ (Interaction)
ึ ษาถึงปฏิสมพ
ศก
ระหว่างบรรยากาศ และผิวหน้านา้ ทะเล
ลมและผลจากอิทธิพลของลม
ั
ท ัศนวิสยในทะเล
และองค์ประกอบทางอุตน
ุ ย
ิ มวิทยาอืน
่ ๆ
ในทะเล
CLIMATE
WEATHER
CLIMATE, OCEAN CIRCULATION
HISTORY OF OCEANOGRAPHY
 Early
humans
 1500 - 500 B.C.
 500 B.C. - 500 A.D.
 500 - 1500
(Dark Ages)
 1450 - 1550 European explorers
 1550 - 1650 British explorers
 Scientists, Navigation
 Modern Oceanography
1500 - 500 B.C.
 ARAB
TRADERS- Indian Ocean
 POLYNESIANS - Pacific Ocean
่ หาสมุทรอินเดียและ
ชาวอาหร ับได้ออกเดินทางสูม
ี น ได้ออกเดินทาง สูก
่ ารค้นพบใน
ชาวโพลิเนเซย
ิ ิก
มหาสมุทรแปซฟ
การเดินทางเริม
่ แรกเป็นการเดินเรือใกล้ชายฝั่งและ
่ งเวลากลางคืน เมือ
นาเรือกล ับเข้าฝั่งในชว
่ ออกจาก
ั
ั
่ ย
ฝั่งพวกเขาอาศยนก
คลืน
่ และการสงเกตเมฆ
ชว
ั
ในการเดินทางและอาศยกลิ
น
่ ของดอกไม้ และการ
่ ยในการเดินทางกล ับสูฝ
่ ่ง
เผาไม้ชว
ั
Trade and War
Stayed close to shore
500 B.C. - 500 A.D.
 GREEKS
– Aristotle
water cycle
ั
เมือ
่ ประมาณ 350 ปี ก่อนคริสตศกราช
ื่ ว่ามหาสมุทร เป็น
อริสโตเติล (Aristotle) เชอ
่ นทีล
ื่ ว่าความร้อน
สว
่ ก
ึ ทีส
่ ด
ุ ของผิวโลกและเชอ
จากดวงอาทิตย์จะระเหยนา้ จากผิวหน้าทะเล และ
้ ระทบก ับความเย็ นก็จะเกิดการ
เมือ
่ ไอนา้ เหล่านีก
ควบแน่นตกลงมาเป็นฝน และเขาได้รเิ ริม
่ ทา
ั ทะเลขึน
ี าแนกประเภทของสตว์
้ มา
บ ัญชจ
500 B.C. - 500 A.D.
 GREEKS
– Eratosthenes
Earth circumferance
ั
ประมาณ 200 ปี ก่อนคริสตศกราช
อีราทอส
เทนีส (Eratosthenes) ชาวอียป
ิ ต์ บรรณาร ักษ์
ห้องสมุดทีเ่ มือง Alexandria ได้จ ัดสร้างแผนที่
้ รอบวงของโลกได้ 40,250
้ และคานวณเสน
ขึน
กิโลเมตร หรือ 25,000 ไมล์ (ปัจจุบ ัน ว ัดได้
40,067 กิโลเมตรหรือ24,881 ไมล์)
มิ.ย. ซงึ่ เป็นว ันที่
ดวงอาทิตย์ทามุมตงฉากก
ั้
ับ
ผิวโลกนน
ั้ สามารถมองเห็น
ก้นบ่อนา้ ทีเ่ มือง Syene (หรือ
Answan ในปัจจุบ ัน)
 ในว ันที่ 21
 ในขณะทีไ
่ ม่สามารถมองเห็น
ก้นบ่อนา้ ทีเ่ มือง Alexandria
่ นโค้ง
จึงสรุปได้วา
่ เกิดจากสว
ของโลก ทาให้ดวงอาทิตย์
ไม่ได้ทามุมตงฉากก
ั้
ับผิวโลก
ทีเ่ มือง Alexandria
Syene
Alexandria
 เขาได้ว ัดมุมของดวงอาทิตย์มค
ี า่ เท่าก ับ
่ นโค้งของวงกลม โดย
1/50 ของสว
ระยะทางระหว่างเมือง Syene และ
Alexandria เท่าก ับ 5000 stadia
(1 stadia มีคา่ ประมาณ 1/6 กิโลเมตร)
้ รอบวงของโลก
เขาสามารถคานวณเสน
ได้เท่าก ับ 250,000 stadia หรือ
ประมาณ 40,250 กิโลเมตร
500 B.C. - 500 A.D.
 GREEKS
– Posidonius ocean depth (1800 m = 1 mile)
โปไซโดเนียส (Posidonius) แจ้งว่าสามารถว ัด
ความลึกนา้ ทะเลใกล้เกาะซาร์ดเิ นีย (Sardinia)
ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้ประมาณ 1,800
เมตร (6,000 ฟุต)
500 B.C. - 500 A.D.
 GREEKS
– Pliny the Elder tides and moon
ั ันธ์
ไพลนี่ (Pliny) พบว่าดิถด
ี วงจ ันทร์มค
ี วามสมพ
้ –ลงของระด ับนา้ ในทะเล และพบว่ามี
ก ับการขึน
่ งแคบยิบรอลตาร์
กระแสนา้ ไหลผ่านชอ
(Gibraltar)
500 B.C. - 500 A.D.

GREEKS
– Claudius Ptolemaeus (Ptolemy)
“world” map
ได้นาแนวความคิดเรือ
่ งโลกกลมของ
Eratosthenes มาใชใ้ นการสร้างแผนที่
โดยเริม
่ มีแผนทีร่ ะบบ Grid System แต่
การสร้างแผนทีย
่ ังคงได้จากการถาม
น ักเดินเรือและชาวประมง
การสร้างแผนทีโ่ ลกย ังคงเป็นล ักษณะ
แบน และภูมภ
ิ าคใดทีม
่ ค
ี วามสาค ัญ
เกีย
่ วก ับทร ัพยากรทีเ่ กีย
่ วก ับมนุษย์จะมี
ขนาดใหญ่กว่าภูมภ
ิ าคอืน
่
ในแผนทีด
่ ังกล่าว ศรีล ังกา (Taprobane) มีขนาดใหญ่
กว่าอินเดีย
คาบสมุทรสุวรรณภูม ิ (Aurea Chersonesus or
Golden Peninsular) และไทยก็เป็นทีร่ จ
ู ้ ักในแง่ของ
แร่ดบ
ี ก
ุ (ถลาง)
Johannes Kepler (1571-1630)
Johannes Kepler (1571-1630)
 น ักดาราศาสตร์ชาวเยอรม ันได้ทาการวิเคราะห์
ข้อมูลตาแหน่งของดาวเคราะห์ ทีไ่ ด้จากการ
ั
ตรวจว ัดจากการสงเกต
การณ์อย่างละเอียด แล้ว
ทาการคานวณย้อนกล ับ พบว่า ผลของการ
คานวณซงึ่ ถือเอาวงโคจรเป็นรูปวงกลมนน
ั้ ไม่
ั
สอดคล้องก ับข้อมูลทีไ่ ด้จากการสงเกต
การณ์
แต่กล ับสอดคล้องก ับผลของการคานวณซงึ่
ถือเอาวงโคจรเป็นรูปวงรี
 ในปี ค.ศ.1609 เคปเลอร์ได้ประกาศว่า “ดาว
เคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมีดวง
อาทิตย์อยูท
่ โี่ ฟก ัสจุดหนึง่ ” (กฎข้อที่ 1 กฎของ
วงรี)
Galileo Galilei (1564-1642)
Galileo Galilei (1564-1642)
์ ย
ิ สผ
 น ักฟิ สก
ู ้ งิ่ ใหญ่ทส
ี่ ด
ุ คนหนึง่ ของโลก
้ ล้องโทรทรรศน์แสดงให้
 เป็นบุคคลแรกทีไ
่ ด้ใชก
มนุษย์รธ
ู ้ รรมชาติของจ ักรวาลและรูว้ า
่ โลกเป็น
เพียงดาวบริวารดวงหนึง่ ของดวงอาทิตย์เท่า
นนเอง
ั้
้ ณิตศาสตร์ในการ
 น ักวิทยาศาสตร์คนแรกทีใ
่ ชค
อธิบายปรากฎการณ์ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติซงึ่
ึ ษาด้านกลศาสตร์ของ Galileo ได้
การศก
ิ สใ์ น
วางรากฐานให้ Newton ได้สร้างวิชาฟิ สก
เวลาต่อมา
Sir Isaac Newton (1642-1727)
Sir Isaac Newton (1642-1727)
 น ักคณิตศาสตร์ชาวอ ังกฤษ
สนใจดาราศาสตร์
และประดิษฐ ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง
้ โดยใชโ้ ลหะเงา
(Reflecting telescope) ขึน
่ ใน
เว้าในการรวมแสง แทนการใชเ้ ลนส ์ เชน
กล้องโทรทรรศน์ชนิดห ักเหแสง (Refracting
telescope)
 นิวต ันติดใจในปริศนาทีว
่ า
่ แรงอะไรทาให้ผล
่ น
้ื ดินและตรึงดวงจ ันทร์ไว้ก ับโลก
แอปเปิ ลตกสูพ
่ ารค้นพบกฎทีส
และสงิ่ นีเ้ องทีน
่ าเขาไปสูก
่ าค ัญ 3
ข้อ
Edmund Halley (1656-1742)
Edmund Halley (1656-1742)
 บ ันทึกตาแหน่งของดวงจ ันทร์จนครบรอบ
19 ปี
ี โลกใต้สาเร็จ
 ทาแผนทีด
่ าวของซก
ื่ ดาวหางฮลเลย์
ั
ั
 ชอ
ตงเพื
ั้
อ
่ เป็นเกียรติแก่ฮลเลย์
ผู ้
้ ละเป็นคน
คานวณการปรากฎของดาวหางดวงนีแ
แรกทีร่ ว
ู้ า
่ แรงโน้มถ่วงระหว่างมวลของสารทีด
่ วง
อาทิตย์กระทาต่อดาวหางทาให้ดาวหางเคลือ
่ นที่
รอบดวงอาทิตย์เหมือนก ับดาวเคราะห์ ดาวหาง
ั
ฮลเลย์
กล ับมาให้เห็นอีกในปี พ.ศ. 2378 พ.ศ.
2453 และ พ.ศ. 2529 เป็นดาวหางทีม
่ ค
ี วาม
สว่างมากและเคลือ
่ นทีร่ อบดวงอาทิตย์รอบละ
ประมาณ 75 – 76 ปี
Charles Darwin (1809-1882)
Early Exploration
 ชาร์ล
ดาร์วน
ิ ผูก
้ อ
่ ตงทฤษฎี
ั้
ววิ ัฒนาการ
่ งระหว่าง
(Origin of Species) ในชว
ค.ศ. 1831-1836 ขณะปฏิบ ัติงานบนเรือ
บีเกิล (H.M.S.Beagle) ได้รวบรวม ค ัด
แยก สงิ่ มีชวี ต
ิ ทงบนบกและในทะเล
ั้
ซงึ่
รวมถึงข้อมูลปะการ ังหลายร้อยชนิดใน
ิ ิ ค และเผยแพร่ผลงาน
มหาสมุทร แปซฟ
ทฤษฎีววิ ัฒนาการของปะการ ังและแนว
ปะการ ัง (Atoll) ซงึ่ เป็นทฤษฎีทย
ี่ ัง
ยอมร ับจนถึงทุกว ันนี้
Darwin
“Beagle” (1831-1836)
Early Exploration
่ งปี
 ในชว
ค.ศ.1872 - 1876 ราชนาวี
่ เรือคุม
แห่งสหราชอาณาจ ักรได้สง
้ ก ัน
(คอร์เวท) แชลเลนเจอร์ พร้อมด้วย
น ักวิทยาศาสตร์จานวนหนึง่ ไป
ดาเนินการสารวจทะเลใหญ่ทงั้ 7 แห่ง
ของโลก คิดเป็นระยะทางถึง 68,890
ไมล์ และกินเวลานานถึง 3 ปี ครึง่
Challenger (1872-1876)
Challenger Expedition
1872-1876
ั
ภายใต้ความควบคุมของศาสตราจารย์ทอมสน
(Professor C. Wyville Thomson) โดยเก็บ
้ ท้องทะเล
ต ัวอย่างนา้ ทะเล ต ัวอย่างพืน
ต ัวอย่างสงิ่ มีชวี ต
ิ และว ัดอุณหภูมน
ิ า้ ทะเล ผล
้ อ
ื่ ว่า
การสารวจได้พม
ิ พ์เป็นรูปรายงานโดยใชช
้ า
Challenger Reports การสารวจในครงนี
ั้ ท
ให้ทราบข้อมูลความลึกของทุกมหาสมุทรใน
โลก ยกเว้นมหาสมุทรอาร์คติก
Benjamin Franklin (1706-1790)
Benjamin Franklin (1706-1790)
 ได้รวบรวมและพิมพ์แผนทีข
่ องกระแสนา้ อุน
่
กล ัฟสตรีม (Gulf Stream) ซงึ่ ถือว่าเป็นการ
เผยแพร่งานสมุทรศาสตร์ครงแรก
ั้
Nathaniel Bowditch (1773-1838)
Nathaniel Bowditch (1773-1838)
 early
American mathematician
remembered for his work on ocean
navigation.
 He is often credited as the founder
of modern maritime navigation; his
book The New American Practical
Navigator, first published in 1802, is
still carried onboard every
commissioned U.S. Naval vessel
Thomas Jefferson (1743-1826)
Thomas Jefferson (1743-1826)
 the
founder of National Oceanic and
Atmospheric Administration (NOAA). In
1807, Jefferson created our nation’s first
scientific agency–the Survey of the
Coast, an early forerunner of NOAA.
Matthew F. Maury 1806-1873
Matthew F. Maury 1806-1873
 นายทหารเรืออเมริก ันร ับผิดชอบในการ
ดูแลคล ังแผนทีแ
่ ละเครือ
่ งมือเดินเรือของ
สหร ัฐ
 มอรีไ
่ ด้วเิ คราะห์สมุดปูมเรือจานวนมากทีม
่ ี
ในคล ังเพือ
่ รวบรวมข้อมูลทางด้านกระแสนา้
และสภาพอากาศในมหาสมุทรต่าง ๆ อย่าง
้ ก
เป็นระบบ ซงึ่ ข้อมูลด ังกล่าวนีถ
ู นามาใช ้
ประโยชน์อย่างแพร่หลายต่อการเดินเรือ
Matthew F. Maury 1806-1873
่ งศตวรรษที่
 ในชว
19 เขาเป็นผูร้ เิ ริม
่ ให้ม ี
การจ ัดการประชุมทางด้านอุตน
ุ ย
ิ มวิทยาใน
ทะเลเพือ
่ กาหนดมาตรฐานในการเก็บข้อมูล
สมุทรศาสตร์และอุตน
ุ ย
ิ มวิทยาทางทะเล
ของเรือในทะเล
 มอรีเ่ ป็นผูท
้ ไี่ ด้ร ับการขนานนามว่า
“บิดาของวิชาสมุทรศาสตร์”
The Last 100 Years
Echo-sounding (Meteor - 1925)
WHOI (1927); SIO; . . .
SCUBA (Jacques Cousteau)
Satellites (Sputnik - 1957)
Deep-sea research vessels
(Trieste)
Deep-sea research vessels
(ALVIN)
Glomar Challenger; Glomar Explorer
US. Navy Oceanographic Office
(NAVOCEANO)
https://www.navo.navy.mil/
US. Navy Oceanographic Office
(NAVOCEANO)
้ มาเพือ
 จ ัดตงขึ
ั้ น
่ ว ัตถุประสงค์ในการปร ับปรุงและ
พ ัฒนาความพร้อมในการรบของกองเรือ และ
ดาเนินงานวิจ ัยทางทะเลเพือ
่ ให้บรรลุ
ว ัตถุประสงค์น ี้ ซงึ่ ผลงานวิจ ัยของ
NAVOCEANO ตลอดจนสาน ักงานวิจ ัยของสหร ัฐ
นาวี (Office of Naval Research)) และ
หน่วยงานยามฝั่งของสหร ัฐอเมริกา (US. Coast
Guard) ล้วนแต่มค
ี ณ
ุ ค่าต่อน ักสมุทรศาสตร์ใน
รุน
่ ต่อ ๆ มาเป็นอย่างมาก
http://ioc.unesco.org/
http://www.unescobkk.org/index.php?id=6639
US. Coast and Geodetic Survey
US. Coast and Geodetic Survey

ค.ศ.1807 หน่วยงานสารวจฝั่งและสารวจยีออเดติกของ
สหร ัฐอเมริกา (US. Coast and Geodetic Survey) ได้
้ โดยสภาคองเกรสหล ังจากทีป
ถูกก่อตงขึ
ั้ น
่ ระธานาธิบดี
ั องขอให้มก
เจฟเฟอร์สนร้
ี ารสารวจชายฝั่งของ
ื่
้ อ
สหร ัฐอเมริกา ซงึ่ หน่วยงานด ังกล่าวนีต
่ มาได้เปลีย
่ นชอ
เป็นหน่วยงานสารวจมหาสมุทรแห่งชาติ (National
Ocean Survey) ซงึ่ มีหน้าทีร่ ับผิดชอบหล ักในการ
สารวจหาความลึกของมหาสมุทร (Bathymetric
Survey) ในน่านนา้ ของประเทศติดต่อก ับทวีปอเมริกา
้ ังได้ดาเนินการ
เหนือ ซงึ่ เรือสารวจของหน่วยงานนีย
สารวจเก็บข้อมูลและทาการวิจ ัยสมุทรศาสตร์ดา้ นอืน
่ ๆ
อีกมากมาย
National Oceanic and Atmospheric
Administration : NOAA
National Oceanic and Atmospheric
Administration : NOAA
้ หาสมุทรและนภากาศ
 หน่วยงานบริหารการใชม
แห่งชาติ (National Oceanic and
Atmospheric Administration : NOAA) ซงึ่
ั ัดกรมการพาณิชย์สหร ัฐ (Commerce
สงก
Department) เป็นหน่วยงานทีด
่ าเนินงานเพือ
่
้ ร ัพยากรทางทะเลของชาติ
ควบคุมให้การใชท
ั
เป็นไปอย่างชาญฉลาดโดยอาศยความร่
วมมือ
ของหน่วยงานสารวจสมุทรศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานบริการทางด้านประมงทางทะเล
แห่งชาติ (National Marine Fisheries
Service) และ สาน ักงานกองทุนทางทะเล
(Office of Sea Grant)
Marine Laboratories
 นอกจากนนย
ั้ ังมีหอ
้ งทดลอง
และวิจ ัยทางทะเล
(Marine Laboratories) ทีส
่ าค ัญ 3 แห่ง ซงึ่
อยูภ
่ ายใต้การควบคุมของร ัฐบาลสหร ัฐฯ ซงึ่ มี
่ นสร้างความสาเร็จในการวิจ ัยทางทะเลที่
สว
่ สถาบ ันสคริปส ์
สาค ัญ ๆ ของสหร ัฐอเมริกา เชน
(Scripps Institution) ซงึ่ เป็นสถาบ ันทาง
สมุทรศาสตร์ทเี่ ก่าแก่ทส
ี่ ด
ุ ทีก
่ อ
่ ตงมาต
ั้
งแต่
ั้
ค.ศ.1903 ตงอยู
ั้
ท
่ ม
ี่ หาวิทยาล ัยแคลิฟอร์เนีย
เมือง ซานดิเอโก และมีหน้าทีต
่ รวจสอบปัญหา
้ อย่างกว้างขวาง
ทางทะเลทีเ่ กิดขึน
http://sio.ucsd.edu/
Marine Laboratories
 สถาบ ันสมุทรศาสตร์วด
ู ้ โฮล
(WOODS HOLE
Oceanographic Institution) ซงึ่ ตงอยู
ั้
ใ่ นมล
ร ัฐแมสซาชูเซตส ์ ทีไ่ ด้กอ
่ ตงมาต
ั้
งแต่
ั้
ปี
ค.ศ.1930 เป็นองค์กรเอกชนทีไ่ ม่หว ังผลกาไร
ึ ษางานทางด้าน
โดยมีว ัตถุประสงค์เพือ
่ ศก
้ ี
วิทยาศาสตร์ของมหาสมุทรทวโลก
่ั
สถาบ ันนีม
ื่ แอตแลนติส 2 เป็นพาหนะในการสารวจ
เรือชอ
ทางสมุทรศาสตร์เป็นของตนเอง
http://www.whoi.edu/
Lamont - Doherty Geological Observatory
Marine Laboratories
ึ ษาทางทะเลอีกแห่งหนึง่ ทีม
ื่ เสย
ี ง
 สถาบ ันศก
่ ช
ี อ
ั
ได้แก่ ศูนย์สงเกตการณ์
ทางธรณีวท
ิ ยา
ลาม้อนท์ - โดเฮอตี (Lamont - Doherty
Geological Observatory) แห่งมหาวิทยาล ัย
โคล ัมเบีย ซงึ่ ตงอยู
ั้
ท
่ น
ี่ วิ ยอร์ก ตงแต่
ั้
ปี
ค.ศ.1949 ภายใต้การบริหารของ ดร. มอริส อีวงิ
ซงึ่ เป็นหนึง่ ในบรรดาผูร้ เิ ริม
่ วิธก
ี ารสารวจทาง
ิ สใ์ นการศก
ึ ษาธรณีวท
้ ท้อง
ธรณีฟิสก
ิ ยาของพืน
ทะเล
http://www.ldeo.columbia.edu/