ชายฝั่ งทะเล Shoreline กาเนิดและส่ วนประกอบของนา้ ทะเล Origin and composition of seawater  นา้ ทะเลเป็ นสารละลายที่ซับซ้ อนของเกลือ โดยมีเกลือ ละลายอยู่ 3.5% โดยนา้ หนัก ถึงแม้ ว่าเปอร์ เซ็นต์ ของเกลือใน นา้

Download Report

Transcript ชายฝั่ งทะเล Shoreline กาเนิดและส่ วนประกอบของนา้ ทะเล Origin and composition of seawater  นา้ ทะเลเป็ นสารละลายที่ซับซ้ อนของเกลือ โดยมีเกลือ ละลายอยู่ 3.5% โดยนา้ หนัก ถึงแม้ ว่าเปอร์ เซ็นต์ ของเกลือใน นา้

Slide 1

ชายฝั่ งทะเล
Shoreline


Slide 2

กาเนิดและส่ วนประกอบของนา้ ทะเล
Origin and composition of seawater
 นา้ ทะเลเป็ นสารละลายที่ซับซ้ อนของเกลือ

โดยมีเกลือ
ละลายอยู่ 3.5% โดยนา้ หนัก ถึงแม้ ว่าเปอร์ เซ็นต์ ของเกลือใน
นา้ ทะเลจะน้ อย แต่ เมื่อพิจารณาจากปริมาณจะพบว่ าเป็ น
มหาศาลมาก ถ้ าหากนา้ ในมหาสมุทรระเหยไปหมด จะได้ ชัน้
เกลือหนาถึง
6
0
เมตร


Slide 3

 ค่ าความเค็ม

(salinity) เป็ นสัดส่ วนของเกลือที่ละลายกับนา้
บริสุทธิ์ ส่ วนประกอบหลักที่พบมากในนา้ ทะเล ได้ แก่
sodium chloride (NaCl) ประมาณ 23.48 กรัม
magnesium chloride (MgCl2) ประมาณ 4.98 กรัม
sodium sulfate (NaSO 4 ) ประมาณ 3.92 กรัม
calcium chloride (CaCl 2 ) ประมาณ 1.10 กรัม
potassium chloride (KCl) ประมาณ 0.66 กรัม
sodium bicarbonate (NaHCO3) ประมาณ 0.192 กรัม


Slide 4

 จะพบว่ าเกลือส่ วนใหญ่ เป็ น

sodium chloride สารประกอบ 5
ตัวแรกรวมกันจะมีปริมาณประมาณ 99% ของเกลือที่อยู่ใน
นา้ ทะเล และสารประกอบทัง้ 5 ตัว จะประกอบด้ วยธาตุเพียง
7 ชนิดเท่ านัน้ ธาตุเหล่ านีม้ ีความสาคัญมากต่ อการรักษา
สภาพแวดล้ อมทางเคมีสาหรับสิ่งมีชีวิตในทะเล


Slide 5

 แหล่ งของเกลือในทะเลมาจากการผุพงั ทางเคมีของหินจาก

บนแผ่ นดิน สารละลายจากแผ่ นดินเดินทางมาถึงทะเลโดย
ทางนา้ ประมาณ 2 . 5 พันล้ านตันต่ อปี แหล่ งของเกลืออีก
แหล่ งหนึ่งมาจากภายในโลก โดยการระเบิดของภูเขาไฟ ให้
นา้ และก๊ าซปริมาณมหาศาล


Slide 6

 ถึงแม้ ว่าทางนา้ จากแผ่ นดินและการระเบิดของภูเขาไฟ

จะ
ช่ วยเพิ่มปริมาณเกลือให้ กับนา้ ทะเล แต่ ค่าความเค็มของนา้
ทะเลไม่ เพิ่มขึน้ ซึ่งเนื่องจากเกลือบางส่ วนจะถูกพืชและสัตว์
นาไปใช้ ในการเจริญเติบโตและการสร้ างเปลือกแข็งของพืช
และสัตว์
และยังมีการตกตะกอนทางเคมีของนา้ ทะเล
กลายเป็ นตะกอนเคมี


Slide 7

Currents
 นา้ ทะเลมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา กระแสนา้ ที่ไหลอยู่ใน

มหาสมุทร เกิดจากปั จจัย 2 ประการคือ
1. Tidal current
2. Density current


Slide 8

Tidal currents
 แรงดึงดูดระหว่ าง

ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ทาให้ เกิด
กระแสนา้ ขึน้ นา้ ลง ความเร็วคลื่น อาจมีค่าหลายกิโลเมตรต่ อ
ชั่วโมง
ถ้ าสภาพเหมาะสม


Slide 9


Slide 10

 กระแสนา้ ขึน
้ นา้ ลงที่ใกล้ ชายฝั่ ง

มักสัมพันธ์ กับลักษณะภูมิ
ประเทศของชายฝั่ ง หรือบริเวณใกล้ เคียง มีความรุ นแรง
มากกว่ าคลื่นที่อยู่กลางทะเลลึก


Slide 11

Density currents
 ความหนาแน่ นของนา้ ทะเลแต่ ละบริเวณมีความแตกต่ างกัน

ขึน้ กับค่ าความเค็ม อุณหภูมิ และปริมาณสารแขวนลอย
ความแตกต่ างของความหนาแน่ นทาให้ เกิดการเคลื่อนที่ของ
กระแสนา้ นา้ ที่มีค่าความเค็มสูงจะหนักกว่ านา้ ที่มีค่าความ
เค็มต่า และจะจมตัวลงอยู่ด้านใต้ นา้ ที่มีอุณหภูมิต่าจะจมตัว
อยู่ใต้ นา้ ที่มีอุณหภูมิสูง และนา้ ที่มีปริมาณสารแขวนลอยใน
นา้ มากจะหนักและจมตัวอยู่ใต้ นา้ ที่มีสารแขวนลอยน้ อย


Slide 12


Slide 13

 ความแตกต่ างของอุณหภูมิ

เป็ นปั จจัยสาคัญอันหนึ่งในการ
หมุนเวียนของนา้
ในทะเลลึก
 turbidity current มีสาเหตุมาจากความแตกต่ างของปริ มาณ
สารแขวนลอยที่อยู่ในนา้


Slide 14

 การวิเคราะห์ ตัวอย่ างจากพืน
้ มหาสมุทร

พบว่ ามีการเรี ยงตัว
ของเม็ดตะกอน
จากเม็ดตะกอนขนาดใหญ่ ท่ วี างตัวอยู่
ด้ านล่ างค่ อยๆเปลี่ยนไปเป็ นเม็ดตะกอนขนาดเล็กวางตัวอยู่
ด้ านบน ซึ่งเรียกว่ า graded bedding อาจได้ มาจาก turbidity
current พัดพาเอาตะกอนขนาดต่ างๆ มาสะสมตัว โดยที่
ตะกอนขนาดใหญ่ จะตกจมบนพืน้ มหาสมุทรก่ อน เรียกการ
สะสมตัวในลักษณะนีว้ ่ า t u r b i d i t e s


Slide 15

 turbidity

currrent อาจเกิดจาก slump หรือ slide ของวัตถุ บน
ที่ลาดของมหาสมุทร ภายใต้ อิทธิพลของแรงโน้ มถ่ วง หรื อ
จากการเกิดแผ่ นดินไหว


Slide 16

Shoreline
 นา้ ที่อยู่ในมหาสมุทร

ทะเลสาบมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
การเคลื่อนที่อาจเนื่องจาก ลม แรงดึงดูดระหว่ างดวงดาว
ปรากฏการณ์ แผ่ นดินไหว หรือ ความแตกต่ างของความ
หนาแน่ นของนา้
เมื่อนา้ มีการเคลื่อนที่จะทาให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงลักษณะชายฝั่ งของแผ่ นดิน การเปลี่ยนแปลง
เกิดขึน้ ทุกวันทุกฤดูกาลไม่ มีวันหยุด


Slide 17

Waves
 เมื่อลมเคลื่อนที่ผ่านผิวหน้ าของนา้ ในทะเล

มหาสมุทร
กระแสลม (turbulent flow) จะไปรบกวนผิวหน้ าของนา้ ดันให้
ผิวหน้ าของนา้ จมตัวลงและยกตัวขึน้
ทาให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงความดันในแต่ ระดับของนา้ ทาให้ ผิวหน้ าของ
นา้ เกิดเป็ นลูกคลื่น พลังงานส่ วนหนึ่งของลมจะถูกถ่ ายทอด
ให้ กับนา้
และเริ่มเคลื่อนที่จากจุดกาเนิดเข้ าสู่ชายฝั่ ง


Slide 18


Slide 19


Slide 20

Shoreline features
 การกร่ อนและการสะสมตัว

เป็ นตัวการที่ทาให้ เกิดลักษณะ
ภูมิประเทศต่ างๆตามชายฝั่ ง ภาพตัดขวางของชายฝั่ งจากจุด
เหนือระดับนา้ สูงสุดและจุดใต้ ระดับนา้ ต่าสุด แสดงให้ เห็น
ลักษณะที่สาคัญที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่ างต่ อเนื่องอัน
เนื่องจากอิทธิพลของคลื่นและกระแสนา้ ตามชายฝั่ ง


Slide 21

Feature caused by erosion
 Wave-cut

cliff เป็ นลักษณะที่เกิดเนื่องจากการกร่ อนของคลื่น
ตามชายฝั่ ง โดยเฉพาะในบริเวณที่มีหน้ าผาชันหันออกสูง
ทะเล
เมื่อคลื่นวิ่งเข้ ากระแทกกับส่ วนฐานของหน้ าผาชัน
พลังงานส่ วนใหญ่ ถูกใช้ ในการทาให้ เกิดการกร่ อนของฐาน
หน้ าผา อัตราการกร่ อนจะขึน้ อยู่กับความคงทนของชัน้ หิน
และพืน้ ที่ของชายฝั่ งที่คลื่นวิ่งเข้ าหา


Slide 22


Slide 23


Slide 24

 เมื่อเวลาผ่ านไป

หน้ าผาชันก็จะถล่ ม เกิดเป็ นหน้ าผาชันอัน
ใหม่ ถอยเข้ าหาแผ่ นดิน ส่ วนที่เหลืออยู่ด้านหน้ าเป็ นพืน้ ที่ราบ
ที่เรียกว่ า wave -cut terrace คลื่นซึ่งวิ่งเข้ าหาชายฝั่ ง
ตลอดเวลา จะทาให้ พนื ้ ที่มีความเรียบมากขึน้ และมีความ
กว้ างของ terrace จะมากขึน้ เศษหินที่ได้ จากการกัดกร่ อน
บางส่ วนจะตกสะสมตัวอยู่ในบริเวณชายฝั่ งและถูกพัดพาออก
สู่ทะเลภายหลัง


Slide 25

 คลื่นที่เข้ ากระแทก

wave-cut clift ทาให้ เกิดลักษณะภูมิ
ประเทศต่ างๆ เนื่องจากความแตกต่ างในการต้ านทานการ
กร่ อนของชัน้ หินแต่ ละชัน้ คลื่นอาจทาให้ เกิดช่ องภายในหินที่
เรียกว่ า sea caves หากว่ าคลื่นกัดกร่ อนจนเกิดเป็ นรู ทะลุ
กลายเป็ น sea arch และเมื่อเพดานของ sea arch หล่ มลงมา
จะกลายเป็ นมวลของหินที่ล้อมรอบด้ วนนา้
ที่อยู่ด้านหน้ า
ของ c l i f t เรียกว่ า s t a c k


Slide 26


Slide 27


Slide 28

Feature caused by deposition
 มีลักษณะทางภูมิประเทศหลายลักษณะ

ที่ได้ จากการสะสม
ตัวของตะกอนตามชายฝั่ ง
โดยที่ตะกอนกัดกร่ อนมาจาก
แผ่ นดิน ถูกพัดพามาสะสมตัวโดยคลื่น และ l o n g s h o r e
current มาสะสมตัวเมื่อคลื่นและกระแสนา้ มีพลังงานลดลง
หากตะกอนทรายมาสะสมตัวเป็ นสันทรายยาว ที่งอกออก
จากแผ่ นดิน
เรียกว่ า
s
p
i
t


Slide 29


Slide 30


Slide 31


Slide 32

 สันทรายที่งอกยาวออกไป

ในบริเวณที่เป็ นปากอ่ าวขวาง
ทางเข้ าออกของนา้ ทะเล หาดทรายนีเ้ รียกว่ า bay barriers
หรือ baymouth bar แอ่ งนา้ ด้ านหลังสันทรายนีจ้ ะเรียกว่ า
lagoon เมื่อช่ องทางเชื่อมต่ อระหว่ างทะเลสาบที่อยู่ด้านหลัง
หาดทรายกับทะเลเหลือเพียงช่ องทางเล็กๆ เรียกว่ า t i d a l
inlet ชายหาดที่ปิดกัน้ อยู่ด้านหน้ าของปากอ่ าว แต่ ไม่ มีส่วนที่
เชื่อมต่ อกับแผ่ นดิน เรียกว่ า b a r r i e r i s l a n d


Slide 33


Slide 34


Slide 35

 หากสันทรายที่งอกออกจาก

แผ่ นดินเป็ นตัวเชื่อมระหว่ าง
แผ่ นดินกับเกาะ หรือเชื่อม
ระหว่ างเกาะต่ างๆจะ
เรียกว่ า t o m b o l o


Slide 36

Reef
 reef

เป็ นลักษณะทางภูมศิ าสตร์ ท่ เี กิดขึน้ ในบริเวณชายฝั่ งที่มี
ลักษณะเฉพาะ เกิดจากสิ่งมีชีวิตในทะเล เช่ น ปะการัง
สาหร่ าย
ฟองนา้
และสัตว์ ทะเลไม่ มีกระดูกสันหลัง
เจริญเติบโตได้ ดใี นภูมิอากาศแบบอบอุ่น (semitropical และ
t r o p i c a l )
และระดับนา้ ไม่ ลึก


Slide 37

 ส่ วนบนของ

reef ที่เป็ นที่อาศัยของสิ่งมีชีวิตเหล่ านี ้ เนื่องจาก
สิ่งมีชีวิตเหล่ านีต้ ้ องการแสงแดดในการเจริญเติบโต สิ่งมีชีวิต
เหล่ านีส้ ร้ างโครงสร้ างใหม่ บนโครงสร้ างเก่ าที่ตายแล้ ว โดย
การใช้ calcium carbonate ที่ได้ จากสิ่งมีชีวิตเหล่ านี ้ เพิ่มเติม
เข้ าไปในโครงสร้ างเดิม reef สามารถเพิ่มความยาวขึน้ ได้ เมื่อ
ระดับนา้ สูงขึน้


Slide 38

r

e e f
แบ่ งออกได้ เป็ น 3
f r i n g i n g
b a r r i e r
a
t
o
l

ลักษณะ คือ
r e e f
r e e f
l
s


Slide 39

 fringing

reef เกิดติดกับ
แผ่ นดินในบริเวณที่มีแหล่ ง
อาหาร
มีความกว้ าว
ประมาณ 0 . 5 ถึง 1
กิโลเมตร
บริเวณที่เป็ น
delta และ ปากแม่ นา้ จะไม่
เจริญเติบโต เนื่องจากนา้ ที่
มีความขุ่นจากเศษดิน


Slide 40

 barrier

reef เกิดล้ อมรอบ
แผ่ นดิน โดยมีทะเลสาบ
เป็ นตัวกัน้ กลางระหว่ าง
แผ่ นดินและ reef มีความ
กว้ างประมาณ 20 กิโลเมตร


Slide 41

 atolls

เป็ น reef รูปร่ างเป็ น
วงกลม ที่เติบโตในบริเวณ
นา้ ลึก ล้ อมรอบทะเลสาบ
ตืน้ ๆไว้ โดยไม่ มีแผ่ นดินอยู่
ตรงกลาง จากการศึกษาใน
รายละเอียดพบว่ า a t o l l s
เกิดบนเกาะภูเขาไฟที่
ค่ อยๆจมตัวลงใต้ นา้