เพาเวอร์พ้อยต์ บทที่ 7

Download Report

Transcript เพาเวอร์พ้อยต์ บทที่ 7

บทที่ 7 ระบบโครงร่ าง
Skeleton system
Skeleton system
นักศึกษาจะได้ เรียนรู้ เกีย่ วกับส่ วนประกอบของระบบโครงร่ าง
ในร่ างกาย ความสาคัญของกระดูกทีเ่ ป็ นระบบโครงร่ างทีส่ าคัญ
ส่ วนประกอบของกระดูก การแบ่ งประเภทกระดูกตามรู ปร่ าง การ
แบ่ งประเภทของกระดูกโครงร่ างในร่ างกาย หน้ าทีข่ องกระดูก
รวมทั้งส่ วนประกอบของกระดูกอ่ อน และข้ อต่ อต่ างๆ ในร่ างกาย
ระบบโครงร่ าง (Skeleton system)
เป็ นระบบทีท่ าให้ เกิดรู ปร่ างของร่ างกายสั ตว์ ประกอบด้ วย
 กระดูก (bone)
 กระดูกอ่ อน (cartilage)
 ข้ อต่ อต่ างๆ (joints)
วิชาทีศ่ ึกษาเกีย่ วกับกระดูก คือ osteology
วิชาทีศ่ ึกษาเกีย่ วกับกระดูกอ่ อน คือ chondrology
วิชาที่ศึกษาเกีย่ วกับข้ อต่ อต่ างๆในร่ างกาย คือ artropology
กระดูก
กระดูก เป็ นเนือ้ เยือ่ เกีย่ วพันชนิดพิเศษที่มีความแข็งแรง
เนื่องจาก intercellular substance เป็ นส่ วนของของแข็งทีเ่ กิด
จากการเกาะตัวกันของธาตุแคลเซียม
เนือ้ กระดูกส่ วนใหญ่ ประกอบด้ วย :
- ธาตุแคลเซี่ยมในรู ปแคลเซี่ยมฟอสเฟท ร้ อยละ 85
และแคลเซียมคาร์ บอเนทร้ อยละ 10 ที่เหลือคือสารอินทรีย์
หน้ าทีข่ องกระดูก
ห่ อหุ้มและป้องกันอันตรายให้ แก่ อวัยวะภายใน
 ทาให้ เกิดโครงร่ าง
 เป็ นที่ยดึ เกาะของกล้ ามเนือ้ โครงร่ าง
 เป็ นแหล่ งสะสมแร่ ธาตุชนิดต่ างๆ เช่ น แคลเซี่ยม
 เป็ นแหล่ งสร้ างเม็ดเลือด
โครงกระดูกในสุ กร
lumbar
sacrum
coccygeal
vertebrate
scapular
skull
ribs
humorous
ulna
tibia
radius
capus tasal
femur
fibular
กระดูกโครงร่ างในโค
vertebrate
coccygeal
atlas
skull
femur
ribs
sternum
metatarsal
การแบ่ งประเภทของกระดูก
การแบ่ งประเภทตามลักษณะการเจริญเติบโต
1. กระดูกทีเ่ จริญเติบโตมาจากเนือ้ เยือ่ แผ่ นบางๆ
(Membranous bone) เช่ น กระดูกซี่โครง กะโหลกศีรษะ
2. กระดูกทีเ่ จริญเติบโตมาจากกระดูกอ่ อน (Cartilaginous
bone) เช่ นกระดูกขาหน้ าและขาหลัง
การแบ่ งประเภทของกระดูก
การแบ่ งประเภทตามลักษณะความแน่ นของเนือ้ กระดูก
1. กระดูกชนิดเนือ้ แน่ น (Compact bone) เป็ นกระดูกทีพ่ บ
ทีต่ วั กระดูก(shaft) ของกระดูกยาวและขอบของกระดูกแบนและ
กระดูกสั้ น
2. กระดูกชนิดเนือ้ พรุ นคล้ ายฟองนา้ (Spongy bone) เป็ น
กระดูกทีม่ ีรูพรุ นและโปร่ ง พบตามปลายบนและปลายล่ างของ
กระดูกยาวและกระดูกแบน
กระดูกชนิดเนือ้ พรุน
Periosteum
Compact Bone
Osteoblast
Red Bone Marrow
Outer Table
Diploe
Osteoclast
Osteocyte
Osteogenic layer Fibrous layer
Periosteum
Inner table
กระดูกชนิดเนือ้ แน่ น
การแบ่ งกระดูกตามลักษณะรูปร่ างภายนอก
1. กระดูกยาว (Long bone) เช่ น กระดูกขาหน้ า (radius) และขา
หลัง(femur) ประกอบด้ วยตัวกระดูก(shaft) และมีปลายกระดูก
ทั้งสองข้ าง(epiphysis)
2. กระดูกสั้ น (Short bone) มีรูปร่ างคล้ ายสี่ เหลีย่ มลูกเต๋ า เช่ น
กระดูกข้ อเท้ าขาหน้ า (carpus) และขาหลัง (tarsusหรือ hock)
การแบ่ งกระดูกตามลักษณะรูปร่ างภายนอก
3. กระดูกแบน (Flat bone) เป็ นกระดูกทีม่ ีลกั ษณะแบน
ประกอบด้ วยแผ่ นกระดูกเนือ้ แน่ น 2 แผ่ น มีกระดูกคล้ ายฟองนา้
แทรกอยูตรงกลาง เช่ น กระดูกซี่โครง (rib) และกระดูกกะโหลก
ศีรษะ (skull)
4. กระดูกทีม่ ีลกั ษณะคล้ ายเมล็ดงา (Sesamoid bone) เป็ น
กระดูกทีพ่ บตามข้ อต่ อต่ างๆ เช่ น กระดูกสะบ้ าหัวเข่ า (patella
หรือ knee bone)
การแบ่ งกระดูกตามลักษณะรูปร่ างภายนอก
5. กระดูกทีม่ ีโพรงอากาศ (Sinus) อยู่ภายใน เรียกว่ า
Pneumatics bone เช่ น frontal bone ที่กะโหลกศีรษะ
6. กระดูกทีม่ ีรูปร่ างไม่ แน่ นอน (Irregular bone) เป็ นกระดูกที่
ไม่ สามารถจัดเข้ ากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้ มักอยู่ตามแนวแกนกลาง
ของลาตัว อาจมีเป็ นคู่กไ็ ด้ เช่ นกระดูกสั นหลัง
การแบ่ งประเภทของกระดูกโครงร่ าง
กระดูกโครงร่ างของสั ตว์ เลีย้ ง แบ่ งเป็ น 3 ประเภท คือ
- กระดูกโครงร่ างส่ วนแกน (axial skeleton)
- กระดูกโครงร่ างส่ วนรยางค์ (appendicular skeleton)
- กระดูกโครงร่ างทีเ่ จริญอยู่ในเนือ้ เยือ่ ของอวัยวะบางแห่ ง
(visceral skeleton หรือ splanchnic skeleton)
กระดูกโครงร่ างส่ วนแกน
กระดูกโครงร่ างส่ วนแกน คือกระดูกทีอ่ ยู่ตามแนวแกนกลางของ
ลาตัว ประกอบด้ วย
1. กระดูกกะโหลกศีรษะ (skull)
2. กระดูกสั นหลัง (vertebrate) และกระดูกซี่โครง (rib)
มีหน้ าทีค่ า้ จุนให้ เกิดเป็ นโครงร่ าง และป้องกันอวัยวะภายใน
กระดูกกะโหลกศีรษะ
กระดูกกะโหลกศีรษะ ประกอบด้ วย
1. กระดูกทีห่ ้ ุมสมอง (cranial bone) มีกระดูกแบนขนาดใหญ่
7-8 ชิ้น หน้ าที่ป้องกันอันตรายให้ สมอง
2. กระดูกทีเ่ ป็ นส่ วนประกอบของหน้ า (facial bone) เป็ นกระดูก
ทีเ่ กิดจากกระดูกหลายชิ้นมาเรียงซ้ อนตัวกัน
กระดูกสั นหลัง (vertebrate)
แบ่ งออกได้ เป็ น 5 ส่ วนคือ
1. กระดูกสั นหลังส่ วนคอ (cervical vertebrate)
2. กระดูกสั นหลังส่ วนอก (thoracic vertebrate)
3. กระดูกสั นหลังส่ วนเอว (lumbar vertebrate)
4. กระดูกสั นหลังส่ วนสะโพก หรือเชิงกราน (sacral vertebrate)
5. กระดูกสั นหลังส่ วนหาง (coccygeal vertebrate)
กระดูกสั นหลัง
ชนิดของสั ตว์
โค
ม้ า
แกะ
แพะ
สุ กร
ไก่
กระดูกสั นหลัง
C7, T13, L6, S5, Cy 18-20
C7, T18, L6, S5, Cy 15-20
C7, T13, L6-10, S4, Cy 16-18
C7, T13, L7, S7, Cy 12
C7, T14-15, L6, S4, Cy 20-23
C14, T7, LS14, Cy 6
กระดูกสั นหลัง (2)
กระดูกสั นหลังส่ วนคอ (Cervical vertebrate หรือกระดูกคอ
(Neck bone) มีลกั ษณะต่ างจากกระดูกสั นหลังส่ วนอืน่ คือ
ส่ วน articular process เจริญดีมาก แต่ ส่วนของ transverse
process และ spinous process เจริญเติบโตน้ อยมาก ทาให้
กระดูกคอเคลือ่ นไหวได้ ดี
กระดูกสั นหลังส่ วนอก
กระดูกสั นหลังส่ วนอก(thoracic vertebrate) มีตวั กระดูกสั้ น มี
ส่ วนปลายของกระดูกซี่โครงมาเกาะอยู่ ส่ วน spinous process
เจริญดี โดยเฉพาะทีก่ ระดูกสั นหลังบริเวณไหล่ ในโคทาให้ เกิด
ส่ วนโหนก (wither) ส่ วน spinous process จะมีความยาวลดลง
เรื่อยๆ นับจากส่ วนอกไปทางท้ าย
กระดูกสั นหลัง (3)
กระดูกสั นหลังส่ วนเอว(Lumbra vertebrate) มีส่วน spinous
process สั้ น มีการเอียงไปทางด้ านหน้ าเล็กน้ อย มีขนาดใหญ่
และแบน
กระดูกสั นหลังส่ วนสะโพก(Sacral vertebrate) มีจานวนกระดูก
และรู ปร่ างทีแ่ ตกต่ างกันไปตามชนิดของสั ตว์ กระดูกจะมีการ
เชื่อมต่ อกันเป็ นชิ้นใหญ่ เรียกว่ า กระดูกสะโพก(sacrum)
ด้ านหน้ าต่ อกับ lumbar ด้ านท้ ายต่ อกับกระดูกหางชิ้นที่ 1
กระดูกสั นหลัง (4)
กระดูกสั นหลังส่ วนหาง หรือกระดูกหาง(coccygeal vertebrate)
รู ปร่ างแตกต่ างกันไป แต่ จะมีขนาดเล็กลงไปเรื่อยๆตามรูปร่ าง
ของหาง
กระดูกซี่โครง และกระดูกอก (Rib and Sternum)
กระดูกซี่โครงเป็ นกระดูกแบนมีอยู่เป็ นคู่ อยู่ระหว่ างกระดูกสั น
หลังและกระดูกอกตรงกระดูกอ่ อน (costal cartilage) การ
เชื่อมต่ อระหว่ างกระดูกอก และกระดูกซี่โครงผ่ านกระดูกอ่ อน
costal cartilage ทาให้ เกิดเป็ นส่ วนช่ องอก thoracic cavity
Thoracic cartilage
Costal cartilage
กระดูกรยางค์ ส่วนหน้ า (Fore limb)
 กระดูกสะบัก (scapular) มีรูปร่ างคล้ ายใบพาย
 กระดูกต้ นขาหน้ า (arm bone หรือ humerous)
 กระดูกปลายขาหน้ า (fore arm หรือ radius และ ulna)
 กระดูกข้ อขาหน้ า (carpus)
 กระดูกฝ่ าเท้ าหน้ า (metacarpal bone หรือ cannon bone)
 กระดูกนิว้ เท้ า (digits หรือ toe finger)
กระดูกรยางค์ หลัง (Hind limb)
1. Hip bone มีกระดูก 3 ชิ้นมาต่ อกันคือ ischium, ilium และ pubis
2. กระดูกต้ นขาหลัง (femur)
3.กระดูกแข้ ง (tibia) และกระดูกน่ อง (fibular)
4.กระดูกข้ อเท้ าหลัง (tarsus หรือ hock)
5. กระดูกฝ่ าเท้ าหลัง (metatarsus)
6. กระดูกนิว้ เท้ า (digits)
กายวิภาคของกระดูกยาว
- ประกอบด้ วย ตัวกระดูก (shaft หรือ diaphysis)
- ปลายกระดูกทั้งสองข้ างเรียกว่ า epiphysis มี แนวกระดูกอ่ อน
เรียกว่ า epiphyseal plate หรือ epiphyseal cartilage
- ปลายกระดูกทั้งสองข้ างห่ อหุ้มด้ วยกระดูกอ่ อน (articular
cartilage) เป็ นส่ วนปลายกระดูกทีจ่ ะเกิดเป็ นข้ อต่ อ
กายวิภาคของกระดูกยาว
ตัวกระดูกหุ้มด้ วยเยือ่ บางๆ เรียกว่ า periosteum เมื่อผ่ ากระดูก
ยาวตามทางยาวจะพบโพรงกระดูก (medullary cavity) ทีบ่ ุด้วย
เยือ่ บุเรียกว่ า endosteum ในโพรงกระดูกมี ไขกระดูก (bone
marrow) สร้ างเซลล์ เม็ดเลือดชนิดต่ างๆ
กายวิภาคของกระดูกยาว
จุลวิภาคของกระดูก
เมื่อนากระดูกยาวมาตัดออกเป็ นชิ้นเล็กๆบางๆ นาไปส่ องกล้ อง
จลทรรศน์ จะเห็นว่ าเนือ้ กระดูกจะมีรูเล็กๆ กระจายอยู่ทั่วไป
เรียกว่ า haversian canal รู นีเ้ ป็ นทางผ่ านของเส้ นเลือด เส้ น
นา้ เหลือง และเส้ นประสาทมาหล่ อเลีย้ งกระดูก
จุลวิภาคของกระดูก
- แต่ ละ haversian canal จะมีวง (lamella) ล้ อมรอบอยู่ บนวงมี
แอ่ ง(lacuna) แทรกอยู่ ในแอ่ งมีเซลล์ กระดูก (osteocyte) ฝังอยู่
ข้ างใน
- วงทีล่ ้ อมรอบรู (ท่ อ) haversian canal จะเรียงซ้ อนกันหลายชั้น
เป็ นวงเรียงซ้ อนกัน เรียกว่ าhaversian system หรือ osteon
- ท่ อเล็กๆ ทีเ่ ชื่อมต่ อระหว่ างแอ่ ง หรือ(lacuna) เรียกว่ า
canaliculi
Canaliculi
Canaliculi
กระดูก
- เส้ นเลือดฝอยทีม่ าหล่ อเลีย้ งกระดูกทาหน้ าทีเ่ ป็ นแหล่ งอาหาร
ออกซิเจนและรับของเสี ยจากเซลล์ กระดูกทีอ่ ยู่ภายในแอ่ง
- ช่ องทางที่ haversian canal ติดต่ อกับโพรงกระดูก และ
ภายนอกกระดูก เรียกว่ า Volkmann's canal
กระดูก
กระดูกเป็ นเนือ้ เยือ่ เกีย่ วพันชนิดพิเศษ ประกอบด้ วยเซลล์
กระดูก (bonecell) และสารประกอบทีอ่ ยู่ระหว่ างเซลล์ กระดูก
(bone matrix)
เซลล์ กระดูกมี 3 ชนิด คือ osteoblast ,osteoclast และ osteocyte
สารประกอบทีอ่ ยู่ระหว่ างกระดูก คือ สารอินทรีย์ และอนินทรีย์
รวมทั้งเลือด และนา้ เหลือง
กระดูกอ่ อน
 เป็ นเนือ้ เยือ่ เกีย่ วพันชนิดพิเศษ ที่มีความแข็งแรง แต่ บิดงอได้
 ประกอบด้ วย เซลล์ กระดูกอ่ อน (chondrocyte) และ
extracellular matrix ที่ปะกอบด้ วย collagen และ elastin
แบ่ งประเภทของกระดูกอ่ อนตามเส้ นใยทีป่ ระกอบคือ
1. Hyaline cartilage
2. Elastic cartilage
3. Fibrous cartilage
ข้ อต่ อ (joints)
ข้ อต่ อ (Joints) เป็ นส่ วนของร่ างกายทีเ่ กิดขึน้ ตรงบริ เวณที่
กระดูกมาต่ อกัน หรือกระดูกมาต่ อกับกระดูกอ่ อน
หน้ าที่ ประสานให้ เอ็นยึดติดกับกระดูก มีส่วนในการทาให้ เกิด
เป็ นรู ปร่ าง
ประเภทของข้ อต่ อ
แบ่ งข้ อต่ อตามการเคลือ่ นไหวเป็ น 3 กลุ่ม คือ
1. Synarthrose joint ข้ อต่ อทีเ่ คลือ่ นไหวไม่ ได้
2. Amphearthrose joint ข้ อต่ อทีเ่ คลือ่ นไหวได้ เล็กน้ อย
3. Diarthrose joint ข้ อต่ อทีเ่ คลือ่ นไหวได้ ดี
ข้ อต่ อ (joints)
การเคลือ่ นไหวของข้ อต่ อทีม่ ีการเคลือ่ นไหวอย่ างอิสระ มีหลาย
แบบเช่ น การเคลือ่ นไหวไปข้ างหน้ า ไปข้ างหลัง (gliding) การ
งอข้ อต่ อ (flexion)และการยืดข้ อต่ อ (extension)
การแบ่ งประเภทของข้ อต่ อตามลักษณะการยึดต่ อกันของหน้า
กระดูกแบ่ งเป็ น 3 ชนิดคือ
1. Fibrous joint
2. Cartilaginous joint
3. Synovial joint