เพาเวอร์พ้อยต์ บทที่ 3

Download Report

Transcript เพาเวอร์พ้อยต์ บทที่ 3

บทที่ 3 ระบบต่ อมไร้ ท่อ
Endocrine system
Endocrine system
นักศึกษาจะได้เรี ยนรู ้ความสาคัญของระบบต่อมไร้ทอ่ ซึ่งทางาน
ร่ วมกับระบบประสาทในการควบคุมการทางานของอวัยวะใน
ร่ างกาย และเข้าใจในการทางานของฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมไร้ท่อ
แต่ละชนิดในร่ างกาย
ระบบต่ อมไร้ ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อทางานร่ วมกับระบบประสาท ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน
(hormone) หลัง่ เข้าสู่ระบบไหลเวียนของเลือด เพื่อทาหน้าที่ควบคุมการ
ทางานของร่ างกาย
ต่อมไร้ท่อ แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
1. ต่อมไร้ท่อที่ทาหน้าที่เพียงอย่างเดียว
2. ต่อมไร้ท่อที่ทาหน้าที่มากกว่า 1 อย่าง
ฮอร์ โมนแบ่ งตามโครงสร้ างทางเคมี
ได้ 3 ชนิด
 Peptides หรื อ Protein hormone การทางานใช้ cAMP (cyclic
adenosine monophosphate) เข้าไปทางานแทน
 Protein derivative หรือ Amino acid derivative
 Steroid hormone เข้าไปทางานด้วยตัวของมันเองที่นิวเคลียสโดยตรง
ต่ อมไร้ ท่อ
ที่สาคัญ คือ
1. ต่ อมใต้ สมอง (Pituitary gland หรือ Hypophysis)
แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
- ต่อมใต้สมองส่ วนหน้า (anterior pituitary gland)
- ต่อมใต้สมองส่ วนกลาง (intermediate lobe)
- ต่อมใต้สมองส่ วนท้าย (posterior pituitary gland)
ต่ อมใต้ สมอง
ต่อมใต้สมองส่ วนหน้าผลิตฮอร์โมน 6 ชนิด
1. Follicle stimulating hormone (FSH)
ในสัตว์เพศเมีย FSH ทาให้ถุงไข่บนรังไข่มีการพัฒนา และหลัง่ ฮอร์โมน
เอสโตรเจน (estrogen)
เอสโตรเจนทาให้แสดงออกของลักษณะเพศเมีย และแสดงอาการเป็ นสัด
(heat)
แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างไฮโปธาลามัส และ
ต่ อมใต้ สมอง
Neurosecretory cell
hypothalamus
ต่อมใต้สมองส่ วนหน้าหลัง่
ฮอร์โมน คือ


Third ventricle
Nerve tract



Anterior pituitary gland
Posterior pituitary gland

FSH
LH
Prolactin
GH
ACTH
TSH
Follicle stimulating hormone (FSH)


ในสัตว์เพศผู ้ FSH มีผลให้มีการสร้างเซลล์อสุ จิ
การควบคุมการหลัง่ ฮอร์โมน FSH เป็ นกลไกแบบยับยั้งย้อนกลับ
(negative feed back) ในระดับสมองส่ วนไฮโปธาลามัสและต่อมใต้
สมองโดยใช้ระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนเอสโตรเจนในเลือดเป็ นตัว
ควบคุม
Lutenizing hormone (LH)
Lutenizing hormone (LH) หรือ Interstitial cell stimulating
Hormone (ICSH) ทางานสัมพันธ์กบั FSH
LH มีผลให้ถุงไข่ที่เจริ ญพัฒนาเต็มที่แล้วเกิดการตกไข่ และเกี่ยวข้องกับ
การสร้างคอร์ปัส ลูเตียม (corpus luteum) เพื่อทาหน้าที่สังเคราะห์ฮอร์โมน
โปรเจสเตอโรน (progesterone)
โปรเจสเตอโรน ทาหน้าที่ในการเตรี ยมพร้อมของระบบสื บพันธุ์ และ
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตัวอ่อน
Lutenizing hormone (LH) (2)

ในสัตว์เพศผู ้ LH กระตุน้ เลย์ดิกเซลล์ (leydig cell) ให้ผลิตฮอร์โมน
testosterone เกี่ยวข้องกับการแสดงออกของลักษณะเพศผู ้ และการ
พัฒนาของเซลล์สืบพันธุ์เพศผูใ้ นท่อสร้างเซลล์อสุ จิ

การควบคุมการหลัง่ LH เป็ นการกระตุน้ แบบยับยั้งย้อนกลับ โดยใช้
ระดับของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในเลือด
Prolactin (PAL)


มีหน้าที่เฉพาะในสัตว์เพศเมียเท่านั้น คือ กระตุน้ ให้เซลล์เต้านมมีการ
พัฒนา สร้างและเก็บสะสมน้ านมภายในเต้านม มีผลให้คอร์ปัส
ลูเตียมบนรังไข่ไม่ฝ่อตัว
ในสัตว์ที่ไม่ต้ งั ท้องหรื อผสมไม่ติด ไฮโปธาลามัสจะหลัง่ PIF (prolactin
inhibiting factor) มาที่ต่อมใต้สมองส่ วนหน้าเพื่อยับยั้งการหลัง่ ฮอร์โมน
โปรแลคติน
Thyroid stimulating hormone (TSH)


มีผลโดยตรงต่อการหลัง่ ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ คือ ฮอร์โมน
ไทร๊ อกซิน (thyroxin) เกี่ยวข้องกับเมตาโบลิซึมของโภชนะคือ โปรตีน
คาร์โบไฮเดรท และไขมัน
การควบคุมการหลัง่ ฮอร์โมน TSH เป็ นกลไกการยับยั้งย้อนกลับที่ระดับ
สมองส่ วนไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมองส่ วนหน้า โดยระดับไทร๊อกซิน (T4) triiodotyronine (T3)
Adrenocorticotropic hormone (ACTH)



มีหน้าที่กระตุน้ ต่อมหมวกไตส่ วนนอกในชั้น zona fasciculata ให้ผลิต
และหลัง่ ฮอร์โมนกูลโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid)
ทาหน้าที่ในการควบคุมการใช้กลูโคสเป็ นแหล่งพลังงาน
กลไกที่ควบคุมการหลัง่ ACTH จากต่อมใต้สมองส่ วนหน้า เป็ นกลไก
แบบยับยั้งย้อนกลับในระดับต่อมใต้สมอง และสมองส่ วนไฮโปธาลามัส
โดยระดับกูลโคคอร์ติคอยด์ในเลือด
Growth hormone (GH)



Growth hormone (GH) หรือ Somatotrophin (STH) มีหน้าที่สาคัญต่อ
การเจริ ญเติบโตของสัตว์
โดยการเพิม่ การสังเคราะห์โปรตีนของเซลล์ในส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย
โดยเฉพาะเซลล์กระดูกและกล้ามเนื้อ
GH ออกฤทธิ์ที่ epiphyseal cartilage ของกระดูกยาว ทาให้กระดูกยาว
ขยายออก เกี่ยวข้องกับเพิม่ เนื้อกระดูก (matrix) และเพิม่ จานวนเส้นใย
(collagenous fiber) ที่ส่วนปลายกระดูกยาว
ต่ อมใต้ สมองส่ วนกลางและส่ วนท้ าย

ต่ อมใต้ สมองส่ วนกลาง
(intermediate lobe) พบได้ใน
สัตว์เลื้อยคลาน มีหน้าทีห่ ลัง่
ฮอร์โมน melanophore
stimulating hormone (MSH)
ควบคุมเม็ดสี ที่ผวิ หนัง

ต่ อมใต้ สมองส่ วนท้ าย
(posterior pituitary gland)
เป็ นแหล่งเก็บสะสมฮอร์โมน
จากสมองส่ วนไฮโปธาลามัส คือ
- ฮอร์โมน antidiuretic hormone
(ADH) หรื อ vasopressin
- ฮอร์โมน oxytocin
Antidiuretic hormone (ADH)
ADH หรือ Vasopressin มี 2 ชนิด คือ
- Arginine vasopressin
- Lysine vasopressin
หน้าที่คือ เพิ่มการดูดซึมน้ ากลับที่หลอดไตส่ วนปลาย (distal convoluted
tubule) และดูดซึมกลับของยูเรี ยที่หลอดไตรวม (collecting ducts)
การหลัง่ ฮอร์โมน ADH จะเกิดขึ้นเมื่อร่ างกายเกิดสภาวะขาดน้ า
(dehydration)
Oxytocin
มีหน้าที่ คือ
 มีผลให้กล้ามเนื้ อเรี ยบ (myoepithelial cell) ที่อยูร่ อบ alveoli เกิดการบีบ
ตัวทาให้เกิดการไหลของน้ านมออกจากท่อนม
 เกี่ยวกับการบีบตัวของกล้ามเนื้ อมดลูก ขณะเกิดการคลอด
การควบคุมการหลัง่ ออกซิโตซิน โดยระบบประสาทร่ วมกับฮอร์โมน
เรี ยกว่า (neuroendocrine reflex) เป็ นการควบคุมแบบ positive feed back
ต่ อมไทรอยด์
hypothalamus
TRH
Pituitary gland
TSH
Thyroid gland
Thyroxin
+Triiodothyronin

ต่ อมไทรอยด์ (thyroid gland)
เป็ นต่อมคู่ ใกล้กบั กล่องเสี ยง
ทาหน้าที่ผลิตและหลัง่ ฮอร์โมน
ไทร๊ อกซิน (thyroxin) หรื อ
tetraiodothyronine (T4 ) และ
triiodothyronine ( T3 )
ต่ อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland)
ประกอบด้วยเซลล์ 2 ประเภท คือ
- Chief cell
- Oxyphile cell
Chief cell ทาหน้าที่ในการหลัง่ parathyroid hormone (PTH) อวัยวะ
ป้ าหมาย คือ กระดูก ไต และระบบทางเดินอาหาร ทาให้ปลดปล่อย
แคลเซี่ยมจากกระดูก
กลไกการควบคุม เป็ นกลไกแบบยับยั้งย้อนกลับ (negative feed back)
โดยใช้ระดับ Ca++ ในเลือด
ฮอร์ โมนแคลซิโทนิน (Calcitonin)


ผลิตจาก C-cell (parafollicular cell) ในต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่ควบคุม
ระดับแคลเซี่ยมในเลือด ทางานเมื่อมี Ca++ เลือดสูงกว่าปกติ โดยไป
ยับยั้งการสลายตัวของกระดูกโดย osteoblasts และการดูดซึม Ca++ โดย
เซลล์ osteoclast
กลไกในการควบคุมการทางานของแคลซิโทนิน เกิดจากระดับ Ca++ ใน
เลือดที่สูงขึ้น จะมีผลให้ฮอร์โมนแคลซิโทนินถูกหลัง่ อกมาจาก C-cell
ของต่อมไทรอยด์
ตับอ่ อน (Pancreas)
pancreas
inhibits
low blood
glucose
insulin
body cell



muscles
liver

ส่ วนที่ผลิตฮอร์โมนคือส่ วนของ
islets of langerhans
B-cells พบมากที่สุด ทาหน้าที่
ผลิตและหลัง่ ฮอร์โมนอินซูลิน
(Insulin)
A -cells จะเป็ นแหล่งผลิตและ
หลัง่ ฮอร์โมนกลูคากอน
(glucagon)
ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรักษา
ระดับกลูโคสในเลือด
ต่ อมหมวกไต (Adrenal glands)
Cortex
Medulla
Cortex
Medulla
cortex แบ่งออกเป็ น 3 ชั้นคือ
 zona glomerulosa ทาหน้าที่
ผลิตและหลัง่ ฮอร์โมน
mineralocorticoid
 zona fasiculata ผลิตและหลัง่
ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์
(glucocorticoid)
 zona reticularis ทาหน้าที่ผลิต
และหลัง่ ฮอร์โมนเพศ
ฮอร์ โมน Mineralocorticoid
ประกอบด้วย aldosterone และ
inhibits deoxycorticosterone
ทาหน้าที่ควบคุม และรักษา
adrenal gland
สมดุลของน้ า และอิเลคโทรไลท์
aldosterone
high sodium
ของร่ างกาย ที่หลอดไตส่ วนปลาย
และหลอดไตรวม
kidney
ฮอร์ โมน Glucocorticoid
hypothalamus
ACTH
adrenal cortex
cortisol, etc.
body tissue

physical stress

gluconeogenesis

ประกอบด้วย ฮอร์โมน cortisol,
cortisone และ corticosterone
มีหน้าที่เกี่ยวกับเมตาโบลิซึมของ
คาร์โบไฮเดรท ไขมันและ
โปรตีน
การควบคุมการหลัง่ ฮอร์โมน
กลูโคคอร์ติคอยด์ จะถูกควบคุม
โดย ACTH จากต่อมใต้สมอง
ส่ วนหน้า
ฮอร์ โมนเพศ
เช่น
- Androgen
- Estrogen
- Progesterone
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบสื บพันธุ์ของสัตว์ขณะที่เป็ นลูกอ่อนอยูใ่ น
ท้องแม่
ฮอร์ โมนจากต่ อมหมวกไตส่ วนใน
ได้แก่
- ฮอร์โมน epinephrin
- ฮอร์โมน norepinephrin
เป็ นกลุ่ม catecholamine ที่ผลิตจาก chromaffin cells
การหลัง่ epinephrin และ norepinephrin เกี่ยวข้องกับระบบประสาท
และสารเคมีบางชนิด โดยเฉพาะเมื่อเกิดความเครี ยด สัตว์จะหลัง่ ฮอร์โมน
epinephrin ออกมา