การใช้ยา1

Download Report

Transcript การใช้ยา1

สเตียรอยด์
การใช้ ยา
แหล่ งที่มาของยา
1. แหล่งกาเนิดจากธรรมชาติ
–
จากพืช
• ยาสมุนไพรการนาส่ วนต่ างๆของพืชโดยตรงเช่ น ราก ใบ ลาต้ น ดอก
เปลือก หรือเมล็ด มาทาเป็ นยาโดยไม่ มีการเปลีย่ นแปลงสภาพ
• การสกัดเอาสารทีม่ อี ยู่ในพืชออกมาทาให้ บริสุทธิ์ เช่ นยาควินิน
– จากสั ตว์
• ยาทีไ่ ด้ จากอวัยวะของสั ตว์ เช่ น ตับ ดีหมู ดีววั หรือสกัดจากอวัยวะ
ของสั ตว์ เช่ นนา้ มันตับปลา
– จากแร่ ธาตุ
• จากแร่ ธาตุทเี่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ เช่ นเกลือไอโอดีน และดินขาว
2. จากการสั งเคราะห์
–
มาจากการสั งเคราะห์ โดยอาศัยปฏิบัติการทางเคมีในห้ องปฏิบัติการ
win
การจาแนกประเภทยาที่จาหน่ ายในท้ องตลาด
1. แบ่ งตามหลักเภสั ชวิทยา
•
จะแบ่ งได้ หลายกลุ่มเช่ น กลุ่มยาลดไข้ แก้ ปวด ยาแก้ แพ้ กลุ่มยาแก้
เชื้อรา เป็ นต้ น
2. แบ่ งตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2522
•
ยาแผนปัจจุบัน ยาแผนโบราณ ยาสามัญประจาบ้ าน ยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ ยาใช้ ภายนอก ยาใช้ เฉพาะที่ ยาสมุนไพร
ยาบรรจุเสร็จ
win
เพราะเหตุใดจึงต้ องทายาในรูปแบบต่ างๆ
การทายาในรู ปแบบต่ างๆมีประโยชน์ ดังต่ อไปนี้
1. รู ปแบบของยานา้ ชนิดต่ างๆ จะมีประโยชน์ ในกรณีของเด็ก คนชรา หรือ
ผู้ทกี่ ลืนยายาก
2. เพือ่ ช่ วยให้ ยาออกฤทธิ์ได้ เฉพาะที่ เช่ น ครีมขีผ้ งึ้ ยาหยอดหู ยาหยอดตา
ยาหยอดจมูก ยาเหน็บช่ องคลอด และยาเหน็บทวาร
3. เพือ่ ลดการเสื่ อมสภาพของยาจากสภาพแวดล้ อมหรือเพือ่ ปกผิดกลิ่นหรือ
รสชาติทไี่ ม่ ดขี องยา
4. เพือ่ ให้ ยาบางตัวออกฤทธิ์อยู่ได้ นาน
win
รูปแบบของยาแบ่ งออกได้ ดงั นี้
1. ของแข็ง
– เช่ น ยาเม็ด แคปซูลเป็ นต้ น
2. ของเหลว
– เช่ น ยานา้ เชื่อม ยานา้ แขวนตะกอน เป็ นต้ น
3. กึง่ ของแข็ง
– เช่ น ครีม ขีผ้ งึ เจล เป็ นต้ น
win
รูปแบบของยาทีเ่ ป็ นของแข็ง
ยาเม็ด ยาแคปซูล ยาผง ยาเหน็บ
• ยาเม็ด ประกอบด้วยตัวยาสาคัญและส่ วนอืน่ ๆ ดังต่อไปนี้
– Diluents สารช่ วยเพิม่ ปริมาณ เพือ่ ที่จะสามารถทาเป็ น
เม็ดได้ สารที่นิยมใช้ เช่ นแลคโตส เป็ นต้ น
– Binders สารยึดเกาะ เป็ นสารที่ใช้ ในสภาพละลายเพือ่ ทา
ให้ ผงส่ วนผสมของสู ตรยาเกาะกันเป็ น granule ก่อนจะ
นาไปทาเป็ นเม็ด
– Disintegrants สารที่ทาให้ เม็ดยาแตกตัว
– Lubricants สารหล่อลืน่ เพือ่ ป้องกันการติดของผง
ยาต่ อเป้าตอกยา
win
ชนิดของยาเม็ด แบ่ งออกเป็ น 6 ชนิด
•
ยาเม็ดชนิดทีไ่ ม่ เคลือบ
– Compressed tablet ยาเม็ดทีถ่ ูกอัดครั้งเดียว
– multiple Compressed tablet ยาเม็ดทีถ่ ูกอัดมากว่ า
ครั้ง
• ยาเม็ดชนิดเคลือบ
– Sugar-coated tablet ยาเม็ดเคลือบนา้ ตาล จะช่ วย
ป้ องกันไม่ ให้ ยาผสมกับอากาศหรือความชื่น หรือช่ วยกลบรสหรื อกลิน่ ที่
ไม่ ดี
– Film- coated tablet ยาเม็ดเคลือบฟิ ล์ ม ถูกเคลือบด้ วย
สารโพลีเมอ จะมีความทนทานและขนาดเล็กกว่ ายาเม็ดเคลือบนา้ ตาล
– ยาเม็ดเคลือบเพือ่ ให้ แตกตัวในลาไส้ ถูกเคลือบด้ วยสารทีไ่ ม่ ละลายที่
กระเพาะอาหาร หรือตัวยาที่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
win
• ยาอมใต้ลิ้น(Sublingual tablet) ตัวยา ถูก
ดูดซึมได้ดีจากเยื้อบุช่องปาก ข้อดีคือออกฤทธิ์ได้เร็ ว
• ยาเม็ดที่ใช้เคี้ยว(Chewable tablet) ใช้เคี้ยว
หรื อให้ละลายในปาก เมื่อละลายจะมีรสหวาน
• ยาเม็ดฟู (Efferviscent tablet) เป็ นยาเม็ด
ที่เตรี ยมโดยวิธีการผสมสารที่สามารถให้ก๊าซ
เมื่อผสมกับน้ า
• ยาเม็ดออกฤทธิ์เนิ่น(Time-released
tablet) เพื่อให้ปล่อยตัวยาออกมาอย่างช้าๆ
win
• ยาแคปซู ล(Capsules) มีตวั ยาบรรจุอยูใ่ นหลอดซึ่ งเตรี ยมจาดเจลาติน
– แคปซู ลชนิดอ่ อน จะมีสารพวกกลีเซอรี น ผสมอยูด่ ว้ ยเพื่อทาให้เจลาติน
อ่อนตัวลงและยืดหยุน่ ได้ แคปซูลชนิดนี้มีความชื่นมากว่าชนิดแข็ง
– แคปซู ลชนิดแข็ง
• ยาผง(Powders)
– หมายถึง ส่ วนผสมที่เป็ นผงละเอียดของตัวยาในรู ปแบบแห้ง
• ยาเหน็บ(Suppositories)
– ยาเหน็บช่ องทวาร(rectal suppositories)
– ยาเหน็บช่ องคลอด(vaginal suppositories หรือ
pessaries)
• จุดประสงค์ ของการให้ ยาเหน็บ เพือ่ ให้ ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
หรือใช้ กบั ผู้ป่วยทีไ่ ม่ ชอบกินยาหรือหมดสติ
win
รูปแบบของยาทีเ่ ป็ นของเหลว
• ยานา้ ใส(Solutions) เช่ น ยาอมบ้ วนปาก ยาล้ างตา นา้ เกลือชนิด
ต่ างๆ นา้ เกลือชะแผล เป็ นต้ น
• ยานา้ เชื่อม(Syrups) ตัวยาสาคัญละลายอยู่ในสารละลายของ
นา้ เชื่อมทีท่ ามาจากนา้ ตาลหรือสารให้ ความหวานตัวอืน่
• อีลกิ เซอร์ (Elixir) เป็ นยาเตรียมของสารละลายนา้ และแอลกอฮอล์ ที่
มีรสหวาน
• ยานา้ แขวนตะกอน(Suspension) มียาผงซึ่งเป็ นของแข็ง
แขวนลอยอยู่ในของเหลว โดยอาศัยสารช่ วยแขวนตะกอน เช่ น ยาลด
กรดชนิดนา้
win
• ยานา้ แขวนละออง(Emulsion) เป็ นยาเตรี ยมซึ่ง
ประกอบด้วยของเหลว 2 ชนิดซึ่งไม่ละลายในกันและกัน
เช่น น้ ามันตับปลา
• โลชั่น(Lotion) อาจมีคุณสมบัติเป็ นยาน้ าใส ยาน้ า
แขวนตะกอน หรื อยาน้ าแขวนละอองก็ได้ ใช้สาหรับทา
ภายนอกเท่านั้น
• ยาเตรียมปราศจากเชื้อ(Sterile products) มัก
เป็ นยาในรู ปของเหลวชนิดต่างๆ เช่น ยาฉี ด ยาหยอดตา
น้ ายาทาความสะอาดคอนแทคเลนส์
win
รูปแบบของยาทีเ่ ป็ นกึง่ ของแข็ง
• ครีม(Cream) ครี มเป็ นอิลนั ชัน่ (Emulsion) ที่มีลกั ษณะกึ่งของแข็ง
– ชนิดน้ ามันในน้ า ชนิดนี้ลา้ งออกได้ง่าย ไม่เปรอะเสื้ อผ้าและสามารถทาง่าย
– ชนิดน้ าในน้ ามัน ชนิดนี้ลา้ งยาก ป้ องกันการสู ญเสี ยน้ าจากผิวหนัง กรณี น้ าร้อน
ลวก ไฟลวก
• ยาขีผ้ งึ้ (Ointment) มีส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่ วนคือ ตัวยาสาคัญ
(active ingredients) และยาพื้น(base)
• เจล(Gel) ประกอบไปด้วยอนุภาคเล็กๆ ที่เรี ยกว่าคอลลอยด์และมี
คุณสมบัติชอบน้ า และความหนืดของเจลจะขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณของอนุภาค
win
วิธีการให้ ยา
แบ่ งออกเป็ น 3 พวกใหญ่ ๆ
1. วิธีการให้ โดยต้ องผ่ านระบบทางเดินอาหาร
2. วิธีฉีด
3. วิธีอนื่ ๆ
win
วิธีการให้ โดยต้ องผ่ านระบบทางเดินอาหาร
• การให้ ยาโดยการรับประทานทางปาก
– เป็ นวิธีทใี่ ช้ บ่อยทีส่ ุ ด เพราะสะดวกและง่ ายต่ อการใช้
– ผู้ป่วยสามารถให้ ยาได้ ด้วยตนเอง
• การให้ ยาทางทวารหนัก
– เหมาะสาหรับเด็กหรื อผูท้ ี่รับประทานอาหารยาก
– การเหน็บยาต้องทาด้วยความนุ่มนวลและสอดยาเข้าไปให้ลึกมากที่สุด
เท่าที่ทาได้
– การเหน็บยาเป็ นวิธีที่ยงุ่ ยาก และตัวยาชนิดเดียวกันราคาแพงกว่ายาที่ให้
โดยวิธีรับประทาน
win
วิธีฉีด
การให้ ยาโดยวิธีนีจ้ ะออกฤทธิ์เร็วกว่ าการให้ ยาโดยวิธีรับประทาน วิธีการให้ ยาโดยการฉีดแบ่ งออกเป็ น
•
การฉีดเข้ าเส้ นเลือดดา
– จะทาให้ ยาเข้ าสู่ กระแสเลือดได้ เต็มที่ และยาสามารถออกฤทธิ์ได้ เร็วทันที แต่ อาจทาให้
เกิดอาการพิษได้ รวดเร็วและรุนแรง
•
การฉีดเข้ าใต้ ผวิ หนัง
– การให้ ยาโดยวิธีนีย้ าจะไปกระจายอยู่บนชั้นใต้ ผวิ หนังซึ่งอยู่บริเวณกล้ ามเนือ้ การดูดซึม
ยาเป็ นไปอย่ างช้ าๆ
•
การฉีดเข้ ากล้ ามเนือ้
– จะทาให้ ยาถูกดูดซึมได้ เร็วกว่ าและทาให้ เกิดความระคายเคืองน้ อยกว่ าการให้ ยาใต้ ผวิ หนัง
•
การฉีดเข้ าเส้ นเลือดแดง
– เป็ นวิธีที่ใช้ กนั น้ อยมาก ใช้ เฉพาะกรณีที่ต้องการใช้ ยาที่มีพษิ สู ง เช่ น ยารักษามะเร็ง ให้ ยา
เข้ าไปยังอวัยวะส่ วนที่ต้องการรักษาโดยต้ องการให้ ยาแพร่ ไปบริเวณอืน่ น้ อยกว่ า
win
วิธีอนื่ ๆ
• การสู ดดมและการพ่ น
– ใช้ กรณีทตี่ ้ องการให้ ยาออกฤทธิ์ทชี่ ่ องจมูก เพือ่ ลดอาการคัดจมูก หรือปอด เพือ่
ขยายหลอดลม
• การอมใต้ ลนิ้
– ใช้ สาหรับยาทีอ่ าจถูกทาลายได้ โดยกรดและนา้ ย่ อยในทางเดินอาหาร
– ความเข้ มข้ นของยาในเลือดหลังจากอมยาใต้ ลนิ้ ในระยะแรกจะสู งกว่ าความเข้ มข้ น
ของยาทีไ่ ด้ รับจากากรดูดซึมผ่ านทางเดินอาหาร เพราะการดูดซึมยาโดยการอมใต้ ลนิ้
จะผ่ านเข้ าไปในกระแสเลือดโดยทันทีในระยะแรกโดยไม่ ผ่านตับอ่ อนก่ อน
• การทายาเฉพาะที่
• การเหน็บยาทางช่ องคลอด
• การให้ ยาโดยวิธีพเิ ศษ
– การให้ ยาเข้ าทางนา้ ไขสั นหลัง เข้ าในช่ องปอด ช่ องท้ อง เป็ นต้ น
win
ข้ อดีข้อเสี ยของการกินยา
ข้อดี
• ให้สะดวกปลอดภัยไม่เจ็บตัว
• ให้ได้ดว้ ยตนเอง
• ราคาถูก
• ให้ผลดีเหมือนยาฉี ดและจะให้ผล
ดีกว่าด้วยสาหรับยาที่จาเป็ นต้อง
ถูกเปลี่ยนแปลงที่ตบั แล้วทาให้
ฤทธิ์ การรักษาดีข้ ึน
ข้อเสี ย
• ถ้ายามีรส กลิ่นไม่ดี ทาให้ไม่
อยากกินยานั้น
• ยาอาจถูกทาลายโดยน้ าย่อยและ
กรดในกระเพาอาหาร
• ใช้ไม่ได้ในผูป้ ่ วยที่อาเจียนหรื อ
หมดสติ
win
ข้ อดีข้อเสี ยของการฉีดยา
ข้ อดี
• การฉีดเข้ าเส้ นเลือดดา
– ไม่ มปี ัญหาเรื่องการดูดซึม ยาออก
ฤทธิ์เร็ว ไม่ ทาให้ เกิดการระคาย
เคือง ไม่ มปี ัญหายาถูกทาลายก่ อน
การดูดซึม
• การฉีดเข้ าใต้ ผวิ หนัง
– การดูดซึมเป็ นไปอย่ างช้ าๆ ทาให้ ยา
ออกฤทธิ์ได้ นาพอสมควร
• การฉีดเข้ ากล้ ามเนือ้
– ยาจะถูกดูดซึมได้ เร็ว และ ความ
ระคายเคืองน้ อยกว่ าการให้ ทาง
ผิวหนัง
ข้ อเสี ย
• เกิดอาการเป็ นพิษได้ มากและเร็ว ขนาด
ของยาอาจเป็ นอันตรายได้ อาจทาให้ เกิด
หลอดเลือดอุดตัน เม็ดเลือดแตก เม็ด
เลือดรวมตัวกัน การติดเชื้อราคาแพง
• ยาบางอย่ างทีร่ ะคายเคือง อาจทาให้ เกิด
เป็ นแผลตรงบริเวณที่ฉีดได้
• การสะสมยาไว้ ทเี่ นือ้ เยือ่ จะทาให้ การ
ดูดซึมช้ าลง
win
เงื่อนไขต่ างๆ ในการให้ ยา
• ชนิดของยา
– ยาบางชนิดจาเป็ นต้องใช้การฉี ด
• สภาพของผู้ป่วย
– ไม่สามารถกินได้ อาเจียน
• อาการและความรุนแรงของโรค
• ตาแหน่ งทีย่ าไปออกฤทธิ์
win
ข้ อเสี ยของยาฉีด
• ยาฉีด อาจทาให้เกิดการแพ้อย่างรุ นแรงจนถึงตายได้
• เข็มและเครื่ องมือที่ใช้ฉีดยา ถ้าท่าฆ่าเชื้อหรื อใช้เทคนิคการฉีดไม่ดี
พอ อาจทาให้เชื้อโรคเข้าไปในร่ างกายทาให้เป็ นฝี หนอง
• ผูท้ ี่ขาดความชานาญ หรื อหลงตัวเองว่าตัวเองชานาญ อาจปักเข็ม
ไปถูกเส้นประสาทหรื ออวัยวะสาคัญได้
• ค่าใช้จ่ายแพงและยุง่ ยาก
• คนไข้ตอ้ งเจ็บตัว
win
การสู ดดมและการพ่นยา
ข้ อดี
• ยาออกฤทธิ์เร็ ว
• ให้ยาได้ดว้ ยตัวเอง
• ออกฤทธิ์เฉพาะแห่ง
ข้ อเสี ย
• วิธีการให้ไม่สะดวกแก่การ
รักษา ปริ มาณยาไม่แน่นอน
• ทาให้เกิดการระคายเคือง
หลอดลมตีบตัว
• ทาให้เกิดการติดเชื้อที่ระบบ
ทางเดินหายใจ
win
การอมใต้ ลนิ้
ข้ อดี
• ความเข้ มข้ นของยาในเลือดใน
ระยะแรกจะสู งกว่ าความเข้ มข้ น
ของยาทีไ่ ด้ จากากรดูดซึมทาง
ลาไส้ เล็กเพราะว่ ายาถูกทาลายช้ า
ลงเนื่องจากไม่ ต้องผ่ านตับอ่ อนใน
ตอนแรก
• เพือ่ หลีกเลีย่ งข้ อเสี ยที่จะเกิดจาก
การให้ ยาทางระบบทางเดินอาหาร
ข้ อเสี ย
• ยาบางชนิดมีรสไม่ ดแี ละอาจทาให้
เกิดการระคาย
• การให้ ยาโดนวิธีนีก้ นิ เวลานาน ไม่
ค่ อยสะดวกพูดไม่ ได้
win
การเหน็บ
ข้ อดี
ข้ อเสี ย
• เหมาะกับเด็ก หรื อผูก้ ินยายาก • ยุ่งยาก ต้ องเสี ยเวลานอน
• ออกฤทธิ์เฉพาะแห่งและทัว่
• ราคาแพง
ทั้งตัว
รศ. นายแพทย์ กาพล ศรีฒนกุล
เภสั ชกร ดร.จุฑามณี จารุจินดา
คณะเภสั ชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
win
อันตรายจากการใช้ ยา
แบ่งออกเป็ นหัวข้อใหญ่ๆ 4 หัวข้อดังนี้
1. อาการอันไม่ พงึ ประสงค์ ทมี่ ีผลขึน้ อยู่กบั ขนาดของยาทีใ่ ช้
2. อาการอันไม่ พงึ ประสงค์ ที่ไม่ สัมพันธ์ กบั ขนาดของยาซึ่งทีส่ าคัญ
ได้ แก่การแพ้ยา
3. ผลทีไ่ ด้ จากการรับยาติดต่ อกันเป็ นเวลานาน
4. ผลของยาต่ อทารกในครรภ์
win
อาการอันไม่ พงึ ประสงค์ ทมี่ ีผลขึน้ อยู่กบั ขนาดของยาที่ใช้
• ผลข้ างเคียงจากการใช้ ยา
–
–
–
–
เช่ นยาพวกแอสไพริน ทาให้ หูออื้
เตตร้ าซัยคลิน อาจทาให้ คลืน่ ไส้ อาเจียน ทาให้ เด็กฟันเหลืองตลอดชีวติ
คลอแรมเฟนิคอล อาจทาให้ การสร้ างเม็ดเลือดขาวเสี ยไป
สเตร๊ ปโตมัยซิน ทาให้ ประสาทเกีย่ วกับการได้ ยนิ เสี ย
• พิษของยาจากการได้ รับยาเกินขนาด
win
อาการทีไ่ ม่ พงึ ประสงค์ ที่ไม่ สัมพันธ์ กบั ขนาดของยา
การแพ้ยา(Drug Allergy)
• ลักษณะเด่ นของการแพ้ยา
– อาการแพ้ ยานั้น สามารถพิสูจน์ ได้ ว่าร่ างกายสร้ างสิ่ งต่ อต้ าน ต่ อยานั้น
ได้
– ลักษณะอาการที่เกิดมีแบบแผน ทานองเดียวกับอาการแพ้ของสารทั่วไป
– ถ้ าได้ รับยาซ้าอีกก็จะเกิดอาการแพ้อกี
– ปฏิกริ ิยาเกิดรวดเร็วมากหลังจากถูกกระตุ้น
– การแพ้ ยาไม่ ขนึ้ อยู่กบั ขนาดของยาทีไ่ ด้ รับ
– สามารถช่ วยเหลือได้ ด้วย ยาแก้ แพ้ ยาแก้ อกั เสบ และยากระตุ้น
ประสาทซิมพาเธติค เช่ น อะดีนาลีน
win
องค์ ประกอบที่ทาให้ แพ้ยา
•
•
•
•
ชนิดของยา
วิธีการให้ ยา การสั มผัสจะทาให้ เกิดการแพ้ง่ายทีส่ ุ ด
พันธุกรรมของผู้ได้ รับยา
การได้ รับการกระตุ้นมาก่อนและการเกิดปฏิกริ ิยาไขว้ ของยาในกลุ่ม
เดียวกัน
win
ชนิดของการแพ้ยา
การแพ้ยาในทันทีทันใด
•
จะเกีย่ วข้ องกับการสร้ างโปรตีนชนิดหนึ่งในเลือดโดยโปรตีนนีจ้ ะจับ
กับ มาสต์ เซลล์ (Mast cell) เมือ่ ได้ รับยาครั้งต่ อมา มาสต์ เซลล์
จะกระตุ้น ทาให้ เซลล์ แตก และหลัง่ สารพิเศษทาให้ ร่างกายแสดง
อาการแพ้
• อะนะฟัยแลกซีส(Anaphylaxis) ทาให้ หลอดลมตีบ บวม
บริเวณกล่องเสี ยง(หายใจไม่ ได้ ) เส้ นเลือดขยายตัวมาก
• อาการแพ้อนื่ ๆ ผืน่ คัน บวม
win
อาการแพ้ชนิดทิง้ ช่ วง
• อาการทางผิวหนัง
– อาการผืน่ แดง คัน อักเสบ
• เม็ดเลือดขาวลดลงเกิดได้ 2 กรณี
– ถ้ าเกิดจาการทางานของไขกระดูกสั นหลัง ใช้ สเตียรอยด์ ไม่ ได้ ผล
– ถ้ าการทาลายเม็ดเลือดขาวทีส่ ่ วนปลายไม่ ใช่ ไขกระดูกสั นหลังอาการเช่ นนีจ้ ะหายไป
เมือ่ หยุดใช้ ยาและใช้ สเตียรอยด์ อาจให้ ยาปฏิชีวนะช่ วยป้ องกันการติดเชื้อจากการ
ขาดเม็ดเลือดขาว
• โลหิตจาง
– ยังไม่ ทราบขบวนการทีแ่ น่ นอนว่ าเกิดจากอาการแพ้หรือไม่ ตัวอย่ างเช่ น
คลอแรมเฟนิคอน จะไปกดการทางานของไขกระดูก ทาให้ อตั ราการตายสู ง และการ
ฟื้ นจากการแพ้เป็ นไปอย่ างช้ าๆ
ฮอร์ โมนที่ผลิตจากต่ อมหมวกไตและมี
บทบาทในการใช้ รักษาโรคอย่ างกว้ างขวาง คือยา
ประเภทสเตียรอยด์ หรือคอร์ ติโคสเตียรอยด์ หรือ
กูโคคอร์ ตคิ อย์ ซึ่งนอกจากจะใช้ ทดแทนในกรณี
ร่ างกายขาดฮอร์ โมนดังกล่ าวแล้ วยังนาไปใช้ ใน
การรักษาโรคต่ างๆ หลายชนิด
win
การใช้ ยาประเภทสเตียรอยด์ ตามหลักการที่
ถูกต้ องมีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ
• เพือ่ เป็ นการทดแทนระดับของฮอร์ โมนในร่ างกายที่
ลดตา่ ลง
– เนื่องจากต่ อมพิทุอติ ารี(Pituitary)และต่ อมหมวก
ไตทางานผิดปกติ ขนาดของยาจะให้ ขนาดต่าและ
ใกล้ เคียงกับปริมาณของฮอร์ โมนในร่ างกายที่มีการหลัง่
ตามธรรมชาติ
• เพือ่ หวังผลในการออกฤทธิ์ทางเภสั ชวิทยาบาง
ประการ
– ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ใช้ ในการรักษาโรค
win
ผลของสเตียรอยด์ ต่อร่ างกาย
• ผลต่ อขบวนการเมตาบอลิซึมในร่ างกาย
สเตียรอยด์ มีบทบาทสาคัญในการควบคุมการ
เปลีย่ นแปลงและการทาลายพวกโปรตีน ไขมัน และคาร์
โบฮัยเดรทในร่ างกาย ฮอร์ โมนจะทาให้ ระดับนา้ ตาลใน
เลือดสู งขึน้ และกระตุ้นให้ มีการทาลายโปรตีน และ
ไขมันในร่ างกายเพิม่ ขึน้ เพือ่ ให้ เซลต่ างๆในร่ างกายมี
พลังงานใช้ เพียงพอกับทีร่ ่ างกายต้ องการ
win
• ผลต่ อปริมาณนา้ และเกลือแร่ ในร่ างกาย
มีผลทาให้ มีการดูดซึมของนา้ และเกลือ่ แร่
(ที่สาคัญคือโซเดียม) จากปัสสาวะ ในท่ อไตส่ วน
ปลายกลับสู่ ร่างกายมากขึน้ ในการดูดซึมกลับของ
เกลือโซเดียมจะทาให้ การแลกเปลีย่ นการขับถ่ าย
โปแตสเซียมออกจากร่ างกายซึ่งผลรวม คือ จะทา
ให้ มีเกลือโซเดียมและนา้ คัง่ อยู่ในร่ างกายมากขึน้
และระดับโปแตสเซียมในร่ างกายจะต่าลง
win
• ผลต่ อระบบไหลเวียนเลือด
สเตียรอยด์ มีบาทบาทสาคัญในการช่ วยให้ การทางาน
ของระบบไหลเวียนเลือดเป็ นปกติ กลูโคคอร์ ตคิ อยด์ มีผล
เสริมฤทธิ์การหดตัวของหลอดเลือดของระบบประสาท
อัตโนมัติซิมพาเธติค
ถ้ าขาดสเตียรอยด์ จะทาให้ การตอบสนองในการหดตัว
ของหลอดเลือดลดน้ อยลงความดันเลือดต่า และทาให้
ความสามารถในการซึมผ่ านของนา้ และสารต่ างๆออกจาก
เส้ นเลือดฝอยเพิม่ ขึน้
win
•ผลต่ อระบบเม็ดเลือด
สเตียรอยด์ มีผลทาให้ ระดับเม็ดเลือด
แดงฮีโมโกบิล และเม็ดเลือดขาว ชนิดโป
ลิมอร์ โฟนิวเคียล ลิวโคซัยท์ (PMN) ใน
เลือดสู งขึน้
win
• ผลต่ อระบบประสาทส่ วนกลาง
สเตียรอยด์มีผลต่ออารมณ์ ลักษณะการนอนหลับและ
การทางานของคลื่นสมอง
สเตียรอยด์มีผลดังกล่าวสื บเนื่องมาจากการ
ที่สเตียรอยด์ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงของเมตาบอลิซึมของ
คาร์โบฮัยเดรท สมดุลย์ของเกลือแร่ และปริ มาณของเลือด
ที่ไปเลี้ยงสมอง ในภาวะที่ขาดฮอร์ โมนนี้ ผูป้ ่ วยจะมี
อารมณ์เปลี่ยนแปลงในรู ปของอาการซึมเศร้าและ
หวัน่ ไหวง่าย
win
•ผลต่ อระบบกล้ ามเนือ้
สเตียรอยด์มีความสาคัญ ที่จะทาให้การทางานของ
กล้ามเนื้อเป็ นปกติ ในภาวะที่ขาดฮอร์โมนจะมีการอ่อน
เปลี้ยของกล้ามเนื้อ
ซึ่ งเป็ นผลของสเตียรอยด์ต่อการทางานของกล้ามเนื้อ
สื บเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึมของ
คาร์โบฮัยเดรท สมดุลย์ของเกลือแร่ และปริ มาณของ
เลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมากกว่าที่จะเป็ นผลโดยตรง
win
ประโยชน์ ที่ใช้ ในการรักษา
• การให้ สเตียรอยด์ เพือ่ ทดแทนการขาดฮอร์ โมนชนิดนี้
สเตียรอยด์ ใช้ ในการรักษาภาวะการทางานผิดปกติของ
ต่ อมหมวกไต
การให้ ยาโดยวิธีนีจ้ ะต้ องระวังผลการระคายเคืองของ
กระเพาะอาหาร หลีกเลีย่ งการรับประทานยาตอนท้ องว่ าง
หรือรับประทานพร้ อมนมได้
win
• โรคภูมแิ พ้
ยาพวกสเตียรอยด์ จะมีผลดีและรวดเร็วในอาการหลาย
อย่ างทีเ่ กีย่ วเนื่องกับโรคภูมิแพ้ เช่ นโรคหืด ไข้ หวัดเรื้อรัง
ชนิดแพ้อากาศ ไข้ ละอองฟาง แพ้ยาและโรคผืน่ คันตาม
ผิวหนังที่เกิดจากอาการแพ้
ไม่ ควรใช้ สเตียรอยด์ เป็ นยาตัวแรกในการรักษา และถ้ า
จาเป็ นจะต้ องใช้ กค็ วรใช้ เฉพาะในระยะเวลาอันสั้ นเท่ านั้น
win
• โรคทีเ่ กิดจากความผิดปกติของระบบเลือด
ยาพวกสเตียรอยด์ ได้ ผลดีมากในการป้ องกันอาการ
แตกทาลายของเม็ดเลือดแดงในโรค
autoimmunchemolytic anemia
สเตียรอยด์ ยงั มีประโยชน์ ในการรักษาอาการแทรก
ซ้ อนที่เกิดจากโรคมะเร็ง เช่ น ภาวะเกล็ดเลือดต่า เม็ด
เลือดแดงแตกทาลาย และระดับแคลเซียมในเลือดสู ง
เป็ นต้ น
win
• ภาวะสมองบวม
สเตียรอยด์ ได้ ผลดีที่ สุ ดในการลดอาการ
บวมของสมอง และได้ ผลดีในอาการบวม
ของสมองที่เกิดจากฝี ในสมอง
แต่ จะไม่ ได้ ผล หากอาการสมองบวมเกิดจาก
อุบัตเิ หตุทมี่ กี ารกระทบกระเทือนต่ อสมอง
win
• โรคความผิดปกติของเนือ้ เยือ้ คลอลาเจน
ยาสเตียรอยด์ มีประโยชน์ ในการรักษาโรคที่เกิดจากความ
ผิดปกติในระบบนี้ ถ้ าใช้ ในขนาดสู งในระยะแรกของโรคทีม่ ีอาการ
เฉียบพลัน
สเตียรอยด์ จะมีผลควบคุมอาการต่ างๆของโรคเอสแอลอี
(SLE)ได้ ในกรณ๊ ที่อาการแสดงทีผ่ วิ หนังก็ใช้ ยาสเตียรอยด์ ชนิด
ทาภายนอก แต่ ถ้ามีอาการของระบบอืน่ ในร่ างกาย เช่ น ทางไต
ระบบประสาทส่ วนกลาง ระบบเลือด ก็จาเป็ นต้ องใช้ การกินหรือ
การฉีด
win
•โรคผิวหนัง
ยาสเตียรอยด์ ชนิดทาภายนอกจะสามารถลด
อาการทางผิวหนังที่เกิดจาการแพ้ การอักเสบและ
โรคผิวหนังนีท้ าให้ เกิดอาการคันต่ างๆ
สเตียรอยด์ ไม่ ได้ เป็ นยาทีร่ ักษาต้ นเหตุที่ผวิ หนัง
สเตียรอยด์ อาจมีผลยับยั้งอาการคันและอักเสบที่เกิด
จากเชื้อราได้ แต่ เมือ่ หยุดใช้ ยาก็จะมีอาการขึน้ มาอีก
และในบางครั้งก็กลับมีผลที่ทาให้ การติดเชื้อลุกลาม
กว้ างขึน้
win
•โรคข้ อชนิดรูมาตอยด์
ไม่ ควรเลือกใช้ สเตียรอยด์ เป็ นยาตัวแรกในการรักษา
สเตียรอยด์ จะมีผลเฉพาะในระยะทีม่ ีอาการอักเสบรุ นแรง
เท่ านั้น
กรณีที่มีการอักเสบเฉพาะบางข้ อ การฉีดสเตียรอยด์
เข้ าข้ อนานๆครั้ง อาจช่ วยลดอาการอักเสบได้ ในระยะแรก
แต่ หลังการหยุดยา อาการอักเสบอาจกลับมารุนแรงกว่ าเดิม
อีก
win
•ใช้ ลดระดับแคลเซียมในเลือด
สเตียรอยด์ ในขนาดสู งมีผลลดระดับของ
แคลเซียมในทางเดินอาหาร เนื่องจากยามีผล
ต้ านฤทธิ์วติ ามินดี จึงได้ ผลดีในการรักษา
ภาวะทีแ่ คลเซียมในเลือดสู ง
win
•โรคตับ
การเลือกใช้ สเตียรอยด์ รักษาโรคตับ ที่สาคัญ
คือลักษณะและสาเหตุของโรคและสภาพของ
ผู้ป่วย และควรลดขนาดลงเมือ่ ผ็ป่วยมีอาการดี
ขึน้
สเตียรอยด์ ไม่ มีประโยชน์ ที่ใช้ รักษาตับ
อักเสบอย่ างเฉียบพลันที่เกิดจากเชื้อไวรัส
win
•โรคไต
ในผู้ป่วยเด็กทีม่ ีความผิดปกติน้อย อาจใช้
สเตียรอยด์ รักษาได้ ผลดี
ในผู้ใหญ่ กไ็ ด้ ผลดี ซึ่งผลการรักษาขึน้ อยู่กบั
ลักษณะทางพยาธิวทิ ยาของเนือ้ เยือ่ ไต
win
• โรคของระบบทางเดินหายใจ
สเตียรอยด์ มีประโยชน์ ในการรักษาโรค
หืดที่ใช้ ยาขยายหลอดลมไม่ ได้ ผล
รู ปแบบของยาทีค่ วรให้ คอื รู ปแบบของยา
สู ดดม เพือ่ ให้ ออกฤทธิ์เฉพาะที่
win
• โรคตา
สเตียรอยด์ ใช้ ได้ ผลในการรักษาโรคของตาทีเ่ กิดจาก
อาการแพ้ และอาการอักเสบทีไ่ ม่ ได้ เกิดจาการติดเชื้อ
วิธีการทีน่ ิยมใช้ คอื วิธีหยอด ห้ ามใช้ ยานีใ้ นกรณีจาก
การติดเชื้อ ไม่ มีผลในการรักษาต่ อกระจก
ถ้ าใช้ ติดต่ อกันเป็ นเวลานานๆมีผลทาให้ ความดันในลูก
ตาสู งขึน้ จนเป็ นโรคต่ อหินได้
win
• โรคทีเ่ กีย่ วกับความผิดปกติของระบบประสาทและ
กล้ ามเนือ้
• ในภาวะช็อค
ควรใช้สาหรับรักษาอาการช็อคที่เกิดจากการขาดส
เตียรอยด์ฮอร์โมนเท่านั้น ยานี้ไม่มีผลในการรักษา
ภาวะช็อค ซึ่ งเกิดจากความผิดปกติของหัวใจ และปริ มาณ
น้ าในร่ างกายต่า แต่อาจใช้รักษาภาวะช็อคที่เกิดจากการติด
เชื้ออย่างรุ นแรงได้
win
อันตรายจากการใช้ สเตียรอยด์
win
•การติดเชื้อ
สเตียรอยด์ ในขนาดสู งมีผลลดภูมติ ้ านทาน
ของร่ างกาย ทาให้ เกิดการติดเชื้อแบคที่เรีย
ไวรัส และโดยเฉพาะอย่ างยิง่ เชื้อราได้ ง่าย
เนื่องจากสเตียรอยด์ อาจจะบดบังอาการ
แสดงของโรคติดเชื้อ ทาให้ ไม่ พบอาการของโรค
เมื่อตรวจพบจะเป็ นอาการขั้นรุนแรง
win
• กดการทางานของระบบทีค่ วบคุมการหลัง่ ฮอร์ โมน
การใช้สเตียรอยด์ขนาดสูงจะมีผลทาให้การทางานของระบบ
อวัยวะที่ทาหน้าที่สร้างและควบคุมการหลัง่ ของฮอร์โมนชนิดนี้ใน
ร่ างกายถูกกด จะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยูก่ บั ขนาดของยาที่ได้รับ
ทั้งหมด
ฮัยโปธาลามัส พิทุอติ ารี ต่ อมหมวกไต ในภาวะที่มีระดับ
ของคอร์ติโซลในเลือดสูง จะมีการกระตุน้ จากฮัยโปธาลามัสส่ ง
ต่อมายังต่อมหมวกไตให้ลดการสร้างสเตียรอยด์ลง ในทางตรงกัน
ข้ามระดับคอร์ติโซลต่า จะมีผลกระตุน้ ให้ต่อมหมวกไตสร้าง
ฮอร์โมนนี้มากขึ้น
win
• แผลในกระเพาะอาหาร
สเตียรอยด์ มีผลทาให้ เยือ่ บุกระเพาะอาหารบางตัวลง
และยับยั้งการสร้ างเนือ้ เยือ้ ใหม่ ขนึ้ มาทดแทนเนือ้ เยือ้ เก่ าที่
หลุดออกไป
อาจมีผลทาให้ เกิดแผลในกระเพาะอาหารและลาไส้ เล็ก
ขณะทีผ่ ้ ูป่วยได้ รับสเตียรอยด์ อยู่อาจมีกระเพาะทะลุ
หรือเลือดออกในกระเพาะอาหารได้ โดยไม่ มีอาการเจ็บปวด
มาก่ อน
ผู้ป่วยทีไ่ ด้ สเตียรอยด์ เป็ นเวลานาน ควรมีการตรวจหา
เลือดในอุจจาระเป็ นระยะๆ
win
• ผลต่ อระบบประสาทส่ วนกลาง
สเตียรอยด์ อาจมีผลเปลีย่ นแปลงบุคลิกภาพและอารมณ์ ของผู้ป่วย
ได้ ในขนาดทีส่ ู งจะมีผลทาให้ เกิดอารมณ์ เป็ นสุ ข เป็ นสาเหตุทาให้
ผู้ป่วยติดยาทางใจ
นอกจากนีย้ ายังอาจทาให้ มีฤทธิ์อาการไม่ พงึ ประสงค์ อื่นๆ เช่ น
นอนไม่ หลับ เจริญอาหาร กระสั บกระส่ าย หงุดหงิด และอาจมีอาการ
ของโรคจิตได้
ควรหลีกเลีย่ งการใช้ ยานีใ้ นผู้ป่วยทีเ่ ป็ นโรคลงชักหรือโรคจิต
win
• กระดูกผุ
• ยับยั้งการเจริญเติบโตของร่ างกาย
สเตียรอยด์ มผี ลยับยั้งการเจริญเติบโตของร่ างกาย
ในเด็ก
• อาการบวม
เนื่องจากการคัง่ น้ าและเกลือแร่
ปัจจุบนั มีการสังเคราะห์ยาที่มีฤทธิ์ เฉพาะ
ทาให้ไม่มีอาการบวมแล้ว
win
• ทาให้ ระดับโปแตสเซียมในเลือดต่า
ผลของสเตียรอยด์มีฤทธิ์เป็ นมินเนอราลโลคอร์ติคอยด์ ทาให้
มีการเสี ยเกลือโปแตสเซียมออกทงปัสสาวะมาก
• ทาให้ กล้ามเนือ้ เปลีย้
การใช้สเตียรอยด์เป็ นระยะเวลานานจะทาให้มีการอ่อนแอ
ของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะอย่างยิง่ บริ เวณต้นขาและต้นแขน
win
• ผลต่ อตา
การใช้ สเตียรอยด์ หยอดตา อาจทาให้ ความดันใน
ลูกตาสู งได้ และยังทาให้ มโี อกาสติดเชื้อได้ ง่าย
การใช้ สเตียรอยด์ ในรู ปการกินและฉีดเป็ น
เวลานาน โดยเฉพาะอย่ างยิง่ ในเด็ก อาจทาให้ เกิดต้ อ
กระจกได้
win
• ผลต่ อผิวหนัง
มีผลทาให้ผวิ หนังมีรอยแตกและมีลกั ษณะเป็ นมัน
• ฤทธิ์และอาการไม่ พงึ ประสงค์ อนื่ ๆ
ผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในร่ างกายเหมือนกับพวกที่เป็ นโรคคุชชิ่ง
(Cushing’s syndrome) คือมี หน้าอ้วนกลม มีไขมันบริ เวณ
หัวไหล่จนเห็นลักษณะคล้ายหนอก และมีรอยแตกตามผิวหนัง
อาการอื่นๆ ปวดศีรษะ ความดันสู ง เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย ตับโต
ไขมันในเลือดสู ง และน้ าตาลในเลือดสู ง
win
หลักทั่วไปในการใช้ ยา
ประเภทสเตียรอยด์
1. ก่ อนใช้ ยาควรวินิจฉัยแล้ วว่ าใช้ ยานีไ้ ด้ ผล
2. ควรใช้ สเตียรอยด์ เมื่อการรักษาแบบอืน่ ไม่ ได้ ผล
3. ขนาดของยาควรพิจารณาตามความรุนแรงของโรค มากว่ าจะ
คานวณจากอายุ นา้ หนักของคนไข้
4. ขนาดของยาและระยะเวลามีความสาคัญมากเกีย่ วกับผลของการ
รักษา
5. หลังการใช้ ยาไปนานไม่ ควรหยุดใช้ ยาในทันที
6. ถ้ าเป็ นไปได้ ควรใช้ สเตียรอยด์ โดยตรงบริเวณที่ต้องการให้ ยาออก
ฤทธิ์ เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการรักษาและลดผลข้ างเคียงจาก
การใช้ ยาทั่วร่ างกาย
win
อ้ างอิง
กาพล ศรี วฒั นกุล. คู่มอื การใช้ ยาฉบับสมบูรณ์ ฉบับปรับปรุงแก้ ไขใหม่ บริ ษทั เมดาร์ท จากัด
8114 ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุ งเทพมหานคร 10300 โทร. 0 – 2243 - 3241
win