Transcript fki

การมีสติระลึกรู้และ
ความจา
Consciousness and
Memory
โดย
พระมหาเผือ
่ น กิตฺตโิ สภโณ
Definition of consciousness
Consciousness is the awareness of
environmental and cognitive events such as the
sights and sounds of world as well as of one’s
memories, thoughts, feeling, and bodily
sensations. By this definition consciousness has
two sides
• Consciousness includes a realization of
environmental stimuli. For example you might
suddenly become mindful of bird’s song, a sharp
toothache, or visual recognition of friend.
• Consciousness also includes one’s recognizant of
mental events-those thoughts that result from
memories. For example, you might think of the
คาจากัดความ
ภาวะการมีสติรตู้ วั (Consciousness) หมายถึง
การ
ตระหนักรู้. การรูสึ้ กตัว ประกอบดวย
ดานสั
มผัส
้
้
(Sensation) การรับรู้(Perception) ความจา(Memory)
ความรูสึ้ ก(Feeling) ทัง้ หมดทีค
่ ุณตระหนักรูในช
้
่ วงเวลา
ใดๆก็ตาม เราใช่เวลาส่วนใหญในชี
วต
ิ ของเรากับการ
่
รูสึ้ กตัวอยางมี
สติสัมปชัญญะ(Waking consciousness)
่
อันเป็ นภาวะการตืน
่ ตัวทีช
่ ด
ั เจนและเป็ นระบบ
ในการรูสึ้ กตัวอยางมี
สติสัมปชัญญะเราจะรับรูเวลา
่
้
สถานที่ เหตุการณว์ าเป็
่ นจริง มีความหมายและรูจั
้ กดี
ภาวะการรูสึ้ กตัวยังเกีย
่ วของกั
บความเหนื่อยลา้ การขาด
้
สติ การสะกดจิต ยา และการเคลิบเคลิม
้ อาจแตกตาง
่
อยางมากจากการตระหนั
กรูตามปกติ
. ทุกคนคงเคยมี
่
้
ประสบการณอย
างหนึ
่ง อยางเช
์ างใดอย
่
่
่
่ น การหลับ
การฝัน การฝันกลางวัน
ประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการมีสติ
ระลึกรู้
• แมในอดี
ตไมมี
่ วกับการมีสติ
้
่ การบันทึกการศึ กษาเกีย
ระลึกรูอย
ดเจน แตมนุ
่ ง
้ างชั
่
่ ษยมี
์ ความสนใจบางเรือ
ทีเ่ กีย
่ วของกั
บการมีสติระลึกรู้ เช่น ฉันเป็ นใคร?
้
ทาไมฉันจึงคิดอยางที
ฉ
่ ันกาลังคิด? เกิดอะไรขึน
้ กับ
่
ฉันหากฉันหลับหรือตาย? เรือ
่ งราวเหลานี
่ ้ปรากฏอยู่
ตามคาสอนศาสนาและความเชือ
่ ทีไ่ มสามารถพิ
สจ
ู น์
่
ได.้
• การศึ กษาประสบการณการมี
สติระลึกรูอย
น
้ างเป็
่
์
วิทยาศาสตรเริ
่ ตนขึ
้ ศตวรรษที่ 19 โดย
้ น
์ ม
นักจิตวิทยาอเมริกน
ั วิลเลีย
่ ม เจมส์ผู้ซึง่ กลาวว
า่
่
“Psychology is the science of mental life”และคน
อืน
่ ๆเช่น Hermann Ebbinghaus (ผู้เชีย
่ วชาญดาน
้
ประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการมีสติ
ระลึกรู้
• ช่วงตนปี
1900 การเกิดขึน
้ ของจิตวิทยาพฤติกรรม
้
นิยมเช่น Ivan Pavlov John Watson ซึง่ เน้นศึ กษา
พฤติกรรมทีส
่ ามารถสั งเกตได้ วัดได้ ประเมินได้
อยางเป็
นวิทยาศาสตรที
่ องวา่ การศึ กษาการมีสติ
่
์ ม
ระลึกรูอย
นวิทยาศาสตรท
ทาให้
้ างเป็
่
้
์ าไดยาก
การศึ กษาการมีสติระลึกรูไม
่ นใจนัก
้ เป็
่ นทีส
• ในเวลาตอมา
การศึ กษาเกีย
่ วกับการมีสติระลึกรู้ได้
่
กลับมาเป็ นทีส
่ นใจอีกครัง้ โดยนักจิตวิทยาในเวลา
ตอมาได
ละทิ
ง้ คาอธิบายแบบเกาที
่ ก
ู มองวาเป็
่
้
่ ถ
่ นแนว
จิตนิยม(Mentalism)เกินไป โดยเริม
่ ให้คาอธิบายใน
ภายภาพนิยม(Physicalism)วา่ ประสบการณการมี
์
สติระลึกรูอธิ
เซลลประสาท
หรือสิ่ งเรา้
้ บายไดด
้ วย
้
์
ภาวะการมีสติระลึกรู้ตามทฤษฎี
จิตวิเคราะห์
จิตวิทยาการรู้คิดและ
ปัญญา
กับการมีสติระลึกรู้
แนวคิดหลักในการศึกษา
ภาวะการมีสติระลึกรู้
• แนวคิดหลักนักจิตวิทยานิยมศึ กษาเกีย
่ วกับการ
มีสติระลึกรู้
• การทดลองเรือ
่ งการรับรูระยะแรกเริ
ม
่
้
(Research with prime)
• การศึ กษาเชิงประสาทวิทยา: การหลับและ
ภาวะสูญเสี ยความจา(Neurocognitive
studies: sleep and amnesia)
Explicit and Implicit memory
• ความจาที่ ชด
ั เจน(Explicit memory) หมายถึง
การนึกยอน(recall)ข
อมู
บจิตสานึก
้
้ ลไดในระดั
้
ตัวอยางของความจ
าประเภทนี้ เช่น การตอบชือ
่
่
เพือ
่ น ชือ
่ บุคคลหรือสถานทีแ
่ ละวัตถุส่ิ งของไดอย
้ าง
่
ถูกตอง
้
• ความจาที่ ไม่ชด
ั เจน(Implicit memory) หมายถึง
ความจาทีว่ ด
ั ไดโดยผ
านการกระท
าซึง่ การ
้
่
เปลีย
่ นแปลงเกีย
่ วของกั
บประสบการณเดิ
้
์ มทีเ่ กิดตา่
กวา่ เทรชโฮลทการรั
บรู(Treshold)
้
์
การทดลองเกี่ยวกับความจาก่อน
การมีสติระลึกรู้(Research with
prime)
• Mayer & schvanedeldt(1971,1976) ไดศึ
้ กษา
อิทธิพลของคาทีถ
่ ก
ู นาเสนอในระยะเวลาสั้ นๆในระดับ
กอนการจ
าไดที
่ ต
ี อการระบุ
คาถูกนาเสนอหลังจาก
่
้ ม
่
นั้นไดอย
้ างถู
่ กลุ่ม กตอง
้
คาแรก
คาที่สอง
กลุมที
่ ่ 1
COLLEGE
UNIVERSITY
กลุมที
่ ่ 2
JELLY
UNIVERSITY
ผลการทดลองพบวา่ กลุมที
่ รกทีไ่ ดดู
่ ค
ี วาม
่ แ
้ คาแรกทีม
เชือ
่ มโยงกับคาทีส
่ องสามารถระบุคาทีส
่ องไดไวกว
า่
้
• การทดลองของ Richard Nisbett & Lee Ross
จากมหาวิทยาลัยมิชแ
ิ กนไดท
้ าการทดลองซึง่
เกีย
่ วของกั
บการให้ผู้รับการทดลองภาพคาศั พท ์
้
อยางเช
่
่ น ทะเล พระจันทร ์ จากนั้น ถูกขอให้พูด
คาบางคาทีเ่ กิดในความคิดของเขาออกมาพรอม
้
คาอธิบาย เช่น คนทีพ
่ ด
ู วา่ ผงซักผ้า จะให้
คาอธิบายวา่ แมผมใช
่
้กระแสน้าในการซักผา
• การทดลองทีก
่ ลาวมาแสดงให
่
้เห็ นอิทธิพลของ
Subliminal priming หรือผลกระทบของ prime ที่
ถูกนาเสนอตา่ กวาระดั
บเทรชโฮลดการรั
บสั มผัส
่
์
(Sensory threshold) หรือระดับการตระหนักรู้
ในการทดลอง Subliminal perception กลุมแรกได
่
้
ถูกให้ดูภาพ A จากนั้น C ทีป
่ รากฏอยางรวดเร็
ว
่
ส่วนกลุมที
้
่ ่ 2 ไดถู
้ กให้ดูภาพ B และ C ทีเ่ กิดขึน
อยางรวดเร็
ว
่
จากนั้นให้ทัง้ สองกลุมวาดภาพ
C
่
ผลการทดลองพบวา่ กลุมที
่ ะวาด
่ ่ 1 มีแนวโน้มทีจ
ภาพเด็กมีใบหน้าโกรธ
กลุมที
่ ะวาดภาพมีใบหน้ายิม
้ แย้ม
่ ่ 2 มีแนวโน้มทีจ
การทดลอง Lexical Decision
Task
BREAD
TRUCK
XXXXX
XXXXX
SANDWI
CH
SANDWI
CH
Faster reaction
in LDT.
Slower reaction
in LDT.
การทดลอง Lexical Decision Task โดย tony
marcel แหงมหาวิ
ทยาลัยเคมบริจดได
่
้ าการทดลอง
์ ท
โดยการให้ผู้ถูกทดลองดูคาศั พทที
่ รากฏขึน
้ ดวย
้
์ ป
ความเร็ว 20-1000มิลลิวน
ิ าที จากนั้นตามดวย
้
mask และคาศั พทอี
์ กชุด
ผลการทดลองพบวา่ กลุมที
่ ภ
ู าพทีแ
่ รกทีม
่ ค
ี วาม
่ ด
เชือ
่ มโยงกับคาทีส
่ องจะตอบสนองตอค
่ าศั พทได
้ วกวา่
์ เร็
การมีสติระลึกรู้ในฐานะ
โครงสร้างทาง
วิทยาศาสตร์
การนอนหลับ(Sleep)
• ระยะที่ 1 เมือ
่ คุณเขาสู
่ งั ไมสนิ
้ ่ การหลับทีย
่ ท(ระยะที่
หนึ่ง) หัวใจจะเตนช
่ นไปจาก
้ ้าลง. การหายใจจะเปลีย
ปกติมากขึน
้ . กลามเนื
้อรางกายจะผ
อนคลาย.
นี้
้
่
่
อาจจะกระตุนให
้อกระตุกทีเ่ รียกวา่ Hipnik
้
้กลามเนื
้
jerk(นี่เป็ นเรือ
่ งปกติไมต
นใคร
่ องแปลกใจหากคนเห็
้
บางคนมีอาการกระตุกเป็ นบางครัง้ ขณะหลับ). ในการ
หลับระยะทีห
่ นึ่งเครือ
่ ง EEG จะสรางเส
่ เล็ก
้
้ นคลืน
และไมสม
่ แอลฟา(Alpha
่ า่ เสมอเป็ นส่วนใหญกั
่ บคลืน
wave). หลายคนทีต
่ น
ื่ อยูในช
่
่ วงนี้อาจพูดไดหรื
้ อ
ไมได
บแลว.
่ ว
้ าเขาหลั
่
้
• ระยะที่ 2 ขณะทีห
่ ลับลึกลงกวาเดิ
่ ม อุณหภูมริ างกาย
่
ลดลงมากขึน
้ . เครือ
่ ง EEG เริม
่ ตนเพื
อ
่ รวมเส้นแสดง
้
ระยะการหลับ(sleep spindles)ซึง่ เป็ นการทางาน
• ระยะที่ 3 ในระยะทีส
่ าม คลืน
่ สมองแบบใหมและคลื
น
่
่
เดลตา(Delta
wave)จะเริม
่ ปรากฏขึน
้ . คลืน
่ เดลตามี
้
้
ขนาดใหญและช
่
้า. มันเป็ นสั ญญาณของการหลับที่
ลึกขึน
้ และรูสึ้ กตัวน้อยลง.
• ระยะที่ 4 คนส่วนใหญหลั
่ บลึก(Deep sleep-ระดับลึก
ทีส
่ ุดของการหลับปกติ) ในเวลาราวหนึ่งชัว
่ โมง. ระยะ
ทีส
่ ี่ คลืน
่ สมองเป็ นคลืน
่ เดลตาเกื
้ อบสมบูรณแบบ
์
และผู้หลับจะอยูในภาวะของการลื
ม. ถาคุ
่
้ ณทาเสี ยง
ดัง คนทีห
่ ลับจะตืน
่ ขึน
้ ดวยความรู
สึ้ กงุนงงและจา
้
เสี ยงดังไมได
่ .้
หลังจากใช้เวลาระยะหนึ่งในขัน
้ ทีส
่ ี่ ผู้หลับจะถอย
•
การหลับโดยที่ยงั กรอกตาและไม่กรอกตา(REMs and
NREM Sleep)
สภาวะการหลับแบงออกเป็
นสองประเภทคือ การหลับโดย
่
ทีย
่ งั มีการกรอกลูกตาไปมา(REMs Sleep) ซึง่ เกีย
่ วของกับ
การหลับและการหลับโดยไมมี
่ การกรอกตราไปมา(NREM
sleep) ซึง่ เกิดขึน
้ ในขัน
้ ที่ 1 2 3 และ4. การหลับโดยไมมี
่
การกรอกตาไปมาใส่เวลาราวเกาสิ
้ บเปอรเซ็
์ นตของการ
์
หลับ. โดยปกติแลว
ห
่ นึ่งจะ
้ การหลับในช่วงตนของระยะที
้
ยังไมมี
่ การกรอกตาไปมาและการฝัน. การถอยกลับมาสู่
ระยะทีห
่ นึ่งในครัง้ ถัดไปมักจะมาพรอมกั
บการกรอกตาไป
้
มา. การฝันในช่วงทีห
่ ลับโดยทีต
่ ากรอกไปมามีแนวโน้มที่
จะนานกวา่ ชัดเจนกวา่ มีรายละเอียดมากกวา่ พิสดาร
กวา่ เหมือนฝันมากกวาความคิ
ดหรือภาพซึง่ เกิดขึน
้ ใน
่
การหลับทีไ่ มมี
้ ทีข
่ องสมองที่
่ การกรอกตาไปมา. พืน
เกีย
่ วของกับจินตนาการและอารมณยังมีความเคลือ
่ นไหว
ระยะต่างๆของการหลับ
คลื่นสมองในขณะตื่นและหลับ
ทฤษฎีสมัยใหม่
เกี่ยวกับการมีสติระลึกรู้
การรับรู้ในภาวะมีสติร้ตู วั มีจากัด
การรับรู้ในภาวะมีสติร้ตู วั เป็ น
แบบเลือกรับรู้เหมือนสปอร์ตไลท์
การรับรู้ในภาวะมีสติร้ตู วั มีการ
ทางานเบือ้ งหลังซับซ้อนเหมือน
โรงละคร
Schacter’s model of
dissociable interaction and
Conscious Experience(DICE)
หน้ าที่ของการมีสติระลึกรู้
• หน้าทีด
่ านการให
้
้ความหมายและกาหนดบริบท(Definitional
and context-setting function)
• หน้าทีด
่ านการปรั
บตัวและเรียนรู้(Adaptation and learning
้
function)
• หน้าทีด
่ านการจั
ดลาดับความสาคัญและควบคุมการเขาถึ
้
้ ง
(Prioritizing and Access control)
• การสรรหาและควบคุมการทางานของกายและจิต
(Recruitment and Mental and physical action)
• หน้าทีด
่ านการตั
ดสิ นใจและการลงมือปฏิบต
ั (ิ Decision
้
making and executive function)
• หน้าทีด
่ านการตรวจจั
บและแกไขความผิ
ดพลาด(Error้
้
detection and editing function)
• หนาทีด
่ านการสะทอนและสั งเกตตนเอง(Reflective and self-
ความจา(Memo
ry)
ความจาจากการรับสัมผัส
(Sensory Memory)
ความจาจากการรับสัมผัส(Sensory Memory) คือ
ความจาทีเ่ กิดจากการทีอ
่ วัยวะรับสั มผัสรับรู้สิ่ งเรา้
และคงอยูชั
่ เวลาสั้ นๆกอนจะเสื
่ อสลายไปหากไมมี
่ ว
่
่ การ
จัดการ แบงออกได
เป็
่
้ น 2 ประเภทคือ
• ความจาแบบภาพติดตา(Iconic memory)
ความจาทีเ่ กิดจากการมองเห็ นภาพ ความจา
ประเภทนี้จะคงอยูเป็
่ นราวครึง่ วินาทีกอนจะสลาย
่
ไป
• ความจาแบบเสียงสะท้อน(Echoic memory)
เมือ
่ คุณไดยิ
้ นเสี ยง ความจาจากการรับสั มผัสจะ
เก็บมันไวในฐานะเอคโค
(Echo)เป็
นเวลาสอง
้
่
ความจาระยะสัน้ (Short-Term
Memory=STM)
ความจาระยะสั้ น หมายถึง
ขอมู
้ ลจานวนเล็กน้อยทีเ่ ราเก็บไว้ในลักษณะ
เตรียมพร้อมทีจ
่ ะใช้ในระยะเวลาสั้ น ๆ ช่วงหนึ่งประมาณ30 วินาที ขอมู
้ ล
ในความจาระยะสั้ นเป็ นขอมู
จจุบน
ั บางครัง้ จึงเรียก
้ ลทีเ่ รากาลังใช้อยูในปั
่
ความจาระยะสั้ นวา่ Working memory เป็ นขอมู
้ ลทีเ่ รากาลังใช้ความตัง้ ใจจด
จออยู
เรากาลังแปรเปลีย
่ นขอมู
่
่
้ ลนั้นและเรากาลังทบทวนซา้ ให้แกตั
่ วเรา
เองประโยชนของความจ
าระยะสั้ นคือการช่วยทาให้ขอมู
์
้ ลทีเ่ รารับเข้ามาเดิม
ยังคงอยูต
ระยะหนึ
่งโดยไมรบกวนต
อการรั
บรูข
ั จนกระทัง่
่ อไปได
่
้
่
่
้ อมู
้ ลปัจจุบน
เราสามารถรับรูข
ได
และตีความหมายได้
้ อมู
้ ลทีเ่ ขามาใหม
้
่ โดยตลอด
้
• การแปลงรหัสในความจาระยะสั้ น
ในการแปลงสิ่ งเราจากการจ
า
้
ความรู้สึ กสั มผัสไปอยูในรู
ปของความจาระยะสั้ นมีขน
้ั ตอนในการ
่
ดาเนินการอยู่ 2 ขัน
้ ตอน ไดแก
่ นแปลงและการ
้ ่ การทาการเปลีย
เก็บรักษาขอมู
่ นแปลงขอมู
้ ล การทาการเปลีย
้ ลมี 2 ประเภทคือ
effortful processing และ automatic processing effortful
processing คือการทีเ่ ราใช้ความพยายามทีจ
่ ะจดจาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่
เราตองการจดจ
า ส่วนautomatic processing ก็คอ
ื การจดจาทีเ่ กิดขึน
้
้
เองโดยไมต
่ องใช
้
้ความพยายาม
• รูปแบบเก็บขอมู
่ ลากหลายแตกตางกั
นออกไปขึน
้ อยูกั
้ ล มีรูปแบบทีห
่
่ บ
ความคงทนของความจาระยะสัน้
จากการศึ กษาพบว าความจาระยะสั้ นมีความคงทนอยู
ได ไม เกิน20 วินาที ก อนทีจ
่ ะหายไป
ขนาดของความจาระยะสัน้
George Miller ได ศึ กษาขีดจากัดทีม
่ นุ ษย สามารถ
จะจาได ในช วงความจาระยะสั้ น
จากการศึ กษา
พบว า ตัวเลขหรือตัวหนังสื อจานวน 7 ± 2 ตัว เป
นขีดจากัดสูงสุดทีม
่ นุ ษย สามารถจาได ในช วง
ความจาระยะสั้ นโดยใช คาว า Chunk แทนหน วย
พืน
้ ฐานในการเก็บข อมูล
Memory-Span Test
ความจาระยะยาว(Long-Term
Memory=LTM)
ความจาระยะยาว
ข้อมูลทีส
่ าคัญและมีความหมายจะโยกย้ายไปสู่ระบบความจาทีส
่ าม
ซึง่ เรียกวา่ ความจาระยะยาว เมือ
่ เปรียบเทียบ กับ STM ความจา
ระยะยาว (LTM) ทาหน้าทีเ่ สมือนคลังข้อมูลถาวร LTM บรรจุทุก
อยางที
เ่ รารูเกี
่ วกับ โลกเอาไว้ โดยความสามารถไมจ
่
้ ย
่ ากัดในการ
เก็บข้อมูล จึงไมมี
่ ข้อมูลหายไปจาก LTM ข้อมูลใน LTM ไมได
่ ้
เก็บในลักษณะของเสี ยงเหมือน STM แตเก็
บ
ข
อมู
ล
ไว
บนพื
น
้
ฐานของ
่
้
้
ความหมายและความสาคัญของข้อมูล เช่น ถาเราระลึ
กข้อมูลจาก
้
LTM ผิด ก็จะผิดทีค
่ วามหมาย ไมใช
่ องกั
นอยางใน
STM
่ ่ เสี ยงทีพ
้
่
ถาเราพยายามระลึ
กคาวา่ ยุ้งข้าว แตจ
ดวาเป็
้
่ าไมได
่ อาจคิ
้
่ นทุงนา
่
หรือโรงใส่ข้าวแตจะไม
คิ
ด
ว
าเป็
น
ยุ
งข
าว
่
่
่
้ ้
เมือ
่ มีข้อมูลใหมเข
่ ้าไปใน STM จะมีการเปรียบเทียบกับความรู้ทีเ่ ก็บ
สะสมไวใน
LTM ทาให้ข้อมูลใหมนี
ี วามหมาย และเก็บไวใน
้
่ ้มค
้
LTM ไดง้ ายขึ
น
้
่
ความจาคู่ (Dual Memory) ความจาทีเ่ ราใช้อยูทุ
่ กวันนี้เป็ นการ
ทางานควบคูกั
่ นของ STM และ LTM อาจเปรียบไดว
้ า่ ความจา
ระยะสั้ น เสมือนโต๊ะตัวเล็ก ๆ ทีอ
่ ยูข
มา
่ ้างหน้าคลังสิ นคาขนาดมหึ
้
ซึง่ เต็มไปดวยตู
ใส
่
้
้ ่ แฟ้ม ( เปรียบไดกั
้ บความจาระยะยาว) กอนที
่
ข้อมูลจะเข้าสู่ คลังสิ นคาต
โต
่ ยูข
แต่
้ องวางไว
้
้ ๊ ะทีอ
่ ้างหน้ากอน
่
เนื่องจากโต๊ะตัวเล็กจึงตองรี
บยกของออกเพือ
่ ให้ข้อมูลใหมเข
้
่ ้ามา
บากข้อมูลทีไ่ มส
่ ค
ี วามหมายหรือ
่ าคัญ จึงถูกโยนทิง้ ไป ข้อมูลทีม
ความจาที่เกิดจากการลงมือ
ปฏิบตั ิ
Procedural
memory
ความจาที่เกิดจากการลงมื
อปฏิบตั ิ (Procedural
memory) หมายถึง ความรูเกี
่ วกับกิจกรรมและ
้ ย
วิธก
ี ารปฏิบต
ั ท
ิ ก
ี่ ลายเป็ นอัตโนมัตเิ พราะการทาซา้ หรือ
การฝึ กปฏิบต
ั ิ ความจาประเภทนี้มก
ั จะทางานโดย
ปราศจากการมีสติระลึกรูหรื
้ อการวางแผนและดวยเหตุ
้
นี้จงึ เป็ นการยากทีจ
่ ะอธิบาย บอยครั
ง้ วิธก
ี ารทีด
่ ี
่
ทีส
่ ุดในการอธิบายความจาทีเ่ กิดจากการลงมือปฏิบต
ั ิ
คือการลงมือปฏิบต
ั ิ ตัวอยางของความจ
าดังกลาวนี
้
่
่
เช่น การรูจั
ี รี่ ถ วายน
้า ใช้คอมพิวเตอร ์
้ กวิธข
่
โทรศั พท ์ การเลนเครื
อ
่ งดนตรี
่
ความรูที
ั ม
ิ ี
้ เ่ กิดจากาความจาทีเ่ กิดจากการลงมือปฏิบต
แนวโน้มทีจ
่ ะคงอยูเป็
น
่
่ นเวลานาน ตัวอยางเข
่
่ เมือ
บุคคลเรียนรูวิ
ี จ
ี่ ะขับรถ แมว
อเธอจะไมได
้ ธท
้ าเขาหรื
่
่ ้
ขับรถเป็ นเวลาหลายปี แตความจาเกีย
่ วกับวิธก
ี ารขับ
ความจาเชิงอธิบาย(Declarative
memory)
ความจาเชิงอธิบาย (Declarative
memory) หมายถึง ความจาทีอ
่ งิ อยูกั
่ บ
ขอเท็
จจริงและอธิบายไดง้ าย
้
่
ขอเท็
จจจริงดังกลาวมั
กจะอิงอยูภาษา
้
่
่
มากกวาความจ
าทีเ่ กิดจาการลงมือปฏิบต
ั ิ
่
ความจาเชิงอธิบายยังถูกลืมไดง้ ายหากไม
่
่
ถูกนามาใช้อยูเสมอ
ความจาแบบอธิบาย
่
ยังแบงออกเป็
น 2 ประเภท คือ
่
• ความจาเกีย
่ วกับภาษา(Semantic
memory )
ความจาเกี่ยวกับความหมาย
(Semantic memory)
ความจาเกี่ยวกับความหมาย(Semantic memory)
คือ ความรู้เชิงขอเท็
จจริงเกีย
่ วกับสิ่ งรอบตัวของพวก
้
เราโดยทัว่ ไปแลวมั
ม. ชือ
่ ของวัตถุ
้ กจะทนตอการลื
่
สิ่ งของ สถานที่ บุคคล วันในรอบสั ปดาหหรื
์ อเดือน
ในรอบปี ทักษะพืน
้ ฐานดานคณิ
ตศาสตร ์ เหตุผล
้
คาหรือภาษา และขอเท็
จจริงอืน
่ ๆ. ขอมู
้
้ ลส่วนตัวทีเ่ กิด
จากส่วนของความจาระยะสั้ นเรียกวา่ semantic
memory. Semantic memory ทาหน้าทีเ่ สมือน
พจนานุ กรมของใจหรือสารานุ กรมความรูเบื
้ งตน.
้ อ
้
ความจาเกี่ยวกับเหตุการณ์
(Episodic memory
ความจาเกีย
่ วกับเหตุการณ(Episodic
memory) คือ
์
ความจาทีช
่ ่ วยให้เรานึกยอนเหตุ
การณท
ิ
้
์ าสาคัญในชีวต
ของเราได้ ความจาเกีย
่ วกับเหตุการณผนวกกั
บความจา
์
เกีย
่ วกับความหมายกอให
่
้เกิดความจาเชิงอธิบายอันเป็ น
ความจาระยะยาวประเภทหนึ่ง ซึง่ เปรียบเหมือน
สารานุ กรมในสมองของเรา
ความแตกตางที
ส
่ าคัญระหวางความจ
าเหตุการณและ
่
่
์
ความจาความหมายคือความจาเหตุการณคื
์ อความจา
เหตุการณเป็
่ ธิบายไดอย
ดเจน ขณะที่
์ นความจาทีอ
้ างชั
่
ความจาความหมายเกีย
่ วของกั
บความหมายและความคิด
้
รวบยอด(concept). ตัวอยางเช
่
่ น ความคิดรวบยอด
เกีย
่ วกับโต๊ะ จัดเป็ น ความจาความหมาย แตหากเมื
อ
่
่
บางคนพูดถึงโต๊ะอาหาร มันคือ ความจา Procedural
memory อาจเกีย
่ วของกั
บความจาเชิงอธิบาย(declarative
้
memory) ไดตั
่ บางคนขับรถ การจาวิธ ี
้ วอยางเช
่
่ น เมือ
สาเหตุของการลืม
• การศึ กษาเรืองการลืมของแอบบิงฮอสพบวาข
่ อมู
้ ลส่วนใหญจะ
่
ถูกลืมไปในช่วงเกาชั
ว
่
โมงแรกของการเรี
ย
นรู
จากนั
้
น
อั
ต
รา
้
้
การลืมจะคงที.่
• การไมลงรหั
ส(encoding) ขอมู
่
้ ล
• การเสื่ อสลายเพราะไมมี
่ การใช้งานเช่นในกรณีของความจา
ระดับอวัยวะรับสั มผัส(sensory memory )และความจาระยะ
สั้ น(STM) การเสื่ อสลายและการไมใช
่ ้งานเป็ นสาเหตุของการ
สูญเสี ยความจาระยะสั้ น
• บอยครั
ง้ การลืมมีสาเหตุมาจากตัวกระตุนการจ
าได(Cues)
่
้
้
พลังของตัวกระตุนจะกระตุ
นความจ
าไดมากแค
ไหนขึ
น
้ อยูกั
้
้
้
่
่ บ
การเรียนรูและความเชื
อ
่ ตอระหว
างอารมณ
และความจ
า.
้
่
่
์
• การลืมทีเ่ กิดขึน
้ ทัง้ ในความจาระยะสั้ นและความจาระยะยาว
ส่งผลตอกั
่ นและกัน
• เมือ
่ การเรียนรูล
้ าสุ
่ ดรบกวนการฟื้ นคืนของการเรียนรู้กอนหน
่
้า
นี้ การส่งผลรบกวนแบบ Retroactive จะเกิดขึน
้
• ถาการเรี
ยนรูเก
ยนรูใหม
้
้ ารบกวนการเรี
่
้
่ การรวบกวนแบบ