การฟัง

Download Report

Transcript การฟัง

สภาพความเป็ นจริงของการเรียนรู้
ข้ อสอบเน้ นการท่ องจาเนือ้ หา เด็กไม่ สามารถพัฒนาความเข้ าใจ
ในระดับที่ลกึ ซึ้งเพียงพอ
 กิจกรรมการเรียนรู้ ไม่ เน้ นประเด็นที่สาคัญ ขาดการลงมือปฏิบัติ
 การเรียนรู้ ไม่ เชื่อมโยงระหว่ างความรู้ ที่เรียนกับชีวต
ิ จริง
 Teach, Test and Hope for the Best
(สอน สอบ และไปตายเอาดาบหน้ า)

Rubric คืออะไร ?
เครื่องมือในการให้ คะแนน
ซึ่งประกอบด้ วยเกณฑ์ ด้านต่ าง ๆ
ที่ใช้ พจิ ารณาชิ้นงานหรือการปฏิบัติ
จุดประสงค์ ของการสร้ าง Rubrics
เพือ่ ประเมินกระบวนการ เช่ น
ประเมินการเรียนรู้เป็ นทีม , ประเมินการนาเสนอ
 เพือ่ ประเมินผลผลิต เช่ น
ประเมินแฟ้ มสะสมผลงาน, รายงานการวิจัย
,นิทรรศการ ฯลฯ

Rubric ประกอบด้ วย 2 ส่ วน คือ
1.เกณฑ์ทีใ่ ช้ประเมินการปฏิบตั ิหรือ
ผลผลิตของนักเรียน
2.ระดับคุณภาพหรือระดับคะแนน
ทาไมต้องใช้ Rubric ?
1.รู บริคช่ วยให้ นักเรียนตัดสิ นคุณภาพผลงาน
ของตนเองและของคนอืน่ ๆ อย่ างมีเหตุผล
2. รู บริคเป็ นเครื่องมือที่มีประสิ ทธิภาพมากทั้ง
ในการเรียนการสอนและ การประเมินช่ วย
ปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัตหิ รือการแสดงออก
ของนักเรียน
3.รู บริคช่ วยลดเวลาครู ในการประเมินงานของ
นักเรียน
4.รู บริคมีความยืดหยุ่น
คือ
มีระดับคุณภาพตั้งแต่ ดเี ยีย่ มจนถึงต้ อง
ปรับปรุง ทาให้ ครู นาไปใช้ กบั นักเรียนที่คละ
ความสามารถได้ คือ นาไปใช้ กบั นักเรียนที่เรียน
เก่งจนถึงนักเรียนที่เรียนอ่อน
5. รู บริคใช้ ง่ายและอธิบายได้ ง่าย
นักเรียนจะรู้ ชัดเจนว่ าเขาเรียนรู้ อะไรบ้ าง
ในปลายปี เขาก็จะประเมินได้ อย่ างถูกต้ อง
ผู้ปกครองก็เกิดความกระตือรือร้ น
และรู้ ชัดเจนว่ าลูกหลานจะต้ องทาอย่ างไร
เพือ่ ในประสบความสาเร็จ
ข้อดีของการใช้ Rubric
ข้ อดี 1 ผู้สอนสามารถเพิม่ คุณภาพการสอนได้ โดยตรง

โดยมีเป้าหมายจุดเน้ น และความตั้งใจทีร่ ายละเอียด
เฉพาะ เป็ นตัวอย่ างสาหรับนักเรียน นักเรียนมีแนวทาง
ทีช่ ัดเจนตามความคาดหวังของครู นักเรียนใช้ รูบริค
เป็ นเครื่องมือพัฒนาความสามารถของตน
ข้ อดี 2 ครูนารูบริคไปใช้ ซ้าได้ อกี ในกิจกรรมอืน่ ๆ
การให้ คะแนนแบบรู บริคมักใช้ ในการประเมิน
กิจกรรมกลุ่ม ประเมิน โครงการและการ
นาเสนอปากเปล่า
รูบริคมีกชี่ นิด ?
รูบริค มี 2 ชนิด คือ
แบบภาพรวม คือ ครู ต้องให้ คะแนนโดยดู
ภาพรวมของกระบวนการหรือผลงาน ไม่ แยก
พิจารณาเป็ นส่ วนๆ
แบบแยกส่ วน คือ นิยมใช้ เมื่อต้ องการเน้ นชนิด
หรือลักษณะเฉพาะของการตอบสนองครู จะให้
คะแนนแยกทีละส่ วนหรือทีละองค์ ประกอบ
ตัวอย่ าง Rubrics แบบภาพรวมเพือ่
ประเมินทักษะการเขียน
ระดับคะแนน
ลักษณะของงาน
ตัวอย่ าง Rubrics แบบแยกประเด็นย่ อย
โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์
ตัวอย่ าง การประเมินการทางานเป็ นทีม
เกณฑ์
ทักษะ
1
2
คะแนน
3
4
การช่ วยเหลือ:
ทาเป็ น
ครูสังเกตการให้ ความช่ วยเหลือซึ่ง ไม่ ทาเลย ทาเป็ นบางครั้ง
ส่ วนมาก
ทาทุกครั้ง
____
ทาเป็ น
ไม่ ทาเลย ทาเป็ นบางครั้ง
ส่ วนมาก
ทาทุกครั้ง
____
ทาเป็ น
ครูสังเกตการมีส่วนร่ วมในงานของ ไม่ ทาเลย ทาเป็ นบางครั้ง
ส่ วนมาก
ทาทุกครั้ง
____
กันและกัน
การฟัง:
ครูสังเกตการรับฟังซึ่งกันและกัน
ของนักเรียน
การมีส่วนร่ วม:
นักเรียนแต่ ละคน
การคล้อยตามกัน:
ครูสังเกตการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น
การขัดแย้ งและแสดงความคิดใหม่ ๆ ของ
นักเรียน
ไม่ ทำเลย
ทำเป็ นบำงครั้ง
ทำเป็ นส่ วนมำก
ทำทุกครั้ง
____
ไม่ ทำเลย
ทำเป็ นบำงครั้ง
ทำเป็ นส่ วนมำก
ทำทุกครั้ง
____
ไม่ ทำเลย
ทำเป็ นบำงครั้ง
ทำเป็ นส่ วนมำก
ทำทุกครั้ง
____
ไม่ ทำเลย
ทำเป็ นบำงครั้ง
ทำเป็ นส่ วนมำก
ทำทุกครั้ง
____
การซักถาม:
ครู สังเกตการมีปฏิสัมพันธ์ กัน การอภิปราย
ความเห็น และการตั้งคาถามของสมาชิกทั้งหมดใน
ทีม
การยอมรับนับถือ:
ครู สงั เกตการให้กาลังใจและการ
สนับสนุนความคิดเห็นและความพยายาม
ซึ่งกันและกันในทีม
การแบ่งปัน:
ครู สังเกตการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และข้อ
ค้นพบซึ่งกันและกันในทีม
กรอบการประเมินแบบบูรณาการ
โดยโครงงาน
ประเมินทักษะการแสวงหาความรู้
ขั้นที่ 1 การกาหนดปัญหา/การตั้งคาถาม
/กาหนดเป้ าหมาย
ขั้นที่ 2 การคาดคะเนคาตอบ/การสร้ างภาพในใจ
ขั้นที่ 3 การทดลอง/การลงมือปฏิบัติ/การรวบรวม
/กระบวนการทางาน
ขั้นที่ 4 การสรุปองค์ ความรู้
ขั้นที่ 5 การรายงานผล
ประเมินทักษะการคิด ร้ อยละ 20
ระดับ 1 การคิดเชิงเหตุผล (วิเคราะห์ /สั งเคราะห์
คิดเชิงมโนทัศน์ /คิดวิจารณญาณ)
ระดับ 2 การคิดเชิงสร้ างสรรค์
(จินตนาการ/คิดสร้ างสรรค์ )
ระดับ 3 คิดเชิงวิสัยทัศน์
ประเมินผลการบรรลุผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง
ทาเกณฑ์ แยกกล่ มุ สาระ การเรียนรู้
ร้ อยละ 60 /ภาคเรียน
ประเมินความพยายาม ร้ อยละ 20/ภาคเรียน