Self-directed learning, SDL.

Download Report

Transcript Self-directed learning, SDL.

การเรียนรู้โดยชี้นาตนเอง
Knowles (1975:18) ให้ความหมายของการเรี ยนรู้
แบบชี้ นาตนเองว่า เป็ นกระบวนการที่ บุคคลคิ ดริ เริ่ มเอง
ในการวินิจฉัยความต้องการในการเรี ยนรู้
กาหนด
จุ ด มุ่ ง หมาย เลื อ กวิ ธี การเรี ยนจนถึ ง การประเมิ น
ความก้าวหน้าในการเรี ยนรู ้ ทั้งนี้ โดยได้รับหรื อไม่ได้รับ
การช่วยเหลือจากผูอ้ ื่นก็ตาม
Knowles (1975) ให้ขอ้ คิดเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้โดยการ
ชี้นาตนเอง สามารถสรุ ปได้ดงั นี้
1. ผูท้ ี่เริ่ มเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง จะเรี ยนรู ้ได้มากกว่าและ
ดีกว่าผูท้ ี่รอรับจากผูอ้ ื่น ผูเ้ รี ยนที่เรี ยนรู ้โดยชี้นาตนเองจะ
เรี ยนอย่างตั้งใจ อย่างมีจุดมุ่งหมายและอย่างมีแรงจูงใจสูง
นอกจากนั้นยังใช้ประโยชน์จากการเรี ยนรู ้ได้ดีกว่าและ
ยาวนานกว่าผูท้ ี่รอรับความรู ้
2.การเรี ยนรู ้ โ ดยชี้ น าตนเอง สอดคล้ อ งกั บ การ
จิตวิทยาพัฒนาการ กล่าวคือ เด็กตามธรรมชาติตอ้ งพึ่งพิง
ผูอ้ ื่ นและต้องการผูป้ กครองปกป้ องเลี้ ยงดู และตัดสิ นใจ
แทน เมื่ อ เติ บ โตเป็ นผูใ้ หญ่ ก็ พ ฒ
ั นาขึ้ น ให้มี ค วามอิ ส ระ
พึ่งพิงจากภายนอกลดลง และเป็ นตัวเองจนมีคุณลัก ษณะ
การชี้นาตนเอง
3. นวัตกรรมใหม่ รู ปแบบของกิจกรรมการศึกษา
ใหม่ เช่น ห้องเรี ยนแบบเปิ ดศูนย์การเรี ยนรู้
independent study เป็ นต้น เป็ นรู ปแบบของกิจกรรม
การศึกษาที่เพิม่ บทบาทของผูเ้ รี ยน ให้ผเู้ รี ยนรับผิดชอบ
กระบวนการเรี ยนรู ้ของตนเองเพิม่ มากขึ้น ในลักษณะ
เรี ยนรู ้โดยชี้นาตนเองเพิม่ มากขึ้น
4.การเรี ยนรู ้ โ ดยชี้ นาตนเองเป็ นลัก ษณะการเรี ยนรู้
เพื่อความอยูร่ อดของมนุษย์ตามสภาพความเปลี่ยนแปลงที่
เกิ ดขึ้ นตลอดเวลาและทวีความรวดเร็ วมากขึ้ น
ตาม
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี การเรี ยนรู ้ โดยการชี้ นา
ตนเองเป็ นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวติ ของมนุษย์โลก
Brockett & Hiemstra (1991) สรุ ปประเด็นที่อาจยัง
มีผเู้ ข้าใจผิดพลาด เกี่ยวกับแนวคิดการเรี ยนรู ้โดยชี้นา
ตนเอง ดังนี้
1. การชี้นาตนเองเป็ นคุณลักษณะที่มีอยูใ่ นทุก
คน เพียงแต่จะมีมากหรื อน้อยเท่านั้น ขึ้นอยูก่ บั
สถานการณ์การเรี ยนรู้
2. บทบาทของผูเ้ รี ยน คือมีความรับผิดชอบในการ
เรี ย นรู ้ เ ป็ นหลัก ใหญ่ แ ละเป็ นผูท้ ี่ ต ัด สิ น ใจวางแผนและ
เลือกประสบการณ์การเรี ยนรู้ การดาเนินการตามแผนการ
ประเมิ นความก้าวหน้าของการเรี ยนรู ้ ทั้งหมดนี้ อาจ
เกิดขึ้นตามลาพัง หรื อเกิดในกลุ่มผูเ้ รี ยนกลุ่มเล็กหรื อกลุ่ม
ใหญ่ที่ผเู ้ รี ยนจะร่ วมรับผิดชอบในการเรี ยนรู ้ของเขา
3. คาว่าการชี้นาตนเองในการเรี ยนรู ้ หรื อการเรี ยนรู้
โดยการชี้นาตนเอง จะเน้นความรับผิดชอบของผูเ้ รี ยน
และเชื่อในศักยภาพที่ไม่สิ้นสุ ดของมนุษย์ (never-ending
potential of human)
4. การชี้นาตนเองในการเรี ยนรู ้ ก่อให้เกิดผลด้านบวก
ของการเรี ยนรู้ ตัวอย่างเช่น ผูเ้ รี ยนจดจาได้มากขึ้น เกิด
ความสนใจในการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ องและสนใจในเนื้อหา
มากขึ้น มีทศั นคติที่เป็ นบวกต่อผูส้ อนมากขึ้น มัน่ ใจใน
ความสามารถเรี ยนรู ้ได้ของตนเองมากขึ้น
5. กิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยการชี้นาตนเองมีหลากหลาย
รู้แบบ เช่น การอ่าน การเขียน การเสาะหาความรู้โดย
การสั ม ภาษณ์ การศึ ก ษาเป็ นกลุ่ ม ทัศ นศึ ก ษา การ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูเ้ ชี่ยวชาญหรื อผูส้ อน การหา
ความรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ หรื อแม้กระทัง่ การเรี ยนจาก
สื่ อ เช่น ชุดการเรี ยน โปรแกรมการเรี ยน โปรแกรมการ
เรี ยนของคอมพิวเตอร์ รวมทั้งสื่ อช่วยการเรี ยนรู ้ในรู ปอื่น
ๆ เป็ นต้น
6. ในการเรี ยนรู ้ โ ดยการชี้ น าตนเองที่ ป ระสบ
ผลสาเร็ จ ผูอ้ านวยความสะดวกจะต้องมีบทบาทในการ
ร่ วมปรึ กษา แลกเปลี่ยนความคิด เป็ นแหล่งความรู ้ตามที่
ผูเ้ รี ยนต้องการ มีความสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูเ้ รี ยน มีส่วนร่ วม
ในการถ่ายโอนบทบาทการเรี ยนการสอนและสนับสนุ น
ให้ผเู ้ รี ยนคิดอย่างแตกฉาน (critical thinking)
7.บทบาทการเรี ยนการสอนและสนับสนุ นให้ผเู้ รี ยน
คิดอย่างแตกฉาน (critical thinking)
8.การเรี ยนรู ้โดยการชี้นาตนเองสามารถเกิดขึ้นได้ใน
ประชาชนทุกหมู่เหล่า ไม่จากัดพียงกลุ่มใด เชื้อชาติใด
เท่านั้น
9.หากผูส้ อนให้ความไว้วางใจแก่ผเู ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนส่ วน
ใหญ่ จ ะเรี ยนรู ้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ แ ละทุ่ ม เทในการเรี ยนรุ ้ เ พื่ อ
คุณภาพ
10. การเรี ยนรู ้โดยการชี้นาตนเอง ไม่สามารถ
แก้ปัญหาในการเรี ยนรู ้ได้ทุกปั ญหา ในบางกรณี อาจมี
ข้อจากัดบ้าง เช่น ในบางสังคมและวัฒนธรรม
Ralph G. Brockett and Roger Hiemstra ได้เสนอ
องค์ประกอบเพื่อความเข้าในในกรอบแนวคิดของการชี้นา
ตนเองในการเรี ยนรู ้ของผูใ้ หญ่ (Self-Direction in Adult
Learning) โดยเรี ยนว่า The PRO Model : The Personal
Responsibility Orientation โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ความรับผิดชอบในตัวบุคคล (personal
responsibility) หมายถึง การกระตุน้ เพื่อให้เกิดความ
ตระหนักในความจะเป็ นที่จะต้องมีการเรี ยนรู้ และ
ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความรับผิดชอบในตนเองในการที่จะ
ตัดสิ นใจเรี ยนรู้ การวางแผนการเรี ยนรู้ การดาเนินงาน
และการประเมินตนเองในการเรี ยนรู้
2. ผู้เรียนทีม่ ลี กั ษณะชี้นาตนเอง (learner selfdirection) หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะตัว หรื อ
บุคลิกภาพของผูเ้ รี ยนที่เอื้อและสนับสนุนให้เกิดการเรี ยนรู ้
โดยการชี้นาตนเอง ซึ่ งเป็ นลักษณะเฉพาะที่เกิดจากภายใน
ตัวของผูเ้ รี ยนเอง
3. ผู้เรียนทีม่ ลี กั ษณะชี้นาตนเอง (learner selfdirection) หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะตัว หรื อ
บุคลิกภาพของผูเ้ รี ยนที่เอื้อและสนับสนุนให้เกิดการเรี ยนรู ้
โดยการชี้นาตนเอง ซึ่ งเป็ นลักษณะเฉพาะที่เกิดจากภายใน
ตัวของผูเ้ รี ยนเอง
4. การเรี ยนรู้ โดยการชี้ นาตนเอง (self-directed
learning) หมายถึง กิจกรรมที่เกิดขึ้นในการเรี ยนรู ้โดย
การชี้นาตนเอง ซึ่ งอาจเกิดจากการจัดการของผูส้ อน หรื อ
การวางแผนการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนเอง แต่ความสาคัญของ
ผูส้ อนนั้นจะเป็ นเพียงผูค้ อยช่วยเหลือ เสนอแนะ แนะนา
หรื ออานวยความสะดวกในการเรี ยนรู ้เท่านั้น ส่ วนการ
ดาเนิ นกิจกรรมการเรี ยนทั้งหมดนั้นจะเป็ นการดาเนิ นการ
โดยผูเ้ รี ยนทั้งสิ้ น
5. ปัจจัยแวดล้ อมทางสั งคม ( The Social Context )
หมายถึง การคานึงถึงสภาพแวดล้อมทางสังคมของผูเ้ รี ยน
ซึ่ งผูเ้ รี ยนยังคงสภาพความเป็ นอยูจ่ ริ งในสังคมเช่น สภาพ
ครอบครัว การทางาน สิ่ งแวดล้อม ฯลฯ
6. กระบวนการเรียนรู้ โดยการชี้นาตนเอง
Knowles (1975) ได้อธิ บายถึงกระบวนการของการชี้นา
ตนเอง ( self – direction ) ว่าประกอบด้วย
6.1 เกิดจากความริ เริ่ มในตัวของบุคคลโดยจะมี
ความช่วยเหลือจากคนอื่นหรื อไม่กต็ าม
6.2 วิเคราะห์ความต้องการในการเรี ยนรู้
6.3 คิดวิธีการในการเรี ยนรู้เพื่อไปยัง
จุดมุ่งหมาย
6.4 เลือกแหล่งทรัพยากรเพื่อการเรี ยนรู้
6.5เลือกและดาเนินการตามวิธีการและ
ยุทธศาสตร์ในการเรี ยนรู้
6.6ทาการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
กริ ฟฟิ น (Griffin, 1983: 153) ได้แบ่งรู ปแบบการ
เรี ยนรู ้โดยการชี้นาตนเองออกเป็ น 5 รู ปแบบดังนี้
1. รู ปแบบการเรี ยนรู้โดยใช้สญ
ั ญาการเรี ยนรู้
(learning contract) เป็ นเครื่ องในการเรี ยนด้วยตนเองตาม
แนวความคิดการเรี ยนเป็ นกลุ่มของโนลส์ (the Knowles
group learning stream)
2. รู ปแบบการใช้โครงการเรี ยนรู้ (learning
project) เป็ นตัวบ่งชี้การมีส่วนในการเรี ยนรู ้ดว้ ยการชี้นา
ตนเองตามแนวคิดโครงการเรี ยนแบบผูใ้ หญ่ของทัฟ (the
Tough adult learning project stream)
3.รู ปแบบการใช้บทเรี ยนสาเร็ จรู ป (individualized
program instruction) ตามแนวคิดของสกินเนอร์
(Skinner) แต่เป็ นการเรี ยนรู ้ที่เกิดจากการนาของครู
(teacher-directed learning)
4. รู ปแบบที่ไม่ใช่การจัดการเรี ยนการสอนทัว่ ไป
(non-traditional institutional) ได้แก่กลุ่มผูเ้ รี ยนที่เรี ยนโดย
สมัครใจ หวังที่จะได้ความรู้ เช่น การศึกษาที่จดั ขั้น
สาหรับบุคคลภายนอกให้ได้รัยประกาศนียบัตร การศึกษา
ที่เป็ นหน่วยประสบการณ์ชีวติ เป็ นต้น
5. รู ปแบบการเรี ยนรู้ประสบการณ์ชีวติ (experiential
learning)
เบาวด์ (Boud, 1982: 12) ได้สรุ ปรู ปแบบการเรี ยนรู้
โดยการชี้นาตนเองไว้วา่ มี 5 รู ปแบบดังนี้
1. การเรี ยนรู้แบบใช้สญ
ั ญาการเรี ยนรู้ (learning
contracts) การเรี ยนแบบนี้ผเู ้ รี ยนวางแผนโดยเขียนสัญญา
เป็ นลายลักษณ์อกั ษร รวมทั้งวิธีการวัดประเมินผลซึ่งจะมี
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานกับเป้ าหมายที่
กาหนดไว้ในสัญญาจากผูร้ ่ วมงาน
2.การเรี ยนแบบการทางานตัวต่อตัว (one-to-one
learning) การเรี ยนแบบนี้ผเู ้ รี ยนทางานเป็ นคู่ช่วยอานวย
ความสะดวกซึ่ งกันและกันในการทางาน
3.การเรี ยนแบบวางแผนการทางานโดยผูเ้ รี ยน
(student planned courses) การเรี ยนแบบนี้นกั เรี ยนทางาน
เป็ นกลุ่มในการริ เริ่ มโครงการและนาสู่ การปฏิบตั ิ
4.การเรี ยนแบบมีระบบสนับสนุนจากเพื่อน (peer
support systems) การเรี ยนแบบนี้ผเู ้ รี ยนที่เริ่ มใหม่ได้รับ
ความช่วยเหลือจากผูเ้ รี ยนที่มีประสบการณ์มากกว่า
5.การเรี ยนแบบร่ วมมือกันประเมิน (collaborative
assessment) การเรี ยนแบบนี้ผเู ้ รี ยนร่ วมมือกันกาหนด
เกณฑ์ในการประเมิน และตัดสิ นผูเ้ รี ยนด้วยกัน
โกรว์ (Grow, 1991: 144-145) เสนอรู ปแบบการ
เรี ยนรู ้โดยการชี้นาตนเองตามขั้นตอน (staged selfdirected learning model: SSDL) ไว้โดยมีข้ นั ตอน 4
ขั้น ได้แก่
1. ครู นาโดยการชักจูง อธิบาย หรื อให้ลองฝึ กหัด
2. ครู จูงใจให้ผเู้ รี ยนสนใจโดยการบรรยาย การ
อภิปรายโดยครู เป็ นผูน้ า ให้ต้ งั เป้ าหมายและกาหนดกล
ยุทธวิธีการเรี ยน
3. นักเรี ยนเรี ยนโดยครู เป็ นผูอ้ านวยความสะดวกใน
การเรี ยน อภิปรายกลุ่ม หรื อจัดสัมมนา
4. นักเรี ยนชี้นาตนเองโดยครู เป็ นที่ปรึ กษา ทาได้โดย
การลองฝึ กด้วยตนเอง เช่น การฝึ กงาน การค้นคว้า การ
ทางานรายบุคคล หรื องานกลุ่ม
- ชัยฤทธิ์ โพธิ สุวรรณ. การศึกษาผูใ้ หญ่ : ปรัชญา
ตะวันตกและการปฏิบตั ิ. กรุ งเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2544.
- Ralph G. Brockett and Roger Hiemstra. SelfDirection in Adult Learning. London and New York:
Routledge, 1991.
1. Knowles ให้ความหมายของการเรี ยนรู ้แบบชี้นา
ตนเองว่าอย่างไร
2. องค์ประกอบของการเรี ยนรู ้โดยชี้นาตนเองมีกี่
ประการ อะไรบ้าง
3. Griffin ได้แบ่งรู ปแบบการเรี ยนรู ้โดยการชี้นา
ตนเองออกเป็ นกี่รูปแบบ ได้แก่
4. Boud ได้สรุ ปรู ปแบบการเรี ยนรู ้โดยการชี้นาตนเอง
ไว้วา่ มี 5 รู ปแบบได้แก่
5. Grow เสนอรู ปแบบการเรี ยนรู ้โดยการชี้นาตนเอง
ตามขั้นตอน ไว้โดยมีข้ นั ตอน 4 ขั้น ได้แก่