การเรียนรู้ตามแนวคิดของทฤษฎีสรรคนิยม

Download Report

Transcript การเรียนรู้ตามแนวคิดของทฤษฎีสรรคนิยม

มหาวิทยาลัยนครพนม
การเรียนรูต้ ามแนวคิดของทฤษฎีสรรคนิยม
CONSTRUCTIVISM
เสนอ อาจารย์ สุวสิ าข์ เหล่าเกิด
Constructivism

Constructivism เป็ นปรัชญาการศึกษาที่ต้ งั อยูบ่ นฐานความเชื่อที่วา่
ผูเ้ รี ยนสามารถสร้างความรู ้ได้ดว้ ยตนเอง ซึ่งความรู ้น้ ีจะฝังติดอยูก่ บั คน
สร้าง ดังนั้นความรู ้ของแต่ละคนเป็ นความรู ้เฉพาะตัวเป็ นสิ่ งที่ตนสร้าง
ขึ้นเองเท่านั้น โดยนักเรี ยนจะเป็ นผูก้ าหนดหรื อมีส่วนร่ วมในการ
กาหนดสิ่ งที่จะเรี ยนและวิธีการเรี ยนของตนเอง และเป็ นผูต้ ดั สิ นว่า
ตนเองจะได้เรี ยนรู ้อะไร เรี ยนรู ้อย่างไรและพัฒนาการเรี ยนรู ้ของตนเอง
อย่างไร สามารถนาสิ่ งที่เรี ยนรู ้ไปใช้ในบริ บทอื่นได้อย่างเหมาะสม
เรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิมีอิสระและเรี ยนรู ้บรรยากาศการเรี ยนที่มีการ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ภายใต้การอานวยความสะดวกของครู
ความหมายนักคิดที่สาคัญ

ปรัชญาการเรี ยนรู ้ที่เรี ยกกันในปัจจุบนั ว่า Constructivism เกิดขึ้นใน
ศตวรรษที่ 18 โดยนักปรัชญาชาวอิตาเลียนนาม Giambattista Vico ได้
บันทึกไว้วา่ มนุษย์จะเข้าใจอย่างถ่องแท้ในสิ่ งที่ตนสร้างขึ้นเอง
เท่านั้น เนื่องจากแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีสรรคนิยมมีหลายแบบ
แนวคิดของคนหนึ่งอาจจะแตกต่างจากอีกคนหนึ่ง การกล่าวถึงทฤษฎี
สรรคนิยมจึงจาเป็ นต้องพิจารณาให้ชดั เจนว่าทฤษฎีสรรคนิยมที่แต่ละ
คนกล่าวนั้นหมายความว่าอย่างไร มีนกั คิดที่สาคัญดังต่อไปนี้
นักคิดที่สาคัญ
Von Glasersfeld เสนอเกี่ยวกับการเรียนรูใ้ นมุมมองของ
ทฤษฎีสรรคนิ ยม (Constructivist) ว่านักเรียนสร้างความรูโ้ ดย
กระบวนการคิดของตนเอง
 Piaget เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมามีความพร้อมที่จะมี
ปฏิสมั พันธ์กบั สิ่งแวดล้อม และโดยธรรมชาติมนุ ษย์เป็ นผูพ้ ร้อมที่จะ
มีกริยากรรม หรือเริ่มกระทาก่อน
 Bruner เชื่อว่า การเรียนรูจ
้ ะเกิดขึ้ นต่อเมื่อ ผูเ้ รียนได้ประมวล
ข้อมูลข่าวสาร จากการที่มีปฏิสมั พันธ์กบั สิ่งแวดล้อม และสารวจ
สิ่งแวดล้อม การรับรูข้ องมนุ ษย์ขึ้นกับสิ่งที่เลือกจะรับรู ้ โดยอยูก่ บั
ความสนใจของผูเ้ รียน มีความอยากรูอ้ ยากเห็นเป็ นแรงผลักดันให้
เกิดพฤติกรรมสารวจสภาพสิ่งแวดล้อม และเกิดการเรียนรูโ้ ดยการ
ค้นพบ

นักคิดที่สาคัญ

Fosnot อธิบายว่าความรูเ้ ป็ นสิ่งชัว่ คราวมีการเปลี่ยนแปลงได้และมีการ
พัฒนาอาศัยสื่อกลางทางสังคมและวัฒนธรรม ส่วนการเรียนรูเ้ ป็ นกระบวนการ
ที่สามารถ ควบคุมได้ดว้ ยตนเอง โดยต้องต่อสูก้ บั ความขัดแย้งระหว่างความรู ้
เดิมกับความรูใ้ หม่ที่แตกต่างกับความรูเ้ ดิม ซึ่งเป็ นการสร้างความรูใ้ หม่ โดยมี
หัวใจสาคัญ 4 ข้อ คือ
1. ความรู ้ คือรูปธรรม ที่สร้างโดยผูเ้ รียน ผูซ้ ึ่งเอาใจใส่กระตือรือร้นในการ
เรียน
2. ความรูค้ ือสัญลักษณ์ ที่สร้างโดยผูเ้ รียน ผูซ้ ึ่งสร้างบทบาทการแสดงออก
ด้วยตัวเอง
3. ความรูค้ ือสังคมที่ถูกสร้างโดยผูเ้ รียน ผูซ้ ึ่งคอยส่งความหมายที่สร้างขึ้ นสู่
บุคคลอื่น
4. ความรูค้ ือเหตุผลที่ถูกสร้างโดยผูเ้ รียน ผูซ้ ึ่งพยายามอธิบายสิ่งที่ยงั ไม่เข้าใจ
ทั้งหมด
สรุ ปความหมาย Constructivism

สรุ ปคือ Constructivism เชื่อว่าความจริ งอยูใ่ นหัวสมองของคนมากกว่า
ที่จะมีที่อยูท่ ี่อื่น คนสร้างสิ่ งที่เรี ยกว่าความจริ งหรื ออย่างน้อยก็สร้าง
ความหมายของความจริ งขึ้นมาบนพื้นฐานจากประสบการณ์ส่วนตัว
ของแต่ละคน หรื อเกี่ยวข้องกับการสร้างความรู ้ของมนุษย์จาก
ประสบการณ์ จากโครงสร้างในหัวสมอง (ภาพในใจ) และจากความเชื่อ
ซึ่งใช้แปลความหมายเกี่ยวกับสิ่ งต่าง ๆ ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร หัวสมอง
สร้างโลกส่ วนตัวของแต่ละคนขึ้นมา ดังนั้นไม่มีโลกของใครที่จะ
เหมือนจริ งที่สุด ไม่มีความจริ งและไม่มีแก่นแท้ที่เป็ นรู ปธรรม
ลักษณะการเรียนรู้ ตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม
การเรียนรู้เป็ นกระบวนการทีน่ ักเรียนแก้ปัญหาหรือสื บสอบเพิม่ เติม เพื่อลด
ความขัดแย้งทางความคิดของตนเอง
 การเรี ยนรู้ เป็ นกระบวนการทางสั งคม นักการศึกษาหลายท่าน อธิ บายการ
เรี ยนรู ้ตามแนวคิดนี้วา่ เกิดจากการปฏิสมั พันธ์กนั ทางสังคมซึ่งอธิบายผล
จากการร่ วมมือกันทางสังคมไว้วา่ ความรู ้สามารถถ่ายโอนจากบุคคลหนึ่ง
ไปยังอีกบุคลหนึ่งได้
 การเรี ยนรู้ เป็ นกระบวนการกากับตนเองของนักเรี ยน นั กการศึกษาเชื่อว่า
การกากับตนเองเป็ นองค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู ้

การจัดการเรียนรูต้ ามทฤษฎี Constructivism
เนื่องจากทฤษฎีสรรคนิยม ไม่ใช่วิธีสอน จึงใช้การตีความทฤษฎีแล้ว
จึงนาไปใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ดังนั้นแนวคิดในการจัดการเรี ยนการ
สอนตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม จึงมีหลากหลาย สามารถประมวลได้ดงั นี้
 กระตุน
้ ให้นกั เรี ยนใช้มุมมองที่หลากหลายในการนาเสนอความหมายของ
มโนทัศน์
 ครู แสดงบทบาทเป็ นผูช
้ ้ ีแนะ ผูก้ ากับ ผูฝ้ ึ กฝน
 ให้นก
ั เรี ยนได้เรี ยนรู ้งานที่ซบั ซ้อน ทักษะ และความรู ้ที่จาเป็ นจากการลงมือ
ปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง
 วัดผลการเรียนรูข
้ องนักเรียนตามสภาพที่เป็ นจริงขณะดาเนิ นกิจกรรมการ
เรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบ่ งเป็ น 5 ขั้นตอนดังนี้
่ หมายและมี
 ขั้นนา (orientation) เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนจะรับรู ้ถึงจุดมุง
แรงจูงใจในการเรี ยนบทเรี ยน
 ขั้นทบทวนความรู้ เดิม (elicitation of the prior knowledge) เป็ นขั้นที่
ผูเ้ รี ยนแสดงออกถึงความรู ้ความเข้าใจเดิมที่มีอยูเ่ กี่ยวกับเรื่ องที่จะเรี ยน
 ขั้นปรั บเปลีย
่ นความคิด (turning restructuring of ideas) มี 3 ขั้นตอน
ย่อยดังนี้
- ทาความกระจ่างและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ระหว่างกันและกัน
- การสร้างความคิดใหม่
- ประเมินความคิดใหม่
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาความคิดไปใช้ (application of ideas) เป็ นขั้นตอนที่ผเู ้ รี ยนมี
โอกาสใช้แนวคิดหรื อความรู ้ความเข้าใจที่พฒั นาขึ้นมาใหม่ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ
 ขั้นทบทวน (review) เป็ นขั้นตอนสุ ดท้าย ผูเ้ รี ยนจะได้ทบทวนว่า
ความคิด ความเข้าใจของเขาได้เปลี่ยนไป โดยการเปรี ยบเทียบความคิด
เมื่อเริ่ มต้นบทเรี ยนกับความคิดของเขาเมื่อสิ้ นสุ ดบทเรี ยน

ข้ อเปรียบเทียบบรรยากาศการเรียนแบบปกติกบั
การเรียนตามแนวทฤษฎี Constructivism
การสอนตามแนวการสร้ างองค์ ความรู้
(constructivist classroom)
การสอนแบบปกติ
(traditional classroom)
หลักสู ตรมีลกั ษณะเริ่ มจากส่ วนใหญ่
ทั้งหมดไปสู่ ส่วนย่อย โดยเน้นความคิด
รวบยอดใหญ่
การให้นกั เรี ยนคิดตั้งคาถามขึ้นเองเป็ นสิ่ ง
ที่มีคุณค่า
หลักสู ตรมีลกั ษณะเริ่ มจากส่ วนย่อยไปสู่
ส่ วนใหญ่ท้ งั หมด โดยเน้นทักษะพื้นฐาน
นักเรี ยนทางานเป็ นกลุ่มเป็ นพื้นฐาน
นักเรี ยนทางานตามลาพังเป็ นพื้นฐาน
การเรี ยนการสอนยึดตามหลักสูตร เป็ น
สิ่ งที่มีคุณค่าสู ง
บทบาทของนักเรี ยน
จากการศึกษาเอกสารสามารถประมวลบทบาทของครู และนักเรี ยน
ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้ทฤษฎีสรรคนิยม บทบาท
ของครู และนักเรี ยนโดยรวมจะมีลกั ษณะดังนี้
 ผูเ้ รี ยนลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning are active)
 ให้ความสาคัญกับการควบคุมตนเองตามระดับของผูเ้ รี ยน (Focuses
control at the leaner level)
 นาเสนอประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่ตรงกับสภาพที่เป็ นจริ งหรื อ
ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ในชีวิตจริ ง (Provides authentic,real-world
learning experiences)
สรุ ป

ทฤษฎีสรรคนิยม Constructivism เป็ นทฤษฎีที่วา่ ด้วยการสร้างความรู ้
ได้มีการเปลี่ยนจากเดิมที่เน้นการศึกษาปัจจัยภายนอกมาเป็ น สิ่ งเร้า
ภายใน ซึ่งได้แก่ ความรู ้ความเข้าใจ หรื อกระบวนการรู ้คิด กระบวนการ
คิด(Cognitive processes) ที่ช่วยส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้
คาถามท้ายบท





ปรัชญาการเรี ยนรู ้ที่เรี ยกกันในปัจจุบนั ว่า Constructivism เกิดขึ้นในศตวรรษ
ใด
Fosnot อธิบายว่าการเรี ยนรู ้เป็ นกระบวนการที่สามารถ ควบคุมได้ดว้ ย
ตนเอง โดยต้องต่อสู ้กบั ความขัดแย้งระหว่างความรู ้เดิมกับความรู ้ใหม่ที่
แตกต่างกับความรู ้เดิม ซึ่งเป็ นการสร้างความรู ้ใหม่ โดยมีหวั ใจสาคัญ 4 ข้อ
ได้แก่อะไรบ้าง
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้มีกี่ข้นั ตอน อะไรบ้าง
ให้บอกข้อเปรี ยบเทียบบรรยากาศการเรี ยนแบบปกติกบั การเรี ยนตามแนว
ทฤษฎี Constructivism มาอย่างน้อย 2 ข้อ
ให้สรุ ปเนื้อหาที่ได้จากการศึกษาเรื่ องการเรี ยนรู ้ตามแนวคิดของทฤษฎีสรรค
นิยม (Constructivism) มาพอสังเขป
ขอจบการนาเสนอเพียงเท่านี้
ขอบคุณครับ