การศึกษาไทย

Download Report

Transcript การศึกษาไทย

การศึกษาไทย
วิสยั ทัศน์
(vision) เป็ นการวางอนาคต
ที่พงึ ประสงค์ อุดมการณ์ ผ่านกระบวนการคิด
การสังเคราะห์ วิเคราะห์จากข้อมูลพื้นฐาน
กาหนดเป้าหมาย ขอบข่าย ภาระงาน เพือ่ นาไปสู่
การพัฒนาและประสบความสาเร็จ
วิสยั ทัศน์
กระบวนการกาหนดวิสยั ทัศน์
ของสถานศึกษา
1. สารวจข้อมูลสารสนเทศ
2. วิเคราะห์ผลกระทบจากปั จจัยต่าง ๆ
3. กาหนดวิสยั ทัศน์
4. ตรวจสอบวิสยั ทัศน์
สารวจข้อมูลสารสนเทศ
สารสนเทศทีจ่ าเป็ นต่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา เช่น สารสนเทศพื้นฐานของ
สถานศึกษา สารสนเทศทีเ่ กี่ยวกับผูเ้ รียน สารสนเทศเพื่อ
การบริหารงานวิชาการ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
สารสนเทศเพื่อการรายงาน
ตัวอย่างสารสนเทศ
สารสนเทศโรงเรียนเพือ่ การประกันคุณภาพการศึกษา
•ประวัติโรงเรี ยน
1.การก่อตัง…………………………………
้
2.สภาพปั จจุบนั ……………….……………..
3.ผู้บริหารโรงเรี ยน……………….…………..
•แผนที่ตงโรงเรี
ั้
ยน
(แสดงให้ เห็นชุมชนรอบสถานศึกษา วัด สถานที่สาคัญ ฯลฯ)
N
สภาพแวดล้ อมของโรงเรี ยน…………………………
…………………………………………..…
ลักษณะของชุมชน อาชีพ การคมนาคม วิถีชีวิตของบุคคลในชุมชน
……………………………………………
จุดเด่นของชุมชน………………………………
……………………………………………
จุดด้ อยของชุมชน……………………….………
……………………………………………
•แหล่งการเรี ยนรู้ และสถานที่สาคัญในชุมชนที่
โรงเรี ยนตังอยู
้ ่ (เช่น วัด/ ศาสนสถาน โบราณสถาน/
พิพิธภัณฑ์ แหล่งเรี ยนรู้ทางวิทยาศาสตร์ /ธรรมชาติ
ห้ องสมุด ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ฯลฯ)
•อาชีพและรายได้ เฉลี่ยต่อเดือนของผู้ปกครอง
แผนผังอาคารสถานที่ของโรงเรียน
•จำนวนอำคำร-สถำนที่จำแนกตำมประเภท
•แผนภมู โิ ครงสร้ ำงกำรบริหำร
โรงเรี ยน
•จำนวนบุคลำกร จำแนกตำมเพศ
•จำนวนผู้บริหำร และครูประจำ จำแนกตำมอำยุ
(ปี )
•จำนวนผู้บริหำร ครูและบุคลำกร จำแนกตำมวุฒิ
•จำนวนผู้บริหำร ครู จำแนกตำมชั่วโมงที่สอน (ชม./
สัปดำห์ )
•จำนวนนักเรียน จำนวนห้ องเรียน จำแนกตำมระดับ
กำรศึกษำ
ปี กำรศึกษำ …………………………..
•จำนวนผู้สำเร็จกำรศึกษำ ปี กำรศึกษำที่ผ่ำนมำ จำแนกตำมกำร
เรียนต่ อ/กำรประกอบอำชีพ
•งบประมาณ
รำยรับ
เงินงบประมาณ
เงินบารุงการศึกษา (โรงเรี ยนรัฐ) /
รายได้ (โรงเรี ยนเอกชน)
เงินบริ จาค
เงินอื่น ๆ (ระบุ)
บาท
บาท
บาท
บาท
รำยจ่ ำ
ย
•ตำรำงแสดงพืน้ ที่บริกำรของโรงเรี ยน
•ตำรำงแสดงอัตรำกำรมำเรียนของนักเรียนแต่ ละชัน้ ต่ อภำค
เรียน
•กรำฟแสดงสถิตกิ ำรลำกิจ ลำป่ วย ของครู นักเรียน
บุคลำกร
•ตำรำงเปรียบเทียบนำ้ หนัก ส่ วนสูงของนักเรียน ระดับก่ อน
ประถมศึกษำกับเกณฑ์ ของกรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุข
ตำรำงแสดงส่ วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนระดับก่ อนประถมศึกษำ
เทียบกับส่ วนสูงเฉลี่ยตำมเกณฑ์ ของกรมอนำมัย กระทรวง
สำธำรณสุข
•ตำรำงแสดงควำมพร้ อมของนักเรียนระดับก่ อนประถมศึกษำ จำแนก
ตำมชัน้ และพัฒนำกำร
•ตำรำงแสดงผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษำและ
มัธยมศึกษำ
กรณีท่ ีโรงเรี ยนมีนักเรี ยนแต่ ละชัน้ มำกกว่ ำ 1 ห้ องเรี ยน อำจนำเสนอในรู ปแบบตำรำง
•วิสัยทัศน์ ของสถำนศึกษำ
•พันธกิจและแผนยุทธศำสตร์
วิเคราะห์ผลกระทบจากปั จจัยต่าง ๆ
นาข้อมูลสารสนเทศไปวิเคราะห์ผลกระทบ
ด้วยเทคนิค SWOT Analysis
การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง
(SWOT Analysis)
ปัจจัยภายใน
จุดแข็ง
จุดอ่อน
(strengths) (weakness)
ปัจจัยภายนอก
ช่ องทางและ
อุปสรรค
(threats)
โอกาสแห่ ง
ความสาเร็จ
(opportunities)
ตัวอย่ าง
จุดแข็ง
โรงเรี ยนมีที่ต้ งั ในบริ เวณชุมชน การเดินทาง
สะดวก
บุคลากรมีวฒ
ุ ิตรงและได้รับการพัฒนาอย่าง
สม่าเสมอ
จุดอ่ อน
โรงเรี ยนไม่มีบริ เวณจัดทาแหล่งการเรี ยนรู้
ภายนอกห้องเรี ยน
ตัวอย่ าง
ช่ องทางและโอกาส
บริ เวณใกล้โรงเรี ยนมีสวนสาธารณะและแหล่ง
ประกอบหลากหลายและมีความสัมพันธ์ที่ดีกบั โรงเรี ยน
อุปสรรค
ผูป้ กครองเปลี่ยนงานบ่อย ทาให้ตอ้ งย้ายนักเรี ยน
ออกจากโรงเรี ยน
ตัวอย่ าง
จุดแข็ง
โรงเรี ยนมีที่ต้ งั ในบริ เวณชุมชน การเดินทางสะดวก
บุคลากรมีวฒ
ุ ิตรงและได้รับการพัฒนาอย่างสม่าเสมอ
จุดอ่อน
โรงเรี ยนไม่มีบริ เวณจัดทาแหล่งการเรี ยนรู ้ภายนอกห้องเรี ยน
ช่องทางและโอกาส
บริ เวณใกล้โรงเรี ยนมีสวนสาธารณะและแหล่งประกอบ
หลากหลายและมีความสัมพันธ์ที่ดีกบั โรงเรี ยน
อุปสรรค
ผูป้ กครองเปลี่ยนงานบ่อย ทาให้ตอ้ งย้ายนักเรี ยนออกจากโรงเรี ยน
วิสยั ทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มุง่ พัฒนาผูเ้ รียน
ทุกคน ซึง่ เป็ นกาลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ทม่ี ีความสมดุลทัง้
ด้านร่างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจติ สานึกในความเป็ น
พลเมืองไทยและเป็ นพลโลก ยึดมัน่ ในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข มีความรู ้
และทักษะพื้นฐาน รวมทัง้ เจตคติ ทีจ่ าเป็ นต่อการศึกษาต่อ
การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมุง่ เน้นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญบนพื้นฐานความเชือ่ ว่า ทุกคนสามารถเรียนรูแ้ ละ
พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
ตัวอย่ างวิสัยทัศน์
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
วิสัยทัศน์ หลักสูตรสถำนศึกษำ
หลักสูตรโรงเรี ยนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เป็ นหลักสูตรมุง่
พัฒนาผู้เรี ยนทุกคนเป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู้ สูม่ าตรฐานสากลและเป็ นมนุษย์
ที่มีความสมดุล ทังร่้ างกาย ความรู้ คุณธรรม มีความเป็ นผู้นาของสังคมมี
จิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ นพลโลกโดยใช้ หลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ยึดมัน่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็ นประมุข มีความรู้และทักษะพื ้นฐานสามารถใช้ นวัตกรรม
และเทคโนโลยี รวมทังเจตคติ
้
ที่จาเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ
การศึกษาตลอดชีวิตโดยมุง่ เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ บนพื ้นฐานความเชื่อว่าทุก
คนสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้ เต็มศักยภาพ
โรงเรียนมหาไถ่ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วิสยั ทัศน์หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็ น
สถาบันการศึกษาขัน้ พื้นฐานทีผ่ เู ้ รียนมีพฒ
ั นาการและผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนสูงในสาระภาษาอังกฤษ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม และมีทกั ษะ
ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รูจ้ กั แสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง
รูจ้ กั การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล เป็ นผูม้ ีคณ
ุ ธรรม
จริยธรรม เป็ นคนดี คนเก่ง และสามารถดารงตนอยูใ่ นสังคมอย่าง
มีความสุข
ปัญหาชวนคิด วิสัยทัศน์
สื บค้นวิสยั ทัศน์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน และวิสยั ทัศน์หลักสูตรสถานศึกษา 1 แห่ง
วิเคราะห์ลกั ษณะของวิสยั ทัศน์ท้ งั สองประเภท ทั้ง
สิ่ งที่เหมือนและแตกต่างจัดทาเป็ นรายงานกลุ่ม
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2479
แผนการศึกษาชาติเริม่ ประกาศใช้ครัง้ แรก พ.ศ. 2479
ประกอบด้วย ความมุง่ หมายทัว่ ไป ระเบียบการศึกษา การศึกษาภาค
บังคับ และแนวการจัดการศึกษา
รัฐมุง่ หมายให้พลเมืองทุกคนได้รบั การศึกษา
การจัดการศึกษา แบ่งเป็ น
พุธิศึกษา ให้มีปัญญาความรู ้
จริยศึกษา ให้มีศีลธรรมอันดี
พลศึกษา ให้มีรา่ งกายสมบูรณ์
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
ระดับการศึกษาแบ่งเป็ น
สามัญศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 1-4 มัธยมต้นปี ท่ี
1-3 และชัน้ มัธยมปลายปี ท่ี 4-6
อาชีวศึกษา
การเข้าเรียนอุดมศึกษา ต้องสาเร็จชัน้ เตรียม
อุดมศึกษา
ประถมศึกษาเป็ นการศึกษาภาคบังคับ
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2494
แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2494 ประกอบด้วย ความมุง่ หมาย
ระเบียบการศึกษา การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาพิเศษและการศึกษา
ผูใ้ หญ่ แนวการจัดการศึกษา
• รัฐมุง่ หมายให้พลเมืองได้รบั การศึกษา
• กุลบุตร กุลธิดา พึงได้รบั การศึกษาอยูใ่ นโรงเรียนจนอายุยา่ งเข้า
15 ปี
• การจัดการศึกษา แบ่งเป็ น จริยศึกษา พลศึกษา พุทธิศึกษา
หัตถศึกษา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
ระดับการศึกษา
การศึกษาชัน้ อนุบาล
ประถมศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 1-4
มัธยมศึกษา
- มัธยมสามัญศึกษา มัธยมสามัญปี ที่ 1 - 3
- มัธยมวิสามัญศึกษา มัธยมวิสามัญตอนต้นและตอนปลาย
- มัธยมอาชีวศึกษา มัธยมอาชีวะศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
• เตรียมอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาชัน้ สูง เตรียมอุดมศึกษาปี ท่ี 1-2
• อุดมศึกษาและมหาวิทยาลัย
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
การศึกษาบังคับ รัฐจัดให้โดยไม่เก็บค่าเล่าเรียน
การศึกษาพิเศษ สาหรับกุลบุตร กุลธิดาทีอ่ อกจาก
โรงเรียนเป็ นครัง้ คราว
การศึกษาผูใ้ หญ่ จัดให้กบั ผูใ้ หญ่ทวั่ ๆ ไป ทีไ่ ม่มี
โอกาสได้รบั การศึกษาในวัยเล่าเรียน
สถานศึกษาพึงใช้ผสู ้ อนทีม่ ีประกาศนียบัตรหรือ
ปริญญา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
แผนการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2503
แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2503 ประกอบด้วย ความมุ่งหมาย
ระดับการศึกษา ระบบโรงเรี ยนการศึกษาบังคับ และ แนวการจัด
การศึกษา
• รัฐมุ่งหมายให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษา
• กุลบุตร กุลธิดา ได้รับการศึกษาอยูใ่ นโรงเรี ยนจนอายุ 15 ปี
บริ บูรณ์
• การจัดการศึกษา แบ่งเป็ น จริ ยศึกษา พลศึกษา พุทธิ ศึกษา
หัตถศึกษา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
ระดับการศึกษาแบ่งเป็ น 4 ระดับ
• การศึกษาชัน้ อนุบาล
• ประถมศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาตอนต้น 4 ปี ชัน้
ประถมศึกษาตอนปลาย 3 ปี
• มัธยมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
• มัธยมอาชีวศึกษา มัธยมอาชีวะศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
• อุดมศึกษา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
ระบบโรงเรียน
•
•
•
อนุบาลศึกษา
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
การศึกษาบังคับ กุลบุตร กุลธิดาอยูใ่ นโรงเรียน
จนกว่าจะพ้นเกณฑ์บงั คับ
รัฐส่งเสริมและบารุงการศึกษา ควบคุมการจัดระบบ
การศึกษา
รัฐจัดการฝึ กหัดครู ส่งเสริมโรงเรียนราษฎร์
การศึกษาผูใ้ หญ่ สนับสนุนการวิจยั ทุนเล่าเรียน ควบคุม
การจัดการศึกษาให้เป็ นไปตามระเบียบ
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช
2520 ประกอบด้วย 4 หมวด
หมวดที่ 1 ความมุ่งหมาย
หมวดที่ 2 แนวนโยบายการศึกษา
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
หมวดที่ 4 การบริหารการศึกษา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
แนวนโยบาย
รัฐส่ งเสริ มและบารุ งการศึกษา รวมถึงการศึกษาภาคบังคับ
อย่างทัว่ ถึง เน้นให้คนไทยทุกคนใช้ภาษาไทยในการติดต่อ
ประสานความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาในระบบโรงเรี ยนกับ
การศึกษานอกโรงเรี ยน
รัฐสนับสนุนการศึกษานอกโรงเรี ยน ผูย้ ากไร้ ผูม้ ีความผิดปกติ
ทางร่ างกาย จิตใจหรื อสังคม และผูด้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษา
รัฐส่ งเสริ มการมัธยมศึกษา การอาชีวศึกษา รัฐจัดการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา การฝึ กหัดครู ทุกระดับ
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
ระบบการศึกษา แบ่งเป็ น 4 ระดับ คือ ระดับก่อน
ประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และ
ระดับอุดมศึกษา
ระดับประถมศึกษา เวลาเรี ยน 6 ปี เน้นความรู้
ความสามารถพื้นฐาน และการประกอบอาชีพ
ระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็ น 2 ตอน คือ มัธยมศึกษา
ตอนต้นและตอนปลาย ใช้เวลาเรี ยนตอนละประมาณ 3 ปี
ระดับอุดมศึกษา มุ่งสร้างกาลังคนในระดับวิชาการและ
วิชาชีพชั้นสู ง
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
การฝึ กหัดครู สร้างครู ที่มีความสามารถตาม
ความต้องการของท้องถิ่น
การอาชีวศึกษา ผลิตกาลังคนตามความต้องการ
ของท้องถิ่นและสังคม ทั้งระดับประถมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา ระดับอุดมศึกษา วิชาชีพพิเศษ
วิชาชีพในการศึกษานอกโรงเรี ยน
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
แผนการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2535
รัฐมีความเชื่อพื้นฐานว่า การศึกษาเป็ นกระบวนการ
ในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ
แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2535
ประกอบด้วย 4 หมวด
หมวดที่ 1 หลักการและความมุ่งหมาย
หมวดที่ 2 ระบบการศึกษา
หมวดที่ 3 แนวนโยบายการศึกษา
หมวดที่ 4 แนวทางการจัดการศึกษา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
หมวดที่ 1 หลักการและความมุ่งหมาย
หลักการสาคัญ 4 ประการ คือ
• สร้างความเจริ ญงอกงามทางปัญญา ความคิด จิตใจและคุณธรรม
• ตระหนักถึงการใช้และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม
• ก้าวทันความก้าวหน้าของวิทยาการสมัยใหม่ ควบคู่กบั ความเข้าใจ
และตระหนักในคุณค่าของภูมิปัญญา ภาษา วัฒนธรรมและสังคมไทย
• ความสมดุลระหว่างการพึ่งพาอาศัยกันกับการพึ่งตนเอง
ความมุ่งหมายของการจัดการศึกษา เน้นพัฒนาบุคคล 4 ด้าน คือ ด้าน
ปัญญา ด้านจิตใจ ด้านร่ างกาย และด้านสังคม
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
หมวดที่ 2 ระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาตามแผนการศึกษาเปิ ดโอกาสการเรี ยนรู ้ตามวัย 3 ช่วง
คือ ปฐมวัย วัยเด็กและเยาวชน การศึกษาสาหรับผูส้ ูงอายุ
รู ปแบบการจัดการศึกษา มีท้ งั ระบบโรงเรี ยน และกระบวนการเรี ยนรู ้
ในวิถีชีวิต
การศึกษาตามแนวระบบโรงเรี ยน แบ่งเป็ น 4 ระดับ
- ระดับก่อนประถมศึกษา
- ระดับประถมศึกษา
- ระดับมัธยมศึกษา
- ระดับอุดมศึกษา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
การศึกษาตามแนวระบบโรงเรียน ซึง่ จัดตาม
ความต้องการของกลุม่ เป้ าหมาย เช่น การฝึ กหัดครู
การศึกษาวิชาชีพ การศึกษาวิชาชีพพิเศษ การศึกษา
วิชาชีพเฉพาะกิจ การศึกษาพิเศษ การศึกษาของ
ภิกษุ สามเณร นักบวช และบุคลากรทางการศึกษา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
หมวดที่ 3 แนวนโยบายการศึกษา
รัฐวางนโยบายส่ งเสริ ม สนับสนุนทางการศึกษา 19 ข้อ
ครอบคลุมทุกวัย ทุกกลุ่ม และหน่วยงาน
โดยเฉพาะข้อ 8 ที่กาหนดให้ ปรับปรุ ง เนื้อหาสาระและ
กระบวนการเรี ยนการสอนทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา
ให้สนองต่อหลักการและสอดคล้องกับความมุ่งหมายของการจัด
การศึกษา
ส่ งเสริ มความรู ้ ความสามารถในการใช้ภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศ
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
หมวดที่ 4 แนวทางการจัดการศึกษา
มีการจัดเครื อข่ายการเรี ยนรู ้และบริ การ
การศึกษาเพื่อปวงชน
เนื้อหาสาระและกระบวนการเรี ยนการสอน
ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
•แผนพัฒนาการศึกษาไทย
แผนการศึกษาแห่ งชาติ (พ.ศ. 2545 – 2559)
แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้เป็ นแผนยุทธศาสตร์ช้ ีนาการ
ดาเนินงาน การปฏิรูปการศึกษา การบริ หาร การจัดการด้าน
ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีแนวคิดมาจากรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและนโยบายรัฐบาล มุ่งพัฒนา
สังคมให้เป็ นสังคมแห่งการเรี ยนรู้นาไปสู่ระบบเศรษฐกิจ
ฐานความรู้
แผนการศึกษาแห่งชาติ กาหนดวัตถุประสงค์ 3 ข้อและ
แนวนโยบาย 11 ประการ
หลักสูตรการศึกษาต่างประเทศ
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศฝรัง่ เศส
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสหราชอาณาจักร
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสกอตแลนด์
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศเยอรมัน
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศญีป่ ุ่ น
หลักสูตรการศึกษาต่างประเทศ
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศมาเลเซีย
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศฝรั่งเศส
ประเทศฝรัง่ เศส แบ่งการศึกษาในโรงเรียนเป็ น 4 ระดับ คือ
โรงเรียนอนุบาล หรือ การศึกษาก่อนโรงเรียน (preschool) 3
ชัน้ เรียนอยูใ่ นความดูแลของเทศบาล
โรงเรียนประถมศึกษา จัดให้กบั เด็กอายุ 6 ปี ข้ นึ ไป เวลาเรียน
5 ปี แบ่งเป็ น 3 วงจร
วงจรแรก 1 ปี เรียกว่า ชัน้ เตรียมตัว
วงจรที่ 2 2 ปี เรียกว่า ชัน้ เบื้องต้น 1 และ 2
วงจรที่ 3 2 ปี เรียกว่า ชัน้ กลาง 1 และ 2
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศฝรั่งเศส
โรงเรียนมัธยมต้นใช้เวลา 4 ปี มี 2 วงจร วงจรละ 2 ปี
วงจรแรก ประกอบด้วย ชัน้ 6 กับ ชัน้ 5 เรียกว่า วงจร
สังเกตการณ์ (observation cycle)
วงจรที่ 2 ประกอบด้วย ชัน้ 4 กับชัน้ 3 วงจรแนะแนว
(orientation cycle)
โรงเรียนมัธยมปลายมี 3 ชัน้ คือ ชัน้ 2 ชัน้ 1 และชัน้ สุดท้าย
เมื่อสอบได้รบั ประกาศนียบัตรมัธยมปลายแล้ว มีสทิ ธิเข้าเรียน
อุดมศึกษาโดยไม่มีการสอบคัดเลือก
โรงเรียนมัธยมปลายมี 3 ชนิด คือ สายวิชาชีพ สายสามัญ
สายเทคโนโลยี
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสหราชอาณาจักร
หลักสูตรของโรงเรียนและหลักสูตรแห่งชาติชว่ งชัน้ ที่ 1 - 2
ช่วงชัน้ ที่ 1
2
3
4
กลุ่มปี ที่ 1-2 3-6 7-9 10-11
อายุ
5-7 7-11 11-14 14-16
หลักสูตรแห่งชาติ จะมีวชิ าแกน คือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
วิชาพื้นฐาน สถานศึกษาจัดเอง คือ ออกแบบและเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ประวัตศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์
ภาษาต่างประเทศสมัยใหม่ ศิลปะและการออกแบบ ดนตรี พลศึกษา
หน้าทีพ่ ลเมือง
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสหรั ฐอเมริ กา
การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาแบ่งเป็ น 3 ระดับ คือ
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
คณะกรรมการในโรงเรียนแต่ละท้องถิ่นพัฒนาหลักสูตรเอง
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา
ระดับประถมศึกษา เรียน 4 กลุม่ วิชา คือ ภาษาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทัง้ วิชาอืน่ ๆ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรียนวิชา วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และภาษาศาสตร์ ให้มีระดับความยากง่ายต่างกัน 2
ระดับหรือมากกว่า
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สอนแตกต่างกัน 3 ระดับหรือ
มากกว่าในวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาศาสตร์ เพื่อ
สนองความแตกต่างของนักเรียน
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสกอตแลนด์
ประเทศสกอตแลนด์ รัฐเป็ นผูด้ าเนินการจัด
การศึกษา การศึกษาในสกอตแลนด์แบ่งออกเป็ น
การศึกษาก่อนวัยเรี ยน การประถมศึกษา
มัธยมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 5-6 ซึ่ งบางที
เรี ยกว่า Sixth Form ระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็ นการศึกษา
ต่อเนื่อง และการอุดมศึกษา ส่ วนการศึกษาเพื่อ
เรี ยนรู ้ตลอดชีวิตเรี ยก Community Education
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสกอตแลนด์
ระดับการศึกษาก่อนวัยเรียน (Pre - school Education)
จัดการศึกษาให้เรี ยนฟรี สาหรับเด็กอายุ 3 หรื อ
4 ปี การจัดการศึกษาจะส่ งเสริ มการพัฒนาและการ
เรี ยนรู ้ของเด็กในด้านต่างๆ คือ ทางด้านสังคม
บุคลิกภาพและการพัฒนาทางอารมณ์ การสื่ อสาร
และการใช้ภาษา ความรู ้และความเข้าใจต่อโลกการ
แสดงออกถึงการพัฒนาด้านสุ นทรี ยภาพ การพัฒนา
ร่ างกายและการเคลื่อนไหว
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสกอตแลนด์
ระดับประถมศึกษา (Primary Education)
รูปแบบของโปรแกรมการเรียน เนื้อหาทีส่ อน
• ภาษา ร้อยละ 20
• คณิตศาสตร์รอ้ ยละ 15
• สิง่ แวดล้อม สังคม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ร้อยละ 15
• ศิลปะการแสดงและพลศึกษา ร้อยละ 15
• ศาสนาและจริยศึกษา ร้อยละ 15 (รวมถึงสุขศึกษา การ
พัฒนาส่วนตัวและสังคม)
• เวลาทีใ่ ช้สาหรับกิจกรรมอืน่ ๆ ร้อยละ 20
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสกอตแลนด์
ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education)
การศึกษามัธยมศึกษาจัดสาหรับเด็กอายุ 12-18 ปี และจะบังคับ
จนกระทัง่ อายุ 16 ปี
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นสาหรับเด็กอายุ 12-16 ปี แบ่งเป็ น 2 ช่วง
ช่วงแรก 2 ปี เรี ยกว่า S1 และ S 2 ช่วงที่ 2 อีก 2 ปี เรี ยกว่า S3 และ S 4
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2 ปี เรี ยก S5 และ S6
สาหรับเตรี ยมด้านวิชาชีพ และเรี ยนต่อระดับอุดมศึกษา
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศเยอรมัน
จัดการศึกษาระดับประถมศึกษาปี ที่ 1-4 ทุกคนเรียน
เหมือนกันหมด โรงเรียนมัธยมศึกษาแยกเป็ น 3 ประเภท ตาม
ความสามารถทางวิชาการหรือผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของ
นักเรียน
รัฐแต่ละรัฐพัฒนาหลักสูตรเองโดยหลักสูตรประถมศึกษา
กาหนดให้เรียน ภาษาเยอรมันและคณิตศาสตร์ 5 ชัว่ โมงต่อ
สัปดาห์ วิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ สอนรวมกัน 4 ชัว่ โมง
ต่อสัปดาห์
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศเยอรมัน
ประเทศเยอรมันจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาปี ที่ 1-4 ทุก
คนเรียนเหมือนกันหมด โรงเรียนมัธยมศึกษาแยกเป็ น 3 ประเภท
ตามความสามารถทางวิชาการหรือผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของ
นักเรียน
รัฐแต่ละรัฐพัฒนาหลักสูตรเองโดยหลักสูตรประถมศึกษา
กาหนดให้เรียน ภาษาเยอรมันและคณิตศาสตร์ 5 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์
วิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ สอนรวมกัน 4 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศญีป่ ุ่ น
จัดการศึกษาในโรงเรียนระดับประถมศึกษาปี ที่ 1 - 6
มัธยมศึกษาตอนต้นปี 7 - 9 มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี ชัน้ ปี ท่ี 10
- 12 และอุดมศึกษา (ปริญญาตรี) 4 ปี
การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี คือ ทุกคนต้องเรียนตัง้ แต่ชนั้
ประถมศึกษา 6 ปี และมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี สาหรับเด็กพิการ
จะต้องได้รบั การศึกษาภาคบังคับในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ
พ่อแม่ผปู ้ กครองนิยมส่งบุตรหลานอายุ 3 - 5 ปี เข้าเรียนชัน้
อนุบาล 2-3 ปี ก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศญีป่ ุ่ น
การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี แบ่งเป็ น
2 สาย คือ สายสามัญ และสายอาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การประมง
การเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ่งออกเป็ น
3 แบบ คือ การเรียนแบบเต็มเวลา การเรียนแบบบางเวลา
และการเรียนทางไปรษณีย์
ระบบการเรียนแบบเทียบโอนหน่วยกิตใช้กบั ผูท้ เ่ี รียน
บางเวลาและเรียนทางไปรษณีย์
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศญีป่ ุ่ น
ญีป่ ุ่ นแบ่งการจัดการศึกษาตามอานาจหน้าทีค่ วามรับผิดชอบออกเป็ น 3
ระดับ ได้แก่ ระดับชาติ ระดับจังหวัด และระดับท้องถิ่น (หมายถึง ระดับเมือง
ระดับอาเภอและระดับตาบล)
รัฐบาลกลาง กาหนดนโยบายในภาพรวมด้านการศึกษาของประเทศ
กระทรวงการศึกษาธิการได้กระจายอานาจการบริหาร จัดการศึกษาให้แก่
ท้องถิ่น คือ สานักการศึกษาทัง้ ในระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น และระดับ
โรงเรียน ทุกระดับมีคณะกรรมการการศึกษาเป็ นผูก้ ากับดูแลการบริหาร โดย
กระทรวง ฯ เป็ นหน่วยงานในการประกาศกฎ / ระเบียบและมาตรฐานต่าง ๆ
ทีเ่ ป็ นกรอบกลางให้หน่วยงานทางการศึกษา ทุกระดับนาไปปรับประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสมกับพื้นทีข่ องตน
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
ระบบการศึกษาเป็ นระบบ 6 – 6 – 3 – 4 คือ ชัน้ ประถมศึกษา 6
ปี ชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และ
วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย 4 ปี
ประชาชนทุกคนมีสทิ ธิได้รบั การศึกษาตามความสามารถและ
การศึกษาภาคบังคับกาหนด 9 ปี โดยรัฐจัดให้ฟรีสาหรับระดับ
ประถมศึกษา และฟรีบางส่วนสาหรับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นในส่วนของ
นักเรียนทีอ่ ยูใ่ นพื้นทีช่ นบทและนักเรียนในกลุม่ การศึกษาพิเศษ
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
ระดับก่อนประถมศึกษา จัดสาหรับเด็กอายุ 3-5 ขวบ กระทรวง
การศึกษาของเกาหลี (กระทรวงการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ :
Ministry of Education and Human Resources Development)
รัฐ หน่วยงานอืน่ และภาคเอกชนร่วมจัดการศึกษาในระดับนี้
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนทีจ่ บชัน้ ประถมศึกษาจะ
ได้รบั การคัดเลือกให้เข้าเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในพื้นทีด่ ว้ ยวิธี
สุม่ เลือก ทัง้ โรงเรียนภาครัฐและภาคเอกชน
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ่งออกเป็ น 2 สาย คือ สายสามัญ และสาย
อาชีพ หลายโรงเรียนจัดตามเป้ าหมายเฉพาะวิชา เช่น โรงเรียนด้านวิทยาศาสตร์
โรงเรียนศิลปะ โรงเรียนภาษาต่างประเทศ และโรงเรียนพลศึกษา เป็ นต้น เพื่อ
สนองอัจฉริยภาพของเด็กในด้านนัน้ ๆ ตามศักยภาพโดยโรงเรียนมีวธิ ีการ
คัดเลือกเด็กด้วยตนเอง
ระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาในระดับนี้ออกเป็ น 5 ประเภท คือ
วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยหลักสูตร 4 ปี วิทยาลัยครู วิทยาลัยอาชีวศึกษา โพลี
เทคนิคและโรงเรียนพิเศษแบบผสม (miscellaneous schools) โดยสถาบันทัง้ หมด
สังกัดกระทรวงการศึกษา ฯ และกระทรวงเป็ นผูก้ าหนดเกณฑ์มาตรฐานเพื่อเป็ น
บรรทัดฐานในการรับรองคุณภาพมหาวิทยาลัย
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
ระบบการศึกษาแบ่งเป็ น 4 ระดับ คือ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษาและ
การศึกษาผูใ้ หญ่
1. การศึกษาขัน้ พื้นฐาน ได้แก่ การศึกษาก่อนวัยเรียน การประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย และการศึกษาพิเศษ
2. อาชีวศึกษา ได้แก่ การจัดการศึกษาทุกรูปแบบของโรงเรียนอาชีวศึกษา และทุกรูปแบบของ
การให้การฝึ กอบรมด้านอาชีพ และเทคนิคโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงเรียนมัธยมศึกษาพิเศษ โรงเรียน
ช่างฝี มือ โรงเรียนมัธยมอาชีวศึกษาและโรงเรียนอาชีวศึกษาชัน้ สูง การศึกษาด้านอาชีพจะรวมถึงการ
ฝึ กอบรมอาชีพชัน้ ต้นและการฝึ กอบรมด้านเทคนิคก่อนเข้าทางานแก่พนักงานคนงาน
3. อุดมศึกษา ได้แก่ การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาทัง้ หมด
4. การศึกษาผูใ้ หญ่ ได้แก่ การจัดการศึกษาเพื่อรูห้ นังสือ การจัดการศึกษาทุกระดับทีจ่ ดั ใน
ระบบโรงเรียน และรูปแบบการศึกษาอืน่ ๆ สาหรับกลุม่ เป้ าหมายประชากรผูใ้ หญ่เท่านัน้ และ
หลักสูตรครบวงจรระยะสัน้ จะใช้เวลาเรียน 2 หรือ 3 ปี สาหรับผูท้ จี่ ะศึกษาต่อในระดับปริญญาโท
จะต้องมีอายุตา่ กว่า 40 ปี ระยะเวลา 2 หรือ 3 ปี สาหรับผูท้ จี่ ะศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกจะมีอายุ
ตา่ กว่า 45 ปี ระยะเวลาเรียน 3 ปี
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
กฎหมายการศึกษาบังคับของสาธารณรัฐประชาชนจีน
กาหนดเงื่อนไขว่า รัฐจะต้องตัง้ ระบบการศึกษาภาคบังคับ 9
ปี โดยแบ่งเป็ น 2 ระยะ คือ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ตอนต้น เด็กทุกคนทีม่ ีอายุ 6 ปี หรือ 7 ปี ต้องเข้าเรียนใน
ระดับประถมศึกษา จนถึง 12 ปี หรือ 13 ปี และเรียนต่อใน
ระดับมัธยมศึกษาจนถึง 15 หรือ 16 ปี ทัง้ นี้ รัฐ ชุมชน
โรงเรียนและครอบครัวเห็นพ้องกับกฎหมายนี้ และจะปกป้ อง
สิทธิของการเข้าศึกษาของเด็กในโรงเรียน
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์
เป็ นระบบ 4: 2 : 4 : 2 ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา
ตอนต้น (4 ปี ) ประถมศึกษาตอนปลาย (2 ปี ) มัธยมศึกษา
(4 ปี ) เตรียมอุดมศึกษา (2 ปี ) และมหาวิทยาลัย
ก่อนประถมศึกษา เป็ นการศึกษาก่อนวัยเรียนเพื่อเตรียม
ความพร้อม 1-3 ปี
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์
ระดับประถมศึกษา จะต้องผ่านการเรียนพื้นฐาน 4 ปี
(ประถมศึกษาปี ที่ 1-4) ในชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 5-6 โดยในขัน้
พื้นฐาน เน้นการอ่านออก เขียน และทักษะการแจงนับเลข
ตลอดหลักสูตรเน้นให้นกั เรียน มีทกั ษะความรูด้ า้ น
ภาษาอังกฤษในระดับทีใ่ ช้งานในชีวติ ประจาวันได้ มีทกั ษะใน
การใช้ภาษาแม่และคณิตศาสตร์อย่างดี และมีการเริม่ สอนวิชา
วิทยาศาสตร์ตงั้ แต่ชนั้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3 และเริม่ สอนวิชาทาง
สังคมศาสตร์ตงั้ แต่ชนั้ ประถมศึกษาปี ท่ี 4
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์
เมื่อสิ้นสุดการศึกษา ในชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 6 นักเรียน
ทุกคนจะต้องผ่านการสอบออกจากโรงเรียนประถมศึกษา เพื่อ
ประเมินความเหมาะสมในการเข้าสูร่ ะดับมัธยมศึกษา
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์
ระดับมัธยมศึกษา นักเรียนมีสทิ ธิเลือกเรียนวิชาพิเศษ /
เร่งรัด หรือวิชาสามัญ ตามความสามารถในการเรียนรูแ้ ละความ
สนใจของตนเอง ด้วยหลักสูตร4-5 ปี ทีม่ ีจดุ เน้นแตกต่างกัน ดังนี้
1. วิชาพิเศษ / เร่งรัด (special / express course) เป็ นวิชา
4 ปี เรียนภาษาอังกฤษ ภาษาแม่ มนุษยศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ สาหรับสอบรับประกาศนียบัตรการศึกษาทัว่ ไป
(GCE) ระดับ O
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์
2. วิชาปกติ (normal course) เป็ นวิชา 4 ปี เรียนเป็ น
วิชาพิเศษ หรือทีเ่ น้นในทางเทคนิคปฏิบตั สิ าหรับสมรรถนะ
ในการอ่าน การพูด คณิตศาสตร์และการใช้คอมพิวเตอร์
สาหรับสอบ GCE ระดับ N โดยนักเรียนทีท่ าคะแนนสอบได้
ดี สามารถเรียนต่อชัน้ ปี ที่ 5 เพื่อสอบ GCE ระดับ O
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์
เตรียมอุดมศึกษา
1. Junior Colleges / Centralised Institutes เป็ นการศึกษาใน
สายสามัญสาหรับผูท้ ม่ี ีคณ
ุ สมบัตริ ะดับ O แล้ว โดย Junior Colleges
เป็ นการศึกษา 2 ปี ก่อนเข้ามหาวิทยาลัย (Pre – University
Education) ส่วน Centralised Institutes ใช้เวลาการศึกษา 3 ปี ผูท้ ี่
จบการศึกษาใน 2 ส่วนนี้สามารถสอบ GCE ระดับ A ซึง่ ผูท้ ส่ี อบได้ดี
สามารถเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาหรือเลือกเรียนฝึ กหัดครู
ในสถาบันเฉพาะทาง
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์
เตรียมอุดมศึกษา
2. Polytechnics เป็ นสถานศึกษาสาหรับนักเรียนสาย
เทคนิคและพาณิชย์ซงึ่ สอบผ่าน GCE ระดับ O สาขาวิชาทีเ่ ปิ ด
สอน ได้แก่ วิศวกรรมธุรกิจ การบัญชี พาณิชย์ทางทะเล
สือ่ สารมวลชน การพยาบาล เทคโนโลยีชวี ภาพ วิศว
อุตสาหกรรม การออกแบบสือ่ ด้วยระบบดิจติ อล วิทยาศาสตร์
ประยุกต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ สาหรับนักเรียนทีไ่ ด้คะแนน
ดี เมื่อเรียนจบมีโอกาสศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา /
มหาวิทยาลัย
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศมาเลเซีย
ระบบการศึกษาของมาเลเซียเป็ นระบบ 6: 3 : 2 : 2 คือ
ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา (6 ปี ) มัธยมศึกษาตอนต้น
(3 ปี ) มัธยมศึกษาตอนปลาย (2 ปี ) หลังมัธยมศึกษา (2 ปี )
และอุดมศึกษา
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศมาเลเซีย
ระดับก่อนประถมศึกษา (Pre – school Education) ชัน้
อนุบาลสาหรับเด็กอายุตงั้ แต่ 4-6 ปี
ระดับประถมศึกษา (Primary Education) เป็ นหลักสูตร
การเรียนการสอนทีม่ ีระยะเวลา 6 ปี สาหรับเด็กทีม่ ีอายุตงั้ แต่ 6
ปี ข้ นึ ไป แบ่งเป็ นโรงเรียนของรัฐบาล และของเอกชน การเรียน
การสอนใช้ภาษาประจาชาติ คือ ภาษามาลายู และภาษาอังกฤษ
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศมาเลเซีย
ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) แบ่งเป็ น
มัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็ นหลักสูตร
การเรียนการสอนสาหรับผูท้ จ่ี บการศึกษาระดับประถมศึกษา
แล้ว มีทงั้ โรงเรียนมัธยมศึกษาทีเ่ ป็ นของรัฐบาลและทีร่ ฐั บาลให้
การสนับสนุนเพียงบางส่วน รวมทัง้ โรงเรียนมัธยมศึกษาทีเ่ ป็ น
ของเอกชน
ในการศึกษาระดับนี้ แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ โรงเรียนที่
สอนด้านวิชาการ ด้านวิชาชีพ และโรงเรียนสอนศาสนา
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศมาเลเซีย
ระดับหลังมัธยมศึกษา / อุดมศึกษา (Post secondary Education)
เป็ นหลักสูตรสาหรับนักเรียนทีเ่ รียนจบในระดับมัธยมศึกษาแล้ว แบ่ง
ออกเป็ น 2 ระดับ ได้แก่
(1) ระดับประกาศนียบัตร
- โรงเรียนวิชาชีพพิเศษเฉพาะด้าน (Special Education)
เช่น วิชาศิลปะ ดนตรี
- โรงเรียนอาชีวะศึกษา (Special Education)
- โรงเรียนวิชาชีพครู (Teacher Education)
(2) ระดับปริญญาบัตร ได้แก่ มหาวิทยาลัยทีม่ ีการเรียนการสอน
ทัง้ ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศมาเลเซีย
สถานศึกษาในมาเลเซีย แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ตาม
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2539 มาตราที่ 15
ดังนี้
(1) สถานศึกษาหรือโรงเรียนทีเ่ ป็ นของรัฐบาล
(Government Education Institutions)
(2) สถานศึกษาหรือโรงเรียนทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจาก
รัฐบาล (Government – Aided Educational Institution)
(3) สถานศึกษาหรือโรงเรียนทีเ่ ป็ นของเอกชน (Private
Education Institutions)
คาถามท้ ายบท
งานกลุ่ม
1. เลือกประเทศที่สนใจ 1 ประเทศ จากกลุ่มประชาคม
อาเซียน (บวก 3 หรื อ บวก 6) ระบุเหตุผลที่เลือก
ระบบการศึกษาของประเทศนั้น
2. นาระบบการศึกษาของประเทศนั้นมาเปรี ยบเทียบกับ
ระบบการศึกษาของประเทศไทย ในด้านความเหมือน
ความต่าง
3. หากกลุ่มของท่านกาหนดระบบการศึกษา ท่านจะ
กาหนดอย่างไร