นำเสนอ สิทธิมนุษยชน ตรา สธน.ทบ

Download Report

Transcript นำเสนอ สิทธิมนุษยชน ตรา สธน.ทบ

HUMAN RIGHTS
สงครามโลกครั ง้ ที่ 2 ได้ น าความ
หายนะมาสู่ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ของหลาย
ประเทศทั่วโลก ชาวโลกได้ ประจักษ์ ถึงความ
รุ นแรง โหดร้ าย มีการฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์ และ
การกระทาย่ายีศกั ดิ์ศรี ของมนุษย์อย่างชัดเจน
ดังนัน้ ประเทศต่าง ๆ จึงแสวงหามาตรการ
ที่ เ ป็ นมาตรการป้ องกั น มิ ใ ห้ มี ก ารท าลาย
ศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ นมนุ ษ ย์ เ กิ ด ขึ น้ จึ ง ก่ อ ตั ง้
องค์กรสหประชาชาติ โดยมีการรับรองกฎบัตร
สหประชาชาติ โดยกฎบัตรมีหลายตอนที่เสดง
ถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ของสหประชาชาติ ในการ
ทาหน้ าที่สง่ เสริ ม และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
สิทธิ มนุษยชน หมายถึง สิทธิ ขัน้ พืน้ ฐานที่ ทาให้ มนุษย์ เกิ ดมาพร้ อมกับ
ความเท่ า เที ย มกัน ในแง่ ศัก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ นมนุษ ย์ และสิ ท ธิ เ พื่ อ ด ารงชี วิ ต อย่ า ง
มี ศัก ดิ์ศ รี โดยไม่ ค านึง ถึ ง ความแตกต่า งในเรื่ อ งของ เชื อ้ ชาติ สี ผิ ว เพศ อายุ
ภาษา ศาสนา และสถานภาพทางกายและสุขภาพ รวมทังความเชื
้
่อทางการเมือง
หรื อความเชื่ ออื่ นๆ ที่ขึน้ กับพืน้ ฐานทางสังคม สิทธิ มนุษยชนเป็ นสิ่งที่ไม่สามารถ
ถ่ายทอดหรื อโอนให้ แก่ผ้ อู ื่นได้
ขอบเขตสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนแบ่ งเป็ น 5 ประเภท ได้ แก่
1. สิทธิพลเมือง คือ สิทธิในชีวิต ร่ างกาย เสรี ภาพ และ
ความมัน่ คงในชีวิต สิทธิในกระบวนการยุติธรรม สิทธิที่จ ะได้ รับการ
ปกป้ องจากการจับ กุม หรื อ คุม ขัง โดยมิ ช อบ สิ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ การ
พิ จ ารณาคดี ใ นศาลอย่ า งยุ ติ ธ รรม สิ ท ธิ ใ นการได้ รั บ สั ญ ชาติ
ความเชื่อต่างๆ
2. สิทธิทางการเมือง ได้ แก่ สิทธิในการเลือกแนวทางของ
ตนในการแสดงออกทางการเมือง ความคิดเห็น การมีสว่ นร่ วมกับ รัฐ
ในการดาเนินกิจการที่เป็ นประโยชน์สาธารณะเสรี ภาพในการชุ มนุม
โดยสงบ เสรี ภาพในการรวมกลุม่ สิทธิในการเลือกตังอย่
้ างเสรี
3. สิทธิทางเศรษฐกิจ ได้ แก่ สิทธิในการเลือกทางานอย่าง
อิ ส ระ และได้ รั บ ค่ า จ้ างอย่ า งเป็ นธรรม สิ ท ธิ ใ นการเป็ นเจ้ าข อง
ทรัพย์สิน การได้ รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ
4. สิ ท ธิ ท างสั ง คม ได้ แก่ สิ ท ธิ ใ นการได้ รั บ การศึ ก ษา
ได้ รับหลักประกันสุขภาพ ได้ รับความมั่นคงทางสังคม มีเสรี ภาพใน
การเลือกคูค่ รอง และสร้ างครอบครัว
5. สิทธิทางวัฒนธรรม ได้ แก่ การมีเสรี ภาพในการใช้ ภาษา
หรื อ สื่ อ ความหมายในภาษาท้ องถิ่ น มี เ สรี ภ าพในการแต่ ง กาย
ตามวัฒนธรรม การปฏิบตั ิกิจตามวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของตน
สรุ ป
สิทธิมนุษยชน คือ
สิ่งจาเป็ นสาหรับทุกคนที่ต้องได้ รับในฐานะ
ที่เป็ นคน เพื่อให้ คนๆ นัน้ มีชีวิตอยู่รอดได้
สิทธิมนุษยชนมี 2 ระดับ
ระดับ 1
เป็ นสิทธิ ที่ติดตัวทุกคนมาตังแต่
้ เกิดไม่ สามารถโอน
ต่อกันได้ ได้ แก่ สิทธิในชีวิตและร่างกาย ห้ ามฆ่า หรื อทา
ร้ ายชีวิต ห้ ามทรมารอย่างโหดร้ าย มีเสรี ภาพในการแสดง
ความคิดเห็น เหล่านี ้ แม้ ไม่มีกฎหมายบัญญัติ รองรับแต่
ทุกคนมีสานึกรู้ได้ วา่ เป็ นเรื่ องผิด เป็ นบาปในทางศาสนา
ระดับ 2
เป็ นสิทธิที่ต้องได้ รับการรับรองในเรื่ องของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ หรื อต้ องได้ รับการคุ้มครอง โดยแนวนโยบาย
พื ้นฐานของรัฐ เพื่อเป็ นหลักประกันว่าคนทุกคนที่อยู่ในรัฐ
นันจะได้
้
รับความคุ้มครองชีวิตและความเป็ นอยู่ให้ มีความ
เหมาะสมแก่ ความเป็ นมนุษย์ ได้ แ ก่ สิท ธิ ใ นการได้ รั บ
สัญ ชาติ การมี ง านท า การได้ รั บ การคุ้ม ครองแรงงาน
สิทธิ เด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ สตรี การได้ รับการศึกษา
การได้ รับการบริ การด้ านสาธารณะสุข เป็ นต้ น
หลักการของสิทธิมนุษยชน 5 ด้ าน
ด้ านที่ 1
ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์
เป็ นสิทธิที่ติดตัวมาตังแต่
้ เกิด หมายถึ ง คุณค่าของ
ตนในฐานะที่เขาเป็ นมนุษย์ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1.คุณค่าในฐานะการดารงตาแหน่งทางสังคม
2 . คุ ณ ค่ า ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น ม นุ ษ ย์
ไม่แบ่งแยก เท่าเทียมกัน
ด้ านที่ 2
สิทธิมนุษยชนเป็ นสากลไม่ สามารถโอนถ่ ายกันได้
หมายความว่า สิทธิมนุษยชนไม่มีพรหมแดนไม่วา่
จะอยู่ ที่ ไ หนในโลก ไม่ ว่ า จะมี เ ชื อ้ ชาติ สั ญ ช าติ
แหล่งกาเนิดใดก็ตาม ไม่ว่ายากจน หรื อรวย สิท ธินี ้ไม่
สามารถโอนหรื อ มอบอ านาจให้ แก่ กั น ได้ ไม่ มี ก าร
ครอบครองสิทธิแทนกัน แต่ได้ จดั หมวดหมู่และกลุม่ เป็ น
สิทธิกลุม่ เฉพาะ เช่น สิทธิสตรี สิทธิเด็ก
ด้ านที่ 3
แบ่ งแยกไม่ ได้ หรื อไม่ มีลาดับชัน้
สิ่ ง ใดที่ บั ญ ญั ติ ใ ห้ เป็ นสิ ท ธิ แ ละเสรี ภาพตาม
กฎหมาย บุคคลเข้ าถึงสิทธินนโดยเสมอภาคกั
ั้
น
ด้ านที่ 4
ความเสมอภาค
การปฏิบตั ิต่อบุคคลต้ องคานึงถึงความเสมอภาค
กล่าวคือ หากบุคคลอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่เท่ าเทียมกัน
ด้ วยเหตุจากความแตกต่าง อาทิ เผ่าพันธุ์ สีผิ ว เพศ
ภาษา สัญชาติ เชื ้อชาติ ชนชัน้ เป็ นต้ น ก็ต้ องมีการ
ปฏิบตั ิตอ่ บุคคลให้ เสมอภาคโดยเท่าเทียมกัน
ด้ านที่ 5
ไม่ เลือกปฏิบัติ
ถึ ง แม้ ว่า คนเราเกิ ด มาจะมี ค วามแตกต่า งกัน ใน
เรื่ องของฐานะ ความเป็ นอยู่ การศึกษา เพศ ศาสนา
หรื อความบกพร่ อ งของร่ า งกาย แต่ ภ ายใต้ ความ
คุ้ม ครองในบทบัญ ญั ติ ท างกฎหมายเราต้ อ งไม่ อ าศั ย
ความแตกต่างเหล่านีม้ าเป็ นสาระสาคัญในการปฏิ บัติ
หรื อจากัดสิทธิ หรื อคัดกับบุคคลบางกลุม่
มาตรการและกลไกลการดาเนินงาน
ด้ านสิทธิมนุษยชนระหว่ างประเทศ
ประเทศที่ เ ป็ นสมาชิ ก องค์ ก รสหประชาชาติ
มีพนั ธผูกพันกับกฎบัตรแห่งสหประชาชาติ และที่สาคัญ
เรื่ องสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนได้ ถู ก น าไปใช้ ในทางการเมื อง
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
หากเรายังคงปล่อยให้ พฤติกรรมการละเมิดสิท ธิ
เหล่านี ้ยังคงอยู่ วันหนึ่งเราอาจไม่มีพื ้นที่ให้ ลกู หลานเรา
ปกป้องคุ้มครองสิทธิ เสรี ภาพแห่งความเป็ นมนุษ ย์ ซึ่ง
ติดตัวมาตัง้ แต่เกิ ดได้ อีกต่อไป สิทธิ มนุษยชนคือเรื่ อง
ของมนุษย์ โดยยอมรับนับถือในศักดิ์ศรี อนั ติดตัวมา ใน
สิทธิอนั เท่าเทียมกัน และไม่อาจเพิกถอนได้ ของบรรดา
สมาชิ ก ทัง้ ปวง ในครอบครั ว มนุษ ย์ เ ป็ นรากฐานของ
เสรี ภาพ ความยุติธรรม และสันติสขุ ของโลก
HUMAN RIGHTS