IEEE 802.11a - คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

Download Report

Transcript IEEE 802.11a - คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

บทที่ 7
กลุ่มย่ อย IEEE 802.11
วิชา... เทคโนโลยีไร้ สาย
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
Department of Applied Science, YRU
1
Outline
 กลุม
่ ย่อยของมาตรฐาน
 IEEE 802.11 แบบดังเดิ
้ ม
 IEEE 802.11b
 IEEE 802.11a
 IEEE 802.11g
 IEEE 802.11 Wi-Fi
 IEEE 802.11n
Department of Applied Science, YRU
2
กลุ่มย่ อยของมาตรฐาน
 กลุ่ม IEEE 802.11 แบ่งกลุ่มทำงำนเพื่อศึกษำและหำแนวทำงในกำร
กำหนดมำตรฐำนขึ้นเพื่อใช้งำน โดยใช้ตัวอักษรภำษำอังกฤษเป็นชื่อ
แทนกลุ่ม เช่น a , b, c, n
Department of Applied Science, YRU
3
กลุ่มย่ อยของมาตรฐาน
ตำรำงที่ 7.1 กลุ่มทำงำนย่อยสำหรับเทคโนโลยีที่ใช้งำนหลัก
มาตรฐาน
ย่านความถี่
ที่ใช้งาน (GHz)
802.11
802.11a
802.11b
802.11g
802.11n
2.4
5
2.4
2.4
5
Department of Applied Science, YRU
4
ปริมาณงาน
(ต่อหน่วยเวลา)
ที่ชั้นแม็ค (Mbps)
2
54
11
54
100
กลุ่มย่ อยของมาตรฐาน (ต่ อ)
ตำรำงที่ 7.2 กลุ่มทำงำนย่อยสำหรับเทคโนโลยีที่ใช้งำนหลัก
มาตรฐาน
802.11c
802.11d
802.11e
802.11f
802.11i
Department of Applied Science, YRU
รายละเอียด
กำรใช้งำนร่วมกัน (Interoperability)
กำรจัดกำรเกี่ยวกับกำรโรมมิ่ง (Roaming)
กำรรับประกันคุณภำพกำรให้บริกำร (QoS)
โปรโตคอลสำหรับติดต่อระหว่ำงแอกเซสพอยต์
กำรเพิ่มควำมสำมำรถในเรื่องควำมปลอดภัย
5
IEEE 802.11 แบบดัง้ เดิม
 เป็นมำตรฐำนฉบับแรกที่กล่ำวถึงเรื่องเครือข่ำยไร้สำย
ใช้ในปี พ.ศ. 2540
 ทำงำนแบบกำรมอดูเลชั่นแบบลำดับตรง ทำงำนที่ควำมเร็ว 2 Mbps
โดยจะลดควำมเร็วมำทำงำนที่ควำมเร็ว 1 Mbps ในกรณีมีสัญญำณ
รบกวน
 ทำงำนแบบกระโดดควำมถี่ ทำงำนที่ควำมเร็ว 2 Mbps
 กำรทำงำนทั้งสองแบบใช้ควำมถี่ย่ำน 2.4 GHz
Department of Applied Science, YRU
6
IEEE 802.11b
 เป็นมำตรฐำนใช้ในปี พ.ศ. 2542
 ขอบเขตสัญญำณอยู่ที่ 50-100 เมตร ใช้เสำอำกำศแบบกระจำยรอบ
ทิศทำง (Omni-Direction antenna)
 ควำมเร็วสูงสุด 11 Mbps โดยสำมำรถปรับควำมเร็วในกำรส่งมำที่
5.5, 2 และ 1 Mbps ใช้ควำมถี่ย่ำน 2.4 GHz
 กำรมอดูเลชั่นแบบตรง และมีกำรควบคุมกำรเข้ำใช้สื่อเป็นแบบ
CSMA/CA
 จะถูกลดทอนสัญญำณเมื่อเคลื่อนที่ผ่ำนวัสดุต่ำงๆ ที่ไม่เท่ำกันจะ
ลดทอนมำกถ้ำเป็นวัสดุที่มีควำมหนำแน่นสูง เช่น เหล็ก กำแพงปูนหนำ
Department of Applied Science, YRU
7
IEEE 802.11b (ต่ อ)
รูปที่ 7.1 กำรแบ่งช่องสัญญำณของ IEEE802.11b
Department of Applied Science, YRU
8
IEEE 802.11a
 เป็นมำตรฐำนใช้อย่ำงเป็นทำงกำรในปี พ.ศ. 2544
 ค่ำควำมเร็วสูงสุด 54 Mbps ควำมเร็วในกำรใช้งำนจริงโดยเฉลี่ย 22 Mbps
 ย่ำนควำมถี่ที่ใช้งำนคือ ย่ำน ISM 5.7 GHz
 ขอบเขตสัญญำณจะน้อยกว่ำกลุ่ม b เนื่องจำกควำมถี่ที่สูงกว่ำ ประมำณ 50




เมตร
กำรมอดูเลชั่นใช้งำนแบบ OFDM
มีกำรกำหนดช่องสัญญำณจำนวน 12 ช่องสัญญำณ โดยมี 8 ช่องสัญญำณใช้
งำนภำยในอำคำร และอีก 4 ช่องสัญญำณใช้งำนภำยนอกอำคำร
มำตรฐำนนี้ใช้เฉพำะบำงประเทศ เนื่องจำกมีข้อจำกัดเรื่องย่ำนควำมถี่
ไม่ค่อยเป็นที่นิยมอย่ำงแพร่หลำยเนื่องจำกไม่สำมำรถใช้อุปกรณ์ร่วมกับกลุ่มอื่น
Department of Applied Science, YRU
9
IEEE 802.11g
 เป็นมำตรฐำนใช้ในปลำยปี พ.ศ. 2544
 เป็นกลุ่มมำตรฐำนที่เกิดจำกควำมต้องกำรที่จะเพิ่มควำมเร็วในกำร
รับ-ส่งข้อมูลจำกมำตรฐำน 802.11b โดยยังคงใช้ย่ำนควำมถี่ ISM
2.4 GHz
 เปลี่ยนกำรมอดูเลชั่นเป็นแบบ OFDM และปรับกระบวนกำรเข้ำสื่อ
เล็กน้อย
 ทำให้สำมำรถเพิ่มอัตรำในกำรรับ-ส่งข้อมูลเป็น 54 Mbps ควำมเร็ว
ในกำรใช้งำนจริงโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 22 Mbps
 มำตรฐำนนี้สำมำรถทำงำนร่วมกันกับมำตรฐำน 802.11b
(Backward Compatible) 10ได้อีกด้วย
Department of Applied Science, YRU
IEEE 802.11g (ต่ อ)
รูปที่ 7.1 อัตรำในกำรรับ-ส่งข้อมูลของ 802.11b เทียบกับ 802.11g ตำมระยะทำง
Department of Applied Science, YRU
11
IEEE 802.11 Wi-Fi
 เป็นกำรรวมตัวของกลุ่มผู้ผลิตใช้ชื่อ กลุ่มพันธมิตรไว-ไฟ (Wi-Fi Alliance)
 เพื่อทำกำรทดสอบกำรใช้งำนร่วมกันของอุปกรณ์จำกต่ำงบริษัทที่ผลิตและ
ออกแบบภำยใต้มำตรฐำน IEEE802.11
 เพื่อยืนยันว่ำอุปกรณ์เหล่ำนี้สำมำรถใช้งำนทดแทนกันได้ โดยหลังจำกที่ผ่ำน
กำรทดแล้วทำงกลุ่มจะอนุญำตให้บริษัทผู้ผลิตใช้มำตรฐำนกำรค้ำ (TM :
Trade Mark) หรือสัญลักษณ์ WiFi บนผลิตภัณฑ์ของตนได้
Department of Applied Science, YRU
12
IEEE 802.11n
 เน้นเรื่องอัตรำเร็วในกำรรับ-ส่งข้อมูลให้สูงขึ้นใกล้เคียงกับกำรสื่อสำรของแลน
ขณะนั้นคำดหมำยที่ 100 Mbps ซึ่งต่อมำมีกำรวำงแผนกำรพัฒนำควำมเร็ว
เพิ่มเป็น 600 Mbps
 มีกำรพัฒนำด้ำนกำรใช้พลังงำนของอุปกรณ์อย่ำงมีประสิทธิภำพ (Power
Efficiency)
 มีกำรพัฒนำระบบสำยอำกำศ (Antenna) ที่เรียกว่ำมำยโม่ (MIMO :
Multiple Input Multiple Output)
 เพิ่มจำนวนเสำและชุดอุปกรณ์รับ-ส่ง (Transceiver) ทำให้สำมำรถรับส่งข้อมูล
ได้ที่อัตรำควำมเร็ว 300 Mbps เมื่อใช้เสำอำกำศแบบ 2 x 2 และควำมเร็ว
600 Mbps เมื่อใช้เสำอำกำศแบบ 4 x 4
Department of Applied Science, YRU
13
IEEE 802.11n (ต่ อ)
 มีกำรพัฒนำให้เพิ่มระยะโดยอำศัยเทคโนโลยีที่เรียกว่ำ กำรจัดกำรบีมสัญญำณ
(Beam Forming Technology)
 มีกำรพัฒนำกำรเข้ำรหัสที่เรียกว่ำ STBC (Space Time Block Coding) เพื่อ
ใช้ในกำรลดกำรหลุดของกำรเชื่อมต่อโดยกำรใช้เสำอำกำศสำรอง (Spatial)
แบบหลำยชุดเพื่อรองรับกำรสื่อสำรด้วยเสียง (VoIP : Voice Over IP)
 กำรควบคุมกำรเข้ำใช้สื่อเรียกว่ำซูเปอร์เฟรม (Superframe) ที่มีควำมสำมรถ
ในกำรรวมเฟรมข้อมูลเข้ำด้วยกัน เพื่อกำรส่งที่มีประสิทธิภำพมำกขึ้น
 ปรับปรุงกำรบวนกำรแอ็คแบบกลุ่ม (Block Ack) เพื่อลดค่ำกำรใช้พลังงำน
Department of Applied Science, YRU
14
IEEE 802.11n (ต่ อ)
Department of Applied Science, YRU
15
IEEE 802.11n (ต่ อ)
Department of Applied Science, YRU
16
IEEE 802.11n (ต่ อ)
Department of Applied Science, YRU
17
Department of Applied Science, YRU
18