การสร้างนวัตกรรมสำหรับเด็ก

Download Report

Transcript การสร้างนวัตกรรมสำหรับเด็ก

การสร้ างนวัตกรรม สาหรับเด็ก
Innovation learning
ปัญหา
วิธีการแก้ปัญหา
ปัญหาคลี่คลายไป
จะต้องคิดและสร้าง Innovation นี้ข้ ึน
Model การวิจัยชั้นเรียนโดยใช้ นวัตกรรม
ลักษณะเดิมของเด็ก
ให้ treatment แก่เด็ก
เด็กพัฒนาการดีข้ ึน
treatment ที่จดั ให้แก่เด็ก คือ นวัตกรรมที่ตอ้ งคิดและสร้างขึ้นมา
รูปแบบของนวัตกรรม
- สื่ อการเรี ยนการสอน
- เกม, เทคนิคการสอน
- แผนการสอน, เนื้อหาความรู ้เพิ่มเติม
- ชุดฝึ กอบรม
- รู ปแบบการแนะนาให้คาปรึ กษา
- รู ปแบบการอบรมเลี้ยงดู, การสัง่ สอน
- อื่นๆ
การให้ treatment ให้ ตรงกับอาการของเด็ก
หรือ
การใช้ นวัตกรรมให้ ตรงกับลักษณะที่ต้องการพัฒนา
ปัญหา
1. ผลการเรี ยนตกต่า
2. ปัญหาพฤติกรรมเด็ก
3. ปัญหาสุ ขภาพเด็ก
Treatment
ใช้นวัตกรรมการสอน,
เกมเทคนิคการสอน
ชุดฝึ กอบรม, รู ปแบบการ
แนะนาให้คาปรึ กษา บันทึกการ
ปรับพฤติกรรมเด็ก
รู ปแบบการแนะนาให้
คาปรึ กษา การควบคุมพฤติกรรม,
การช่วยเหลือทางสุ ขอนามัย
ปัญหา
Treatment
4. ปัญหาทาง
ครอบครัว
รู ปแบบการอบรมเลี้ยงดู,
การสัง่ สอนการให้คาปรึ กษา,
การช่วยเหลือด้านอื่น
5. ปัญหาทางจิตใจ
และทัศนคติ
การฝึ กพัฒนาทางจิตวิทยา,
การปรับทัศนคติ การฝึ กสมาธิ หรื อ
การใช้ชุดการฝึ กอบรม
จงคิด treatment สาหรับการแก้ปัญหาชั้นเรียนของท่ าน
1. Treatment สาหรับ ปัญหาของเด็กทั้งชั้น
2. Treatment สาหรับปัญหาของเด็กรายกลุ่ม
3. Treatment สาหรับปัญหาของเด็กรายกรณี
หลักสูตรสาหรับการแก้ ปัญหา
Special curriculum for problem solving
หลักสูตร คือ ประสบการณ์
การเรี ยนรู้ที่จดั ให้กบั ผูเ้ รี ยน
ครู จึงต้องมีหน้าที่จดั ทาหลักสูตร
แนวคิดของหลักสูตร
จุดมุ่งหมายการเรี ยนรู้
จัดหลักสูตรให้กบั เด็ก
เด็กบรรลุวตั ถุประสงค์
แนวคิดของหลักสู ตรสาหรับการแก้ ปัญหาเฉพาะ
ปัญหาใน
ชั้นเรี ยน
กาหนดเป้ าหมาย
ของการแก้ปัญหา
กาหนดหลักสู ตร
เฉพาะเพื่อ
การแก้ปัญหานั้น
แก้ไขปั ญหา
ในชั้นเรี ยนได้
แก้ไขปั ญหา
ในชั้นเรี ยนได้
ปรับแก้หลักสู ตรหรื อ
ทาหลักสู ตรใหม่
แก้ไขปั ญหา
ไม่หมด
ติดตาม
ประเมินผล
การแก้ปัญหา
หลักสู ตร คือ กิจกรรมทางการศึกษาที่จดั ให้กบั ผูเ้ รี ยน
มี 3 มิติ คือ
1. การวางแผน จัดทาหรื อยกร่ างหลักสูตร
(Curriculum Planning)
2. การใช้หลักสูตร (Curriculum Implementation)
3. การประเมินหลักสูตร (Curriculum Evaluation)
แนวคิดของหลักสู ตร
เริ่ มจากจุดมุ่งหมายทางการศึกษาต้องการอย่างไร
ทาอย่างไรจึงจะบรรลุจุดมุ่งหมายนั้น
สิ่ งที่ทานั้นใช้วิธีการใดจึงจะมีประสิ ทธิภาพ
จะทราบได้อย่างไรว่าบรรลุจุดมุ่งหมายแล้ว
แนวคิดในการสร้ างและพัฒนาหลักสู ตร
วิเคราะห์หลักสูตรเดิม
วิเคราะห์สภาพแวดล้อม
วิเคราะห์ทรัพยากร
จัดทาหลักสู ตร
วิเคราะห์กระบวนการเรี ยน
การสอน
วิเคราะห์เด็ก
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา เป็ นจุดเริ่มต้ นของหลักสู ตร
- จุด (ความ) มุ่งหมายของการศึกษาในระดับชาติ (Goal)
- จุด (สิ่ ง) มุ่งหมายของการศึกษาในระดับหรื อประเภท
การศึกษา (Purposes)
- จุดมุ่งหมายของการศึกษาในระดับหลักสูตร (Aims)
- จุดหมาย (เป้ าหมาย) ของการศึกษาในระดับวิชา (Objectives)
- จุดหมาย (วัตถุประสงค์) ของการศึกษาในระดับการเรี ยนการ
สอน (Behavioral Objectives)
1.
2.
3.
4.
5.
ลักษณะของหลักสู ตร
หลักสูตรของระดับการศึกษา เช่น หลักสูตรประถมศึกษา
หลักสูตรมัธยมศึกษา เป็ นต้น มี core curriculum และ local
curriculum
หลักสูตรรายวิชา เป็ นหลักสูตรย่อยของหลักสูตรระดับการศึกษา
เช่น หลักสูตรคณิ ตศาสตร์ หลักสูตรภาษาอังกฤษ เป็ นต้น
หลักสูตรการผลิตบุคลากร เป็ นหลักสูตรที่มุ่งสร้างผลผลิตด้าน
บุคลากร เช่น หลักสูตรผลิตแพทย์ หลักสูตรเนติบณ
ั ฑิต ฯลฯ
หลักสูตรการฝึ กอบรม เป็ นหลักสูตรเฉพาะกิจ ระยะสั้น ๆ
เพื่อให้ความรู ้ในเฉพาะเรื่ อง
แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ จัดเป็ นหลักสูตรอีกชนิ ดหนึ่งก็ได้
เช่นแผนการเรี ยนการสอน แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้เฉพาะ
ด้าน ได้แก่ค่ายลูกเสื อ ค่ายธรรมะ ฯลฯ
รายละเอียดของหลักสู ตร
1. สิ่ งพึงประสงค์ (อาจจะแยกเป็ นเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์)
2. โครงสร้างของหลักสูตร (โดยแยกเป็ นเนื้อหา หรื อกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้)
3. วิธีการสอน (รวมทั้งการจัดตารางสอน และการจัดกิจกรรมการ
สอน)
4. สื่ อและอุปกรณ์การสอน (รวมทั้งใบงาน แบบฝึ กหัด เกม หรื อ
ข้อสอบที่ครู สร้างขึ้น)
5. การวัดและประเมินผล (รวมทั้งเกณฑ์ และระบบการบันทึกผล)
Aptitude
Attitude
Contents
สถานที่
เวลา
Skill
สิ่ งที่พงึ ประสงค์
Environment
กลุ่มเพื่อน
หนังสื อ
ผูส้ อน
เกม
สื่ อ
Learning
Activities
กิจกรรม
testing
เทคนิคการสอนและการจัดการชั้นเรี ยน
Teaching Techniques
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
Child Center
Inclusive Learning
Interactive Learning
การสอนแบบคละชั้น
การสอนแบบควบชั้น
การสอนแบบต่างกลุ่มอายุ
การออกแบบการสอนด้วยเกม
การออกแบบการเรี ยนด้วยสื่ อ
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
Gender Education
Special Education
Human Right Education
การสอนด้วย Role play
การสอนด้วยเกม
การสอนด้วยโครงงาน
การสอนให้เรี ยนด้วยตนเอง
การเรี ยนปนเล่น
การออกแบบการสอน
Teaching Design
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ตรวจสอบสิ่ งที่พึงประสงค์
วิเคราะห์วา่ มีวิธีใดบ้างที่จะเกิดสิ่ งที่พึงประสงค์น้ นั หรื อมีเงื่อนไข
การเรี ยนรู ้อย่างไร
เลือกวิธีที่ดีที่สุดสาหรับเด็กมาจัดทาแผนการเรี ยนการสอน
ลาดับสิ่ งที่จะเรี ยนรู ้ให้มี consequence
ตรวจสอบหรื อประเมินผลว่าการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนนี้จะ
ได้ผลตามวัตถุประสงค์หรื อไม่
วางแผนขจัดปัจจัยแทรกซ้อนที่จะทาให้การเรี ยนการสอนไม่
บรรลุผล
การออกแบบการใช้ สื่อ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ตรวจสอบสิ่ งที่พึงประสงค์
ตรวจสอบเนื้อหาการเรี ยนรู ้
วิเคราะห์วา่ มีสื่อใดบ้างที่มีเนื้อหาการเรี ยนรู ้น้ นั
ศึกษาวิธีการใช้สื่อที่จะนาเนื้อหาการเรี ยนรู ้น้ นั สู่ผเู ้ รี ยนได้
เลือกสื่ อที่เหมาะสมที่สุดมาจัดทาแผนการเรี ยนการสอน
ตรวจสอบหรื อประเมินผลว่าการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนนี้
จะได้ผลตามวัตถุประสงค์หรื อไม่
วางแผนขจัดปัจจัยแทรกซ้อนที่จะทาให้การเรี ยนการสอนไม่
บรรลุผล
Classroom Management
หลักการจัดการชั้นเรียน
1. ให้ผสู ้ อนจัดการกับผูเ้ รี ยนให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของการ
เรี ยนการสอนให้ได้
2. ให้ผสู ้ อนจัดสภาพแวดล้อมหรื อสิ่ งแวดล้อมสาหรับการเรี ยนรู ้ให้
ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้
3. ให้ผสู ้ อนขจัดปัจจัยที่จะทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ที่ผดิ หรื อไม่
สามารถเรี ยนรู ้ได้ตามที่ตอ้ งการ
4. ให้ผสู ้ อนแสดงถึงผลสัมฤทธิ์ (Achievements) ของการเรี ยนนั้น
วิธีจดั การกับชั้นเรี ยน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร
จัดทาแผนการการเรี ยนการสอน
จัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเรี ยน
วิเคราะห์ลกั ษณะของผูเ้ รี ยน
จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
วิเคราะห์และประเมินผลการเรี ยน
จงบอกความหมายของคาต่อไปนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
หลักสูตร???
แผนการสอน??? แผนการเรี ยนการสอน???
แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน???
กิจกรรมการเรี ยนรู ้??? การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้???
ผลการเรี ยน??? ผลการเรี ยนรู้???
ผลสัมฤทธิ์ ???
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน???
GPA???
Exercise
1.
2.
3.
4.
ให้ระบุปัญหาของการวิจยั
ให้ต้ งั ชื่อเรื่ องวิจยั
ให้กาหนดวัตถุประสงค์ของการวิจยั
ให้ออกแบบการวิจยั เพื่อตอบโจทย์
ปัญหานั้น