การศึกษาเด็กรายกรณี by chotika thamviset การศึกษารายกรณี  สร ุปภาพรวมท ุกด้านของเป็นเฉพาะราย  ทาให้ทราบกระบวนการพัฒนาด้านต่างๆ  ลักษณะที่เป็นปัญหา  ให้ความช่วยเหลือ.

Download Report

Transcript การศึกษาเด็กรายกรณี by chotika thamviset การศึกษารายกรณี  สร ุปภาพรวมท ุกด้านของเป็นเฉพาะราย  ทาให้ทราบกระบวนการพัฒนาด้านต่างๆ  ลักษณะที่เป็นปัญหา  ให้ความช่วยเหลือ.

การศึกษาเด็กรายกรณี
by chotika thamviset
การศึกษารายกรณี
 สร ุปภาพรวมท ุกด้านของเป็นเฉพาะราย
 ทาให้ทราบกระบวนการพัฒนาด้านต่างๆ
 ลักษณะที่เป็นปัญหา
 ให้ความช่วยเหลือ
ความแตกต่ างระหว่ างประวัติรายกรณี
กับการศึกษารายกรณี
ประวัตริ ายกรณีหมายถึงเรื่ องราวต่ างๆที่เก็บ
รวบรวมเอาไว้ ตามลาดับก่ อนหลังตามความเป็ น
จริงโดยมิได้ แปลความหมาย การศึกษารายกรณี
จะแตกต่ างจาก ประวัตริ ายกรณีตรงที่มีการ
วิเคราะห์ และแปลความหมาย ของข้ อมูลที่ได้
รวบรวมมา รวมทัง้ การ ให้ ความช่ วยเหลือที่ผ้ ู
ศึกษาได้ ให้ แก่ ผ้ ูถูกศึกษาโดยที่การศึกษารายกรณี
จะต้ องอาศัยการรวบรวมข้ อมูลเป็ นขัน้ แรกของ
การดาเนินงาน ดังนัน้ การทาประวัตริ ายกรณีจงึ
เป็ นส่ วนหนึ่งที่สาคัญของการศึกษารายกรณี
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษารายกรณี
ไม่สามารถที่จะกาหนดให้ เป็นที่แน่นอนได้ว่าจะใช้เวลาเท่าใด
ทัง้ นี้ข้ ึนอยูก่ บั ความยากของ "รายกรณี" (Case) อย่างน้อย 3
เดือนขึ้นไป
ความมุง่ หมาย
1
• ค้ นหาสาเหตุท่ ที าให้ ผ้ ูเรี ยนมีพฤติกรรมที่ผิดปรกติ
• สืบค้ นรู ปแบบของพัฒนาการของนักเรี ยน
11
• ให้ นักเรี ยนได้ เกิดความเข้ าใจในตนเอง
• ช่ วยให้ ผ้ ูปกครองเข้ าใจในตัวเด็กของตนได้ ดีขนึ ้
111
• ช่ วยให้ ครู เข้ าใจนักเรี ยนได้ อย่ างละเอียด
ประโยชน์ของการศึกษารายกรณี
ทราบรายละเอียด
เกี่ยวกับตัวนักเรี ยนอย่ าง
กว้ างขวาง
เข้ าใจถึงสาเหตุทาให้
มองเห็นลู่ทางที่จะ
ช่ วยเหลือแก้ ไขปั ญหา
ต่อครู
รู้ จกั และเข้ าใจธรรมชาติ
ของมนุษย์ อย่ างแท้ จริ ง
มีความรู้ และมีทกั ษะใน
การใช้ เครื่องมือและกลวิธี
ต่ างๆ ในการเก็บข้ อมูล
ประโยชน์ของการศึกษารายกรณี
เข้ าใจตนเอง
มีกาลังใจและมีความเต็มใจ
ต่อผู้รับการศึกาา
ดาเนินชีวติ ต่ อไปอย่ างมี
ความหวัง
ปรับปรุ งตนเอง หรือแก้ ไข
ปั ญหาของตน
ประโยชน์ของการศึกษารายกรณี
เข้ าใจเด็กของตนดีขึน้
สบายใจ
ต่ อผู้ปกครอง
การป้องกัน ช่ วยเหลือ
แก้ ไข
ส่ งเสริม
การศึกษาเด็กในชัน้ เรียน
 ขัน
้ การเลือกเด็กศึกษา
 ขัน
้ เก็บและรวบรวมข้อมูล
 ขัน
้ เขียนรายงาน
ขัน้ การเลือกศึกษาเด็ก
เด็กมีปัญหา
เด็กลักษณะเด่ น
ด้ านความ
ประพฤติ
ความสามารถ
พิเศาเฉพาะ
ด้ านการเรี ยน
ด้ านอื่นๆ
*** เด็กปกติกส็ ามารถเลือกศึกษาได้
ขัน้ เก็บและรวบรวมข้ อมูล
1
• อัตชีวประวัติ แสดงความรู้สกึ ความต้ องการ ความใฝ่ ฝั น
2
• การเขียนบันทึกประจาวัน
3
• การสัมภาาณ์
4
• การสังเกต
5
• การแสดงความสามารถพิเศา
6
• การแสดงความรู้สกึ นึกคิด
7
• การหาข้ อมูลจากบุคลที่เกี่ยวข้ องกับนักเรี ยน เพื่อน /ครู/ผู้เชี่ยวชาญ
ตัวอย่ าง
อัตชีวประวัติ เช่น
 สถานที่เกิด
 การศึกษา อาชีพบิดา มารดา
 จานวนพี่นอ้ ง
 ความเป็ นอยู่
 ครอบครัวข้าพเจ้า
 สิ่งที่ขา้ พเจ้าชอบอาชีพข้าพเจ้าในอนาคต
 ฯลฯ
ตัวอย่ าง
การเขียนบันทึกประจาวัน เช่น
 วันนีพ
้ บใคร
 เหตุการณ์พิเศษ
 รูส้ ึกอย่างไร
 กระดาษที่เขียนบันทึกประจาวัน ควรเป็ น ขนาด
8.5X11 นิว้ มีชอื่ นักเรียนและวันที่
•
การสัมภาษณ์
- คาถามไม่ชดั ครูซักถามเพิ่มเติม
- ก่อนสัมภาษณ์ตอ้ งเตรียมหัวข้อ
-สร้างความเป็ นกันเอง
- เปิ ดโอกาสให้นกั เรียนพูด
- หากนอกเรื่องพยายามเปลี่ยนเรื่องที่ครู
ต้องการ
- ระหว่างสัมภาษณ์ไม่ควรบันทึกใด ๆ
เพราะฉะนัน้ สัมภาษณ์เสร็จต้องรีบบันทึกตาม
หัวข้อ
การสังเกต
การสังเกตด้วยการจัดบันทึกแบบ
ตรงไปตรงมา เรียกว่า ระเบียน
พฤติการณ์ หรือบัตรบันทึก
พฤติกรรม
แบบบันทึกการสังเกต แบบที่ 1
ชือ่ นักเรียน…………………………………วันที่…………………………………………..
สถานที่………………………………………………………………………….…………….
ข้อความที่บนั ทึก ………………………………….……………………………………
ลงชือ่ ..........................................ผูส้ งั เกต
การแปลความหมาย ……………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………
แบบบันทึกการสังเกต แบบที่ 2
การสังเกต ครัง้ ที่ ..........................
ชื่อนักเรียน................นามสกุล.............อายุ.................ปี .............ชัน้ ......
วันที่.....................................เดือน...............พ.ศ.เวลา...........................
สถานการณ์ที่สงั เกต..........................................
ความหมายของพฤติกรรม........................................................
ข้อเสนอแนะในการช่วยเหลือแก้ไขพฤติกรรม...............................................
............................................................................................................................
ลงชื่อ...........................................ผูส้ งั เกต
ตาแหน่ง....................................................
การเขียนรายงาน
บทที่ 1 นาเรื่ อง..........แนะนาเด็ก ผู้ปกครอง ปั ญหาเด็ก
ระยะเวลาทาการศึกาา
บทที่ 2 ข้ อมูลเกี่ยวกับเด็ก.......พัฒนาการร่างกาย อารมณ์
สังคม สติปัญญา ประสบการณ์และความสาเร็จของงาน
บทที่ 3 วิธีการต่างๆ ที่ใช้ ในการศึกาาเด็ก
บทที่ 4 สรุปวิเคราะห์ วินิจฉัย อาจเป็ นไปได้ วา่ ..........
บทที่ 5 การช่วยเหลือหรื อแก้ ไขและข้ อเสนอแนะ
ภาคผนวก