11.ปัญหาพฤติกรรมที่พบบ่อยในเด็ก พญ.รมร

Download Report

Transcript 11.ปัญหาพฤติกรรมที่พบบ่อยในเด็ก พญ.รมร

ปั ญหาพฤติกรรมที่พบบ่ อยในเด็ก
สาหรั บบุคลากรสาธารณสุข
ก.ย. 2553
พญ.รมร แย้ มประทุม
กุมารแพทย์ พัฒนาการและพฤติกรรม
ศูนย์ วทิ ยาศาสตร์ สุขภาพ รพ.ม.บูรพา
วัตถุประสงค์ การเรี ยนรู้
• บุคลากรสาธารณสุขที่ดแู ลเด็กสามารถ
▫ เข้ าใจปั ญหาพฤติกรรมที่พบบ่ อยเด็ก
▫ ประยุกต์ ใช้ ในการดูแล และให้ คาแนะนาปั ญหาพฤติกรรมใน
เด็กได้ ถูกต้ อง เหมาะสม
▫ ส่ งต่ อเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมได้ เหมาะสม
▫ สร้ างสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก ครอบครัว และชุมชน
ปั ญหาพฤติกรรมที่พบบ่ อยในเด็ก
Colic
Breath holding spell
Temper tantrums
Thumb sucking
Enuresis
Encorpesis
พฤติกรรมแค่ ไหนจึงเป็ นปั ญหา?
• ขึน้ อยู่กับอายุ และพัฒนาการของเด็ก
• แปรตามสังคม และวัฒนธรรม (ความคาดหวัง)
• ความกังวลของผู้ใกล้ ชิด
ร้ อง 3 เดือน (Infantile colic)
• พบบ่ อยในช่ วงอายุ 2 สัปดาห์ - 4 เดือน
• พบประมาณ 10-30% ของทารก
• ร้ องมากโดยหาสาเหตุไม่ ได้ ในเด็กที่มีสุขภาพทั่วไปปกติ
• ร้ อง
▫ > 3 ชั่วโมง/ วัน
▫ > 3 วัน/ สัปดาห์
▫ > 3 สัปดาห์
ร้ อง 3 เดือน (Infantile colic)
• สาเหตุ: ไม่ สามารถระบุได้ ชัดเจน
▫ ระบบทางเดินอาหาร
▫ ระบบประสาท
▫ พืน้ อารมณ์
▫ การกังวล และการเลีย้ งดูของผู้ปกครอง
• การวินิจฉัย: ลักษณะการร้ อง สภาพทั่วไปอื่นๆ หา
ปั ญหาการเจ็บป่ วยอื่น ถ้ าสงสัยควรส่ งตรวจ
ร้ อง 3 เดือน (Infantile colic)
• การดูแล
▫ ให้ ความมั่นใจว่ าไม่ เป็ นอะไรร้ ายแรง
▫ ลดความกังวล ความรู้ สึกผิดของผู้ปกครอง
▫ ติดตามอย่ างใกล้ ชิด เป็ นระยะๆ
ร้ องกลัน้ (Breath holding spell)
• พบในช่ วงอายุ 1-3 ปี
• 50% หายไปเมื่ออายุ 4 ปี , 90% หายเมื่ออายุ 6 ปี
• ถ้ าพบในเด็กโต มากกว่ า 6 ปี หรื อมีอาการรุ นแรง
ควรหาสาเหตุอ่ นื
• ต้ องแยกจากอาการชัก ปั ญหาโรคหัวใจ
• แนะนาปรึกษาแพทย์
ร้ องกลัน้ (Breath holding spell)
• การดูแล
• ป้องกันอุบัตเิ หตุ
• ปรั บพฤติกรรมที่กระตุ้น
• เมื่อเด็กตื่นไม่ ควรเอาใจเกินปกติ เพราะจะทาให้ ได้
secondary gain คือพฤติกรรมนีเ้ ป็ นตัวทา
ให้ ผ้ ูปกครองสนใจ
ดูดนิว้ (Thumb sucking)
• พบในช่ วงอายุ 1ปี ครึ่ง – 3 ปี
• พบได้ 30-45% ในเด็กปฐมวัย
• หายเมื่ออายุ 4 ปี
• มักเป็ นขณะง่ วง เบื่อ เหนื่อย หิว กังวล
ดูดนิว้ (Thumb sucking): ปั ญหาที่พบตามมา
• สบฟั นผิดปกติ
ในเด็กที่ดูดนิว้ ต่ อเนื่องเกินอายุ 4 ปี
• แผลบริเวณนิว้
• ปั ญหาจิตใจ ถูกล้ อ ปั ญหากับผู้ปกครอง ความ
มั่นใจในตัวเองลดลง
ดูดนิว้ (Thumb sucking): การรักษา
• ก่ อนอายุ 4 ปี
▫ ไม่ ให้ ความสนใจกับพฤติกรรม
▫ เบี่ยงเบนความสนใจ
• หลังอายุ 4 ปี
▫ ให้ เด็กมีส่วนร่ วมในการลดพฤติกรรม
▫ มีเครื่องช่ วยเตือน เช่ น พลาสเตอร์
▫ ชมเชย หรือมีรางวัลเมื่อทาได้ ตามเป้าหมาย
อาละวาด (Temper tantrums)
• พฤติกรรมอาละวาดที่เกินกว่ าเหตุ
เช่ น กรี ดร้ องอย่ างรุ นแรง ลงดิน้
ตะโกน ตี ปาสิ่งของ
• พบได้ 50-80% ของวัยเตาะแตะ
อาละวาด (Temper tantrums)
• ปั จจัยที่มีส่วนทาให้ เกิด
▫ พัฒนาการในช่ วงวัยนี:้ autonomy เอาแต่ ใจตัว
▫ พืน้ อารมณ์ เด็กเลีย้ งยาก
▫ เด็กกาลังมีปัญหาเจ็บป่ วย ง่ วง หิว
▫ เด็กมีข้อจากัดเรื่ องพัฒนาการ เช่ น พูดช้ า
▫ สภาพแวดล้ อมที่ไม่ เอือ้ ไม่ ค่อยมีกิจกรรมนอกบ้ าน
▫ การเลีย้ งดูท่ ไี ม่ สม่าเสมอในเรื่ องกฎระเบียบ การใช้ วิธี
ลงโทษโดยการตี
อาละวาด (Temper tantrums): การจัดการ
• อธิบายให้ ผ้ ูปกครองเข้ าใจ บันทึกเหตุการณ์ (ก่ อนเกิดลักษณะพฤติกรรมนั้นๆ-ผลหลังจากเกิดพฤติกรรม)
• ลดสิ่งที่กระตุ้นพฤติกรรม
• ป้องกันอุบัตเิ หตุ
• กาหนดกฎระเบียบ ในกิจวัตรที่ชัดเจน และทา
สม่าเสมอโดยทุกคนในบ้ านรั บรู้
• เมื่อเกิด
▫ ไม่ ให้ ความสนใจ ระวังการเกิดรุ นแรงในช่ วงแรกๆ
▫ Time-out
Time out คืออะไร
• เป็ นช่ วงเวลาที่เด็กไม่ ได้ รับความสนใจ หรื อสิ่งจูงใจ
ใดๆ
• ไม่ มีอิสระ
• ไม่ มีกจิ กรรมอะไรให้ ทา
• ให้ รับรู้ ว่าพฤติกรรมนัน้ ๆของเด็กไม่ ได้ รับการยอมรั บ
• ผู้ปกครองต้ องมีช่วงเวลาที่ดีมีคุณภาพ (Time in)
กับเด็กเพียงพอจึงสามารถทา Time out ให้ ได้ ผลดี
Time out ทาอย่ างไร
•เลือกพฤติกรรมเป้าหมาย: พฤติกรรมก้ าวร้ าว
เช่ นตีผ้ ูอ่ นื
•เลือกสถานที่: มุมห้ อง ไม่ มีส่ งิ น่ าสนใจ ไม่ เลือกที่
ลับตาที่อาจเป็ นอันตราย หรือในห้ องนอน
•อธิบายกฎ ให้ ชัดเจน
•เมื่อเกิดพฤติกรรมนัน้ : พูดให้ น้อย เตือนสัน้ ๆ
•ใช้ เครื่ องจับเวลา ประมาณ 1 นาที/ปี
•ไม่ ให้ ความสนใจ จนกว่ าจะหมดเวลา
ปัสสาวะราด (Enuresis)
•หมายถึงการที่เด็กมีปัสสาวะไหลโดยไม่รต้ ู วั
หรือไม่สามารถควบค ุมได้
•ความถี่ 2 ครัง้ /สัปดาห์ อย่างน้อย 3 เดือน
หรือ ทาให้เกิดผลต่อการอยูใ่ นสังคม
•อาย ุ อย่างน้อย 5 ปี
ปัสสาวะราด (Enuresis): สาเหต ุ
• พันธ ุกรรม
▫ ถ้าบิดาหรือมารดาเคยมีอาการ โอกาสเกิด 40%
▫ ถ้าบิดาและมารดาเคยมีอาการ โอกาสเกิด 70%
• ความล่าช้าในการควบค ุมการขับถ่ายของระบบ
ประสาท
• ความผิดปกติของการหลัง่ vasopressin
ปัสสาวะราด (Enuresis): แยกกับโรคอื่นๆ
• โรคระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น การติดเชื้อ
ผิดปกติทางกายวิภาค
• โรคระบบประสาท เช่น ลมชัก
• โรคระบบต่อมไร้ท่อ เช่น เบาหวาน เบาจืด
ความ
ปัสสาวะราด (Enuresis): การรักษา
• การปรับพฤติกรรม ให้ผป้ ู กครองและเด็กเข้าใจใน
อาการ และสร้างแรงจูงใจ ให้เด็กมีสว่ นร่วม งดการ
ลงโทษร ุนแรง
• ไม่ดื่มน้า หรืออาหารที่มีคาเฟอีนก่อนนอน
• Wet stop alarm
• การใช้ยา : Imipramine (anticholinergic)
DDAVP (desmopressin)
อ ุจจาระราด (Encopresis)
• หมายถึง การถ่ายอ ุจจาระรดกางเกง หรือในที่ไม่
สมควร เกิดโดยตัง้ ใจหรือไม่ตงั้ ใจก็ได้
• ความถี่ อย่างน้อย 1 ครัง้ /เดือน, 3 เดือนขึ้นไป
• อาย ุ 4 ปีขึ้นไป
• มักมีอาการท้องผูกเรื้อรังร่วมด้วย
อ ุจจาระราด (Encopresis): การรักษา
• อธิบายให้ผป้ ู กครอง และเด็กเข้าใจถึงสาเหต ุ และ
การดาเนินโรค
• ใช้ยาระบาย เพื่อขับอ ุจจาระที่คา้ งออกให้หมด
และกินต่ออีกระยะจนถ่ายไม่แข็ง จึงค่อยๆลด
ขนาดยาลง จนหย ุดถ้าอาการปกติ 3-6 เดือน
• กินอาหารที่มีกาก
• ฝึกนัง่ ถ่าย 2 ครัง้ /วัน
Toilet training
• ฝึ กในเวลาที่เหมาะสม
▫ ร่ างกายพร้ อม การควบคุมการทางานของหูรูด การกลัน้
▫ พัฒนาการพร้ อมทัง้ ด้ านการเคลื่อนไหว ความเข้ าใจภาษา การ
ทาตามขัน้ ตอนง่ ายๆ
• การนั่งถ่ ายที่เหมาะสม (positive toilet sit)
• กาหนดเวลาทาทุกวัน สม่าเสมอมักเป็ นเวลาหลายเดือน
• ควรใช้ ยาระบายจนกว่ าจะฝึ กนิสัยการขับถ่ ายที่ดี
Toilet training: Positive toilet sit
• ฝึ กนั่งช่ วงสัน้ ๆ ครัง้ ละ 30 วินาที แล้ วค่ อยๆเพิ่มจนได้ 5
นาที มีสัญญาณเตือนเมื่อหมดเวลา
• อาจเริ่มนั่งทัง้ ผ้ าอ้ อม หรือกางเกง
• มีเก้ าอีเ้ ล็กรองเท้ าเด็กให้ พอเหมาะในการเบ่ งถ่ าย
• ผ่ อนคลาย ไม่ บังคับ
• ผู้ปกครองอยู่ใกล้ ๆ ให้ ความสนใจ
• มีกจิ กรรมที่เด็กสนใจ