ปรัชญากับการดำเนินชีวิต
Download
Report
Transcript ปรัชญากับการดำเนินชีวิต
GEN 111
ปรัชญาชีวติ
ดร.วันเพ็ญ วรวงศ์ พงศา
จุดประสงค์
• ปรัชญา
• จริ ยศาสตร์
• ธรรมชาติของความดี ชัว่ ถูก ผิด
• เกณฑ์ตดั สิ นความดี ชัว่ ถูก ผิด
• การมีชีวิตที่ดี
• แนวทางการดาเนินชีวิตที่ดี
ปรัชญาคืออะไร ?
•วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู ้และหลักแห่งความจริ ง
(พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน )
ความรู ้ของมนุษยชาติ แบ่งเป็ นสองเรื่ องใหญ่ ๆ
• เรื่ องที่หนึ่ง คือ เรื่ องเกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น
– ฟิ สิ กส์ มีเป้าหมายในการศึ กษาเพือ
่ หาความจริงตาง
่
ๆ และเข้าใจในธรรมชาติมากกว่าสิ่ งรอบตัวเพราะรวมไปถึงจักรวาลทั้งหมด
อย่างลึกซึ้ ง
– ชีววิทยา มีเป้าหมายในการศึ กษาเกีย
่ วกับสิ่ งทีม
่ ช
ี ว
ี ต
ิ
ทั้งหลาย
– เคมี มีเป้าหมายในการศึ กษาเกีย
่ วกับธาตุและ
องค์ประกอบของธาตุ เป็ นต้น
• เรื่ องที่สอง คือ เรื่ องเกี่ยวกับสังคม เช่น
– เศรษฐศาสตร์ มีเป้ าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจของสังคม
– รัฐศาสตร์ มีเป้าหมายในการศึ กษาเกีย
่ วกับระบบ
• เป้ าหมายในการศึกษาของปรัชญา คือการครอบคลุมความรู ้และความ
จริ งในทุกศาสตร์และในทุกสาขาความรู ้ของมนุษย์ รวมทั้ง
ชีวิตประจาวันของตนด้วย
• ผลจากการศึกษาของปรัชญาก็สามารถนาไปใช้อา้ งอิงได้
• ผูร้ อบรู ้ดา้ นปรัชญามักขนานนามว่า นักปรัชญา ปราชญ์ หรื อ นักปราชญ์
ปรัชญาคือวิชาที่แสวงหาความจริ งเกี่ยวกับทุกสิ่ งทุกอย่าง
เช่น
• ความรู ้ความจริ งเกี่ยวกับธรรมชาติที่เป็ นแก่นแท้ของมนุษย์ โลก จักรวาร และ
สรรพสิ่ ง (อภิปรัชญา)
• เกี่ยวกับธรรมชาติของความรู ้หรื อความจริ ง วิธีได้มาซึ่งความรู ้หรื อความจริ ง
และการตัดสิ นความรู ้หรื อความจริ ง (ญาณวิทยา)
• เกี่ยวกับธรรมชาติของความดี เกณฑ์ตดั สิ นความดีและการมีชีวิตที่ดี (The Good
Life) (จริ ยศาสตร์)
• เกี่ยวกับธรรมชาติของความงาม เกณฑ์ตดั สิ นความงาม คุณค่าของความงาม
(สุ นทรี ยศาสตร์)
• เกี่ยวกับลักษณะของเหตุผล และกฎเกณฑ์การอ้างเหตุผลที่ถูกต้อง (ตรรกวิทยา)
ความหมายของจริ ยศาสตร์
• “จริ ยะ” แปลว่า หลักที่พึงประพฤติ
• “ศาสตร์” แปลว่า วิชาหรื อความรู ้
• จริ ยศาสตร์ แปลว่า วิชาหรื อความรู ้ที่วา่ ด้วยหลักการหรื อแนวทางที่พึง
ประพฤติ
เนื้อหาของจริ ยศาสตร์
• ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของความดี ชัว่ ถูก ผิด
• ศึกษาเกณฑ์หรื อมาตรฐาน สาหรับตัดสิ นใจว่าการกระทาอย่างไรจึงถือ
ว่า ดี ชัว่ ถูก ผิด
• ศึกษาความหมายของการมีชีวิตที่ดี (The Good Life) เช่น การดาเนินชีวิต
อย่างไรจึงถือว่าเป็ นการมีชีวิตอยูอ่ ย่างดีที่สุด หรื อเป็ นชีวิตที่มีคุณค่า
สูงสุ ดในฐานะที่เกิดมาเป็ นมนุษย์
จริยศาสตร์ ในฐานะปรัชญาชีวติ
ทุกคนล้วนมีปรัชญาชีวติ ของตนเอง
ปรัชญาชีวิต คืออะไร ?
•อุดมคติ หรื อ คุณค่าที่ยดึ ถือเป็ นเป้ าหมายหรื อแนวทางในการ
ดาเนินชีวติ โดยอุดมคติหรื อคุณค่าที่ยดึ ถือจะเป็ นตัวกาหนด
รู ปแบบการดาเนินชีวติ
ปรัชญาชีวิตสะท้อนการมองโลกและมองชีวิตตามความเข้าใจ
ของแต่ละคน และเป็ นตัวกาหนดวิถีการดาเนินชีวติ ของตน
โลกทัศน์ และชีวทัศน์ ของคนสามารถเปลีย่ นแปลงได้ ตาม
การเรียนรู้ ประสบการณ์ และระดับพัฒนาการทางปัญญา
ความสาคัญของปรัชญาชีวิต
•ปรัชญาชีวติ กาหนดแนวทางในการดารงชีวติ ของมนุษย์ :
–ตั้งจุดมุ่งหมายแห่งชีวติ เพื่อที่จะเดินไปสู่ จุดมุ่งหมายนั้น
–การกระทาใดๆ หากทาโดยมีจุดมุ่งหมายแล้วย่อมประสบ
ผลสาเร็ จได้
ความสาคัญของปรัชญาชีวิต (ต่อ)
•ปรัชญาชีวติ ช่ วยตรวจสอบความเชื่อพืน้ ฐานของมนุษย์
– มนุษย์ทุกคนย่อมมีความเชื่อพื้นฐานอยู่ การตรวจสอบจึงทาให้
การตัดสิ นใจถูกต้อง
– การตรวจสอบความเชื่อพื้นฐานจะทาให้บุคคลมีหลักการในการ
ดาเนินชีวิตที่ชดั เจน จะทาให้มีหลักยึดในการตัดสิ นใจ ช่วยให้
คนเราตัดสิ นใจอย่างมีหลักเกณฑ์ จะทาให้บุคคลไม่หลงเชื่องม
งาย แต่จะรู้จกั เลือกและตัดสิ นปัญหาสาคัญๆได้
ความสาคัญของปรัชญาชีวิต (ต่อ)
•ปรัชญาชีวติ ช่ วยให้ เป็ นคนมีเหตุมผี ล
– รู้จกั ใครครวญให้รอบคอบ
– มีความคิดที่เป็ นระบบ (ปัญหาทุกอย่างย่อมเกิดจากเหตุ การ
จะแก้ไขปัญหาได้ดีจะต้องรู ้จกั เหตุของปัญหานั้น)
ความสาคัญของปรัชญาชีวิต (ต่อ)
•ปรัชญาชีวติ ทาให้ เข้ าใจชีวติ มนุษย์ และโลกทัศน์ ต่างๆ เช่น
– การดารงชีวิตอย่างมีหลักเกณฑ์ ทาให้มีชีวิตที่สมบูรณ์และดี
งามขึ้น
– ปรัชญาที่ถูกต้องจะสร้างความสงบสุ ขแก่ผยู ้ ดึ ในหลักปรัชญา
ธรรมชาติของความดี ชัว่ ถูก ผิด
• ดี ชัว่ ถูก ผิด มีอยูจ่ ริ งอย่างเป็ นภววิสยั (Objectivism)
– เป็ นสิ่ งที่แน่นอนตายตัว ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขของเวลา และสถานที่
– เป็ นสิ่ งสากลที่มนุษย์ทุกคน ทุกสังคมสามารถเข้าใจตรงกันได้ ยึดถือปฏิบตั ิร่วมกัน
ได้
• ดี ชัว่ ถูก ผิด มีอยูอ่ ย่างสัมพันธ์ (Relativism)
– เป็ นข้อตกลงทางสังคม ขึ้นอยูก่ บั ความเห็นส่ วนบุคคล และวัฒนธรรมทางสังคม ไม่
แน่นอนตายตัว เปลี่ยนแปลงตามเงื่อนไขของเวลาและสถานที่
– ไม่ใช่สิ่งสากลที่ทุกคน ทุกสังคมจะเห็นตรงกัน และยึดปฏิบตั ิร่วมกัน
• ดี ชัว่ ถูก ผิด เป็ นผลจากภาวะทางจิตวิทยา (Psychological Issues)
– เป็ นข้อเท็จจริ งทางจิตวิทยาของมนุษย์ เช่น ความเห็นแก่ตวั การเห็นแก่ผอู ้ ื่น
เกณฑ์ตดั สิ นความดี ชัว่ ถูก ผิด
• ทฤษฎีคุณธรรม (Virtue Theory)
– มุ่งวิเคราะห์คุณลักษณะประจาตัวของบุคคลมากกว่าการ
กระทาเฉพาะกรณี
– ตัดสิ นความถูกผิดพิจารณาจาก “การเป็ น” (to be)ไม่ใช่จาก
“การกระทา” (to do)
เกณฑ์ตดั สิ นความดี ชัว่ ถูก ผิด
• ทฤษฎีหน้าที่ (Duty Theory)
– มุ่งวิเคราะห์ความถูกผิดบนพื้นฐานของการกระทา (Action
based)
– ตัดสิ นความถูกผิดพิจารณาจาก “การกระทา” (to do) ไม่ใช่จาก
“การเป็ น” (to be)
การมีชีวิตที่ดี
• สุ ขนิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่สุขสบาย
• วีรกรรมนิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่ประกอบวีรกรรม
• ลัทธิโรแมนติก : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่แสดงออกตามความรู้สึก
• ปัญญานิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่ได้พฒั นาปัญญาจนเห็นสัจ
ธรรม
• วิมุตินิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่มีความสงบ
• ศีลธรรมนิยม : ชีวติ ที่ดี คือ การเป็ นคนดี มีศีลธรรม
• กลุ่มมนุษยนิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่สามารถสร้างดุลยภาพใน
สุ ขนิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่สุขสบาย
• ความสุ ข คือ สิ่ งที่ดีที่สุดที่มนุษย์ควรแสวงหา
• ความจริ งแท้มีเพียงสสาร คนเราตายแล้วไม่มีอะไรเหลือ ขณะที่
มีชีวติ อยูจ่ ึงควรแสวงหาความสุ ขใส่ ตวั ให้มากที่สุด
• ปั จจุบนั เท่านั้นที่สาคัญ อนาคตยังมาไม่ถึง ดังนั้นคนฉลาด คือ
คนที่สามารถหาวิธีแสวงหาความสุ ขให้ได้มากที่สุด
• ศิลปะในการแสวงหาความสุ ข เปรี ยบเหมือนการกินปลา
สุ ขนิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่สุขสบาย
สุ ขนิยมแบ่งเป็ น 2 แนวคิด
• ปั จเจกสุ ขนิยม หรื อสุ ขนิยมส่ วนบุคคล
– มนุษย์ควรแสวงหาความสุ ขให้แก่ตนเองมากที่สุดเท่าที่จะมากได้
– ความสุ ขส่ วนตัวสาคัญกว่าสุ ขส่ วนรวม
• สากลสุ ขนิยม หรื อ ประโยชน์นิยม
– มนุษย์ควารแสวงหาความสุ ขที่มากที่สุดให้แก่คนจานวนมากที่สุด
– ความสุ ขส่ วนรวมสาคัญกว่าความสุ ขส่ วนตน
วีรกรรมนิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่ประกอบวีรกรรม
• ประกอบวีรกรรมในสงครามการสู้รบ
• ยอมรับความยากลาบาก ความบากบัน่ อดทน เพื่อเอาชนะ
อุปสรรค
• การทุ่มเทชีวติ เพื่อสร้างผลงานที่ยงิ่ ใหญ่ เช่น วรรณคดี ศิลปะ
วิทยาศาสตร์ การต่อสู ้เพื่อความเป็ นธรรมของสังคม
• ชีวติ เป็ นเรื่ องท้าทาย อุปสรรคเป็ นสิ่ งท่ตอ้ งเอาชนะ
ลัทธิโรแมนติก : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่แสดงออกตาม
ความรู้สึก
•ความเป็ นมนุษย์มีธรรมชาติท้ งั ด้านที่เป็ นเหตุผล
(Reason) และด้านอารมณ์ความรู้สึก
(Emotion)
•อารมมณ์สาคัญกว่าเหตุผล
ปัญญานิยม : ชีวติ ที่ดี คือ ชีวติ ที่ได้พฒั นาปัญญาจนเห็นสัจธรรม
•ปั ญญาเป็ นสิ่ งสาคัญที่สุดของมนุษย์
•หน้าที่หลักของมนุษย์อยูท่ ี่การพัฒนาและการใช้ปัญญาให้
ถึงที่สุด
•ดารงชีวติ โดยใช้เหตุผลเพื่อแสวงหาสัจจะ
วิมุตินิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่มีความสงบ
• ความสงบของจิตใจ คือสิ่ งมีค่าที่สุดที่มนุษย์พึงแสวงหา
• ความสงบไม่ได้เกิดจากความสมอยาก แต่เกิดจากการระงับความ
อยาก
เอฟิ คเตตัสแบ่งสิ่ งทั้งหลายออกเป็ น 2 ประเภท คือ
• สิ่ งที่อยูใ่ นอานาจของเรา เช่น ความคิด ความรู้สึก ความอยากได้
อยากหนี
• สิ่ งที่อยูพ่ น้ อานาจของเรา เช่น ร่ างกาย ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสี ยง
ตาแหน่ง
วิมุตินิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่มีความสงบ (ต่อ)
มนุษย์ควรฝึ กฝนคุณธรรม 3 ประการคือ
•ความอดทน เมื่อพบความเจ็บปวด หรื อ ความขัดแย้ง
•ความอดกลั้น เมื่อพบสิ่ งเย้ายวนใจ
•ความยุติธรรม เมื่อสมาคนกับผูอ้ ื่น
วิมุตินิยม : ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่มีความสงบ (ต่อ)
ความพอใจของมนุษย์ถูกกาหนดโดยปัจจัย 2 ประการคือ
• สิ่ งที่เรามี /สิ่ งที่เราต้องการ
วิธีหาความพอใจ มี 2 วิธี คือ
• พยายามขวนขวายให้สิ่งที่เรามีเพิ่มปริ มาณขึ้น
• ลดสิ่ งที่เราต้องการลง
ศีลธรรมนิยม : ชีวิตที่ดี คือ การเป็ นคนดี มีศีลธรรม
•ลักษณะพิเศษที่ทาให้มนุษย์ต่างจากสัตว์โลกชนิดอื่น คือ
การเป็ นสมาชิกของโลกแห่งศีลธรรม มีสานึกผิดชอบชัว่ ดี
และกระทาตามสานึกได้
•การกระทาที่เกิดจากเจตนาดีตอ้ งไม่ใช่เกิดจากความรู้สึก
แม้เกิดประโยชย์กไ็ ม่ใช่การกระทาที่ดีแท้
กลุ่มมนุษยนิยม :
ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่สามารถสร้างดุลยภาพในความหลากหลาย
•ธรรมชาติของชีวติ มีมิติที่หลากหลาย ทั้งร่ างกาย จิตใจ
ปญญาและอารมณ์ความรู้สึก และการดาเนินชีวติ ต้อง
เผชิญกับความหลากหลาย ดังนั้นชีวติ ไม่ควรถูกตีกรอบไว้
ตายตัว เพื่อพุง่ ตรงสู่ เป้ าหมายเดียว
•คนที่มีชีวติ สมบูรณ์คือคนที่มีความพอใจในสิ่ งต่าง ๆ
สามารถประสานกลมกลืนกัน