The Truth of Life 3

Download Report

Transcript The Truth of Life 3

ทฤษฎีสังเขปว่ าด้ วยวิสุทธิ ๗ และ ญาณ ๑๖
(แปลและเรี ยบเรี ยง โดย ธนิต อยู่โพธิ์, 2520)
เมื่อโยคีปฏิบตั ิวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักการในพระสติปัฏฐานสูตร ด้ วยการเดินจงกรมเป็ น
ระยะ และนัง่ กาหนดเป็ นระยะ ด้ วยตนเอง หรื ออยู่ในความแนะนาควบคุมของท่านวิปัสสนาจารย์ก็ตาม
และโยคีผ้ นู ั ้นจะได้ เคยศึกษาเรี ยนรู้พระปริยตั ิธรรมมาก่อน หรื อมิเคยได้ ศกึ ษาเรี ยนรู้ ก็ตาม แต่ถ้าปฏิบตั ิ
ถูกต้ องตามแนวทางแล้ ว จิตใจของท่านก็จะเป็ นสมาธิ ( ขณิกสมาธิ ) มีปีตี ปั สสัทธิ เป็ นต้ น เกิดขึ ้น พร้ อม
ทั ้งรู้เห็นอารมณ์ นิมติ ร และสัณฐาน เกิดสิง่ ที่ท่านกาหนดเรี ยกว่า “สภาวะ” ติดตามมา และสภาวะนั ้นๆ
จะค่อยๆ ปรับปรุงทั ้งร่างกายและจิตใจของโยคีโดยลาดับ ให้ เกิดวิสทุ ธิและญาณเป็ นขัน้ เป็ นตอน ตั ้งแต่
ขั ้นต่าจนถึงขั ้นสูงขึ ้นในตัวของโยคี วิสทุ ธิและญาณดังกล่าวนี ้ถือเป็ นแนวทางสาคัญของการปฏิบตั ิธรรม
เพื่อบรรลุมรรค ผล นิพพาน
วิสทุ ธิ ๗ และญาณ ๑๖ นี ้ ท่านกล่าวว่า เป็ นข้ อปฏิบตั ิที่พระปั จเจกสัมพุทธเจ้ าผู้สร้ างอภินี
หารบารมีมาตลอดเวลา ๒ อสังไขย กับ ๑๐๐,๐๐๐ กัปป์ก็ต้องปฏิบตั ิ เพื่อบรรลุปัจเจกสัมโพธิญาณด้ วย
โดยเฉพาะวิสทุ ธิ ๗ นั ้น ท่านกล่าวเปรี ยบความไว้ ในคัมภีร์สทุ ธิมคั ค์ *** ว่าธรรมประเภท
ต่างๆ เช่น ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรี ย ๒๒ และปฏิจจสมุปบาท เป็ นต้ น เป็ นภูมซิ ึ่งเปรี ยบด้ วย
พื ้นแผ่นดิน (สาหรับเพาะปลูกปั ญญา) วิสทุ ธิ ๒ คือ สีลวิสทุ ธิ และ จิตตวิสทุ ธิเป็ นมูล คือรากเห้ งา (ของ
ปั ญญา) ส่วน วิสทุ ธิอีก ๔ คือ ทิฏฐิ วิสทุ ธิ กังขาวิตรณวิสทุ ธิ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิ และ ปฏิปทา
ญาณทัสสนวิสทุ ธิ เป็ นสรี ระ คือ ลาต้ น (ของปั ญญา) และ ญาณทัสสนวิสทุ ธิ เป็ นยอดหรื อศรี ษะของ
ปั ญญา ซึง่ ปั ญญา ในที่นี ้ หมายถึง วิปัสสนาปั ญญา หรื อ วิปัสสนาญาณ
พระพุทธเจ้ า องค์พระมหาฤษี มิได้ ตรัสว่า สัตว์ทั ้งหลายจักเศร้ าหมอง ด้ วยรูปกายที่เศร้ าหมอง
และเมื่อรูปกายบริสทุ ธิ์ สะอาดแล้ ว จะบริสทุ ธ์สะอาด แต่ตรัสไว้ ว่า สัตว์ทั ้งหลายจักเศร้ าหมองด้ วยจิตใจที่
หมองเศร้ า และจะบริสทุ ธิ์ เมื่อจิตใจบริสทุ ธิ์
ถ้ าจิตใจไม่บริสทุ ธิ์สะอาด คือ ยังมีราคะ โทสะ โมหะ มัจฉริยะ อวิชชา เป็ นต้ น อยู่ใน
ความคิด ในทางพระพุทธศาสนา ถือว่า เป็ นผู้ไม่บริสทุ ธิ์
วิธีที่จะทาจิตใจของเราให้ บริสทุ ธิ์สะอาด ปราศจากกิเลศมลทิน ตามหลักพระพุทธศาสนา
นั ้น มีอยู่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงตรัสบอกทางปฏิบตั ิไว้ ในโอกาสต่างๆ หลายสานวน ตามอัธยาศัยของ
ผู้ฟัง แต่ที่ทรงหมายถึงทางคือหลักการ สาหรับปฏิบตั ิเพื่อดาเนินไปสูค่ วามบริสุทธิ์ คือ มรรค ผล นิพพาน
มีอยู่ทางเดียว ซึง่ ทรงตรัสไว้ ในพระสติปัฏฐานสูตรว่า
ดูก่อนพระภิกษุทั ้งหลาย ทางนี่เป็ นทางเดียว เพื่อความบริสทุ ธิ์ของสัตว์ทั ้งหลายเพื่อระงับ
ความโศกและความคร่ าครวญ เพื่อดับทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายะ (คือ อริยมรรค) เพื่อเห็นแจ้ ง
พระนิพพาน ทางเดียวนี ้คือ สติปัฏฐาน ๔ “ได้ แก่ การปฏิบตั ิสติปัฏฐาน ด้ วยการกาหนดการตามดูกาย
เวทนา จิต ธรรม ตามหลักในการปฏิบตั ิวิปัสสนากัมมัฏฐาน
ปรากฏการณ์ของวิสทุ ธิ ๗ และ ญาณ ๑๖ จะเกิดขึ ้นเป็ นขั ้นเป็ นตอนตรงตามที่กล่าวไว้ ใน
คัมภีร์อภิธมั มัตถสังคหะ โดยมีลาดับดังต่อไปนี ้
(๑) สีลวิสทุ ธิ (ความบริสทุ ธิ์ของศีล)
(๒) จิตตวิสทุ ธิ (ความบริสทุ ธิ์ของจิต)
(๓) ทิฎฐิ วิสทุ ธิ (ความบริสทุ ธิ์ของความเห็น)
๑. นามรูปปริจเฉทญาณ – ปั ญญารู้ รูปและนาม
(๔) กังขาวิตรณวิสทุ ธิ (ความบริสทุ ธิ์ด้วยข้ ามพ้ นความสงสัย)
๒. ปั จจยปริคคหญาณ – ปั ญญารู้ว่านามและรูปต่างก็เป็ นปั จจัยซึง่ กันและกัน
(๕) มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิ (ความบริสทุ ธิ์ด้วยความรู้ ความเห็น ว่าเป็ นทางปฏิบตั ิที่ถกู และไม่ถกู )
๓. สัมมสนญาณ – เป็ นอนัตตา บังคับไม่ได้ จะต้ องเป็ นไปตามกฎของมัน เกิดขึ ้นมาแล้ วก็ดบั ไป
๔. (ก) อุทยพยญาณ (อย่างอ่อน) – เห็นรูป-นามเกิดดับ
(๖) ปฏิปทาญาณทัสสนวิสทุ ธิ (ความบริสทุ ธิ์ของความรู้ ความเห็น ในทางปฏิบตั ิที่ถกู )
๔. (ข) อุทยพยญาณ (อย่างแก่)
๕. ภังคญาณ – ปั ญญาเห็นแตกดับไปอย่างละเอียดขึ ้นแต่ก่อน
๖. ภยญาณ – มีปัญญาเห็นรูปนามดับไปเป็ นไฟน่ากลัว
๗. อาทีนวญาณ – ปั ญญาเห็นรูปนามดับไปเป็ นทุกข์เป็ นโทษ ไม่ปรารถนายึดมัน่
๘. นิพพิทาญาณ - ปั ญญาเห็นรูปนามดับไปน่าเบื่อหน่าย
๙. มุญจิตกุ มั ยตาญาณ – ปั ญญาอยากไปให้ พ้น รูป-นาม
๑๐. ปฏิสงั ขาญาณ – ปั ญญาหาทางหนีจากรูปนาม แล้ วพิจารณาหาทางที่เป็ นอุบาย
๑๑. สังขารุเบกขาญาณ – ปั ญญาเห็นว่า ไม่มีเป็ นของตน ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ของเขา
๑๒. อนุโลมญาณ – ปั ญญารู้อริยสัจ โดยอนุโลมปฏิโลม กลับไปและกลับมา
๑๓.โคตรภูญาณ (โดยอนุโลม) – ปั ญญาที่สามารถทาลายกิเลสบิดบังความจริงไว้
สามารถน้ อมไปสูน่ ิพพานได้
(๗) ญาณทัสสนวิสทุ ธิ (ความบริสทุ ธิ์ของความรู้ ความเห็น)
๑๔. มัคคญาณ – ปั ญญากาจัดกิเลส ที่มีนิพพานเป็ นอารมณ์
๑๕. ผลญาณ (นับเข้ าในญาณทัสสนวิสทุ ธิโดยอนุโลม) – ปั ญญาเกิดขึ ้นติดกันกับ
มรรคจิต ( มรรคญาณ )
๑๖. ปั จจเวกขณญาณ ( เป็ นโลกียะ ไม่นบั เข้ าอยู่ในญาณทัสสนวิสทุ ธิ )
สุทธิ ๗ และญาณ ๑๖ นี ้ ท่านกล่าวว่า เป็ นข้ อปฏิบตั ิที่พระปั จเจกสัมพุทธเจ้ าผู้สร้ างอภินีหารบารมี
มาตลอดเวลา ๒ อสังไขย กับ ๑๐๐,๐๐๐ กัปป์ก็ต้องปฏิบตั ิ เพื่อบรรลุปัจเจกสัมโพธิญาณด้ วย
ธรรม ซึง่ มีอานาจในการละกิเลสและสัญโญชน์ได้
เมื่อเบื่อหน่าย ก็ปราศจากกาหนัดเพราะปราศจากการกาหนัด จึงหลุดพ้ นไป ครัง้ หลุดพ้ นแล้ ว ก็เกิด
ญาณกาหนดรู้ว่าหลุดพ้ นแล้ ว
“ อาวุโส, ก็ฉนั นั ้นเช่นกันแล สีลวิสทุ ธิ ก็เพื่อประโยชน์แก่จิตตวิสทุ ธินั ้นเอง, จิตตวิสทุ ธิ ก็เพื่อประโยชน์
แก่ทิฏฐิ วิสทุ ธินั ้นเอง, ทิฏฐิ วิสทุ ธิ ก็เพื่อประโยชน์แก่สงั ขาวิตรณวิสทุ ธินั ้นเอง กังขาวิตรณวิสทุ ธิก็เพื่อประโยชน์แก่มคั
คามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธินั ้นเอง, มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิเพื่อประโยชน์แก่ปฏิปทาญาณทัสสนวิสทุ ธินั ้นเอง,
ปฏิปทาทัสสนวิสทุ ธิ ก็เพื่อประโยชน์แก่ญาณทัสสนวิสทุ ธินั ้นเอง, ญาณทัสสนวิสทุ ธิก็เพื่อประโยชน์แก่อนุปาทา
ปรินิพพานนั ้นเอง, อาวุโส ข้ าพเจ้ าอยู่พรหมจรรย์ในพระผู้มพี ระภาคเจ้ า เพื่ออนุปาทาปรินิพพาน แล”
พระปุณณะ “อาวุโส ข้ าพเจ้ าอยู่พรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคเจ้ า เพื่ออนุปาทาปรินิพพาน
(ปรินิพพานไม่มีอปุ าทาน คือ ไม่มีการยึดถือ ไม่มีเชื ้อ ไม่มีปัจจัย ) แล”
ลาดับสมาธิและญาณ
ในการปฏิบัตสิ มถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน
สมถยานิกะ (โยคีผ้ ดู าเนินทางสมถะ)
รูปฌาน ๔
อรูปฌาน ๔
(เว้ นแนวสัญญานาสัญญาตนะ)
ปาทกะฌานสมาธิ
ตรุณวิปัสสนาญาณ คือ
๑.
นามรูปปริจเฉทญาณ
๒.
ปั จจยปริคคหญาณ
๓.
สัมมสนญาณ
๔.
(ก) ตรุณอุทยพยญาณ
พลววิปัสสนาญาณ คือ :
( ข ) พลวอุทยพยญาณ
๕. ภังคญาณ
๖. ภยญาณ
๗. อาทีวญาณ
๘. นิพพิทาญาณ
๙. มุญจิตกุ มั ยตาญาณ
๑๐. ปฏิสงั ขาญาณ
๑๑. สังขารุเบกขาญาณ
๑๒. อนุโลมญาณ
๑๓. โคตรภูญาณ
๑๔. มัคคญาณ
๑๕. ผลญาณ
๑๖. ปั จจเวกขณญาณ
การที่โยคีผ้ ปู รารถนาจะบรรลุหรื อผ่านวิสทุ ธิ ๗ และญาณ ๑๖ และได้ รับอานิสงส์เช่นกล่าวไว้ ใน
หนังสือ “วิปัสสนานิยม” นั ้น เป็ นความปรารถนาโดยชอบ และเป็ นไปได้ อย่างเที่ยงแท้ แน่นอน หากโยคีนั ้นๆ
พากเพียรเดินจงกรมด้ วยการกาหนดเป็ นระยะๆ และนัง่ สมาธิกาหนดเป็ นระยะๆ จะเกิดสภาวะปรับปรุ งทั ้ง
ร่างกายและจิตใจของโยคีเอง ให้ มีปรากฏการณ์เกิดขึ ้นภายในตัวของท่าน เป็ นอัตตปั จจักขะ คือ ประสบพบเห็น
เป็ นประจักษ์ ด้วยตัวของท่านเอง และเมื่อสภาวะธรรมนั ้นๆ ซึง่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเรี ยกว่า อินทรี ย และ พละ
ภายในตัวของท่านประณีตเข้ าๆ และพร้ อมเพียงสม่าเสมอกัน โยคีผ้ นู ั ้นก็จะผ่านวิสทุ ธิและญาณต่างๆ ตามชื่อที่
ระบุไว้ ข้างต้ น เป็ นขั ้นเป็ นตอนไปโดยลาดับ ท่านเปรี ยบไว้ เหมือนการเดินทางไปสูท่ ี่หมายปลายทางโดยเปลี่ยน
รถเดินทาง ๗ ผลัด หรื อขึ ้นอาคารหรื อปราสาท ๗ ชั ้น หรื อเปรี ยบเหมือนขึ ้นบันได ๑๖ ขั ้น
หรื อเปรี ยบเทียบญาณ ๑๖ เหมือนขึ ้นบันได ๑๖ ขั ้นก็ตาม ความจริงวิสทุ ธิ ๗ และญาณ ๑๖ ดังกล่าวนั ้น
โดยเฉพาะสภาวะของวิสทุ ธิและญาณได้ เกิดขึ ้นและวิ่งพล่าน ขึ ้น ๆ ลง ๆ แล้ วๆ เล่า ๆ อยู่ในตัวของโยคีผ้ นู งั่ หรื อนอน
กาหนดอยู่นั ้นเอง มิใช่เกิดหรื อวิ่งไป ณ ที่ใด สมดังพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงตรัสไว้ (ส. มหาวาร. ๑๙/๘) ว่า “
เอตทตฺตนิ สมฺภตู พฺรหฺมยาน อนุตฺตร “ “ยานคือรถอันประเสริฐ ยอดเยี่ยมนี่ เกิดขึ ้นเองในตัวเรา”
ถาม- ตอบ ปั ญหาธรรม (หลวงพ่ อพุธ ฐานิโย)
ถาม
หลวงพ่อครับ บางคนภาวนาได้ ฌาน ๔ ถ้ าจิตจะพัฒนาขึ ้นไปก็เป็ นอรูปฌาน ๑ กับโคตรภูญานใช่ไหมครับ?
ตอบ
ใช่ ถ้ ามันไปสายวิปัสสนาก็เป็ นโคตรภูญาน ถ้ าไปสายสมถะก็เป็ นฌาน โคตรภูญานก็เป็ นฌานเหมือนกัน
แต่ว่าฌานที่ประกอบด้ วยปั ญญา แต่ฝ่ายฌานสมาบัติมนั สงบนิ่งเงียบไปเฉยๆ แต่ว่าโคตรภูญานมันจะ
ปรากฏเหตุการณ์สงิ่ รู้ทั ้งหลายขึ ้น ทาให้ จิตรู้แจ้ งเห็นจริง รู้เค้ ารู้เงื่อนของอวิชชา รู้ว่าสัตว์ตาย เกิดเพราะ
อะไร ทาไมสัตว์จงึ เป็ นไปต่างๆกัน บ้ างก็เกิดเป็ นสัตว์ บ้ างก็เกิดเป็ นมนุษย์ บ้ างก็เกิ ดเป็ นเทวดา เพราะอะไร
มันจะค้ นคว้ าของมันเรื่ อยไป
http://mahamakuta.inet.co.th/practice/mk723.html
ราลึกถึงหลวงพ่ อพุธ (ฐานิโย)
หลักการปฏิบัตสิ มาธิภาวนา
๑. ต้ องมีศีล๕ สมบูรณ์ ศีล๕ ที่สมบูรณ์จะทาให้ เป็ นมนุษย์สมบูรณ์ ๑๐๐
เปอร์ เซ็นต์ ใครจะเพิ่มเป็ น ศีล๘ ศีล๑๐ หรื อ๒๒๗ ก็ได้ ตามฐานะ แต่อย่างน้ อย
ศีล๕ ต้ องสมบูรณ์
๒. การบริกรรมภาวนา คือการฝึ กให้ จิตมีที่เกาะ เรี ยกว่า วิหารธรรม เป็ น
เครื่ องอยู่ของจิต เมื่อหายใจเข้ าบริกรรมคาว่า พุท เมื่อหายใจออกบริกรรม
คาว่า โธ บริกรรมไปทุกลมหายใจเข้ าออก ทุกอิริยาบถ ทั ้งยืน เดิน นัง่ นอน กิน
ดื่ม ทา พูด คิด จนกระทัง่ ชานาญ คือจิตบริกรรมคาว่า พุท โธ เอง ตลอด เวลา
แม้ แต่เวลานอนหลับ
๓. การสอนให้ จติ ทางาน คือการพิจารณา บางท่านจิตจะไปพิจารณาเอง
เมื่อจิตอิ่มคาบริกรรม คือจิตจะหยุดบริกรรมเอง จะมีแต่สติ(ตัวรู้)อยู่ ใช้ สติ
ตัวนี ้ไปดู (พิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่ง)ในสติปัฏฐาน๔ (กาย เวทนา จิต ธรรม)
การพิจารณา (ดู) กาย เช่น อานาปานสติ คือ การเห็นลมหายใจเข้ า
ลมหายใจออก ไม่มีคาบริกรรมเลย หรื อ อิริยาบถ (คือรู้ว่าเรากาลังอยู่อย่างไร
ยืน เดิน นัง่ นอน หรื อกาลังเคลื่อนไหวอย่างไรอยู่ หรื อ ดูอาการ๓๒ หรื อ
พิจารณากายประกอบด้ วยธาคุ๔ ดิน น ้า ไฟ ลม หรื อ พิจารณาซากศพ ให้ ดู
อย่างใดอย่างหนึ่ง จนกระทัง่ เห็นอย่างชัดเจน เห็นการเกิดของสิง่ ที่กาลังดูอยูบ่ ้ าง
เห็นการดับของสิง่ ที่กาลังดูอยู่บ้าง มีสติชดั อยู่ ว่าสิง่ ที่กาลังเห็นอยู่นั ้นเป็ นเพียง
อะไรอย่างหนึ่ง ที่กาลังเกิด ที่กาลังดับ สิง่ นั ้นเป็ นเพียงอะไรอย่างหนึ่ง
ก็ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา สิง่ นั ้นมีเพื่อเป็ นเครื่ องรู้ของสติเท่านั ้น
การพิจารณาดู เวทนา เมื่อสุขก็ร้ ูว่าสุข เมื่อทุกข์ก็ร้ ูว่าทุกข์ เมื่อเฉย ๆ
ก็ร้ ูว่าเฉย ๆ เห็นสุข ทุกข์ หรื อเฉย ๆชัดอยู่ เมื่อมันกาลังเกิดก็เห็นชัด
เมื่อมันกาลังดับก็เห็นชัด เห็นเช่นนี ้ไปเรื่ อยๆ จนจิตรู้ว่ามันก็เป็ นเพียง
อะไรอย่างหนึ่ง ที่กาลังเกิด ที่กาลังดับ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันสักแต่ว่า
เป็ นอย่างนั ้นเอง เวทนามีอยู่จริงแต่เพียงเป็ นเครื่ องรู้ของสติเท่านั ้น
การพิจารณาจิต ก็เช่นเดียวกัน เมื่อจิตโกรธ จิตโลภ จิตหลง จิตสงบ
จิตฟุ้งซ่าน จิตคิดอะไรก็ตาม เราก็ใช้ สติ รู้ เห็น มันชัดอยู่ เห็นมันกาลังเกิด
เห็นมันกาลังดับ มันก็เป็ นเพียงอะไรอย่างหนึ่ง ที่กาลังเกิด ที่กาลังดับ
ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันเป็ นเพียงเครื่ องรู้ของสติ เท่านั ้น
พิจารณาธรรม เช่น นิวรณ์๕ ขันธ์๕ อายตนะ๖ อริยสัจจ์๔ โพชฌงค์๗
เป็ นต้ น เห็นแต่ละอย่างแต่ละตัวชัด เห็นความเกิดของธรรมข้ อนั ้นๆ ชัด
เห็นความดับของธรรมข้ อนั ้นๆ ชัด ธรรมนั ้นๆ เป็ นแต่เพียง อะไรอย่างหนึ่ง
ที่กาลังเกิด ที่กาลังดับ ไม่เป็ นสิง่ ที่เรารู้ ไม่ใช่สงิ่ ที่เราได้ มันเป็ นอย่างนั ้นเอง
เกิดๆ ดับๆ มีธรรมอยู่จริงก็สกั แต่ว่า เป็ นเครื่ องรู้ของสติ เท่านั ้นเอง
>>> สุดท้ าย.. เห็นอะไร รู้อะไร มันก็เป็ นอย่างนั ้นเอง...<<<
ทุกอย่างที่เห็น เกิด ดับ ล้ วนผ่านเข้ ามาเป็ นเครื่ องรู้ของสติ เท่านั ้น
มันเป็ นไป ตามธรรมชาติ
http://www.oknation.net/blog/saran/2010/02/23/entry-1
ญาณ16 หรือ โสฬสญาณ เป็ นการรวบรวมลาดับญาณขึ ้นในภายหลังโดยพระอรรถ
กถาจารย์ เพื่อเป็ นการจาแนกให้ เห็นลาดับญาณหรื อภูมริ ้ ูภมู ธิ รรมทางปั ญญาที่เกิดขึน้
ญาณที่ 1 เรี ยกว่ า นามรู ปปริจเฉทญาณ เป็ นญาณที่มีความรู้ความเข้ าใจในเรื่ อง รูปธรรมนามธรรม คือ
มองเห็นความต่างกันของธรรมชาติ 2 อย่าง คือเห็นรูปก็เป็ นลักษณะธรรมชาติอย่างหนึ่ง เห็นนามก็เป็ นลักษณะ
ธรรมชาติอย่างหนึ่ง
ญาณที่ 2 เรี ยกว่ า ปั จจยปริคคหญาณ คือ เห็นเหตุปัจจัยของรูปนาม คือจะเห็นว่า รูปนามนีเ้ ป็ นเหตุเป็ น
ปั จจัยซึง่ กันและกัน มีความเกี่ยวข้ องเป็ นปั จจัยกันเช่นขณะที่การก้ าวไปๆ การคู้ การเหยียด การเคลื่อนไหว
ต่างๆ เป็ นไปเพราะว่ามีธรรมชาติอย่างหนึ่งเป็ นตัวเหตุปัจจัย คือมีจิต จิตปรารถนาจะให้ กายเคลื่อนไหว กายก็
เคลื่อนไหวไป จิตปรารถนาจะยืน กายก็ยืน จิตปรารถนาจะเดิน กายก็เดิน จิตปรารถนาจะนอน กายก็นอน คือ
ลมก็ไปผลักดันให้ กายนั ้นเป็ นไป อย่างนี ้เรี ยกว่า นามเป็ นปั จจัยให้ เกิดรูป นามคือจิตใจเป็ นปั จจัยให้ เกิดรูป
ญาณที่ 3 สัมมสนญาณ ในสมมสนญาณนี ้ก็เป็ นญาณที่เห็นไตรลักษณ์ คือเห็นอนิจจัง ความไม่เที่ยงของรูป
นาม เห็นทุกขัง คือความทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ของรูปนาม เห็นอนัตตา ความบังคับบัญชาไม่ได้ ของรูปนาม
แต่ว่าการเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในญาณที่ 3 นี ้ยังเอาสมมุติบญ
ั ญัติมาปน ยังมีสตุ มยปั ญญา ปั ญญาที่เกิด
จากการได้ ฟังมา เอาจินตามยปั ญญาความตรึกนึกคิดมาปนอยู่ด้วย
ญาณที่ 4 คือ อุทยัพพยญาณ ในอุทยัพพยญาณนี ้ ก็แบ่งเป็ น 2 ตอนเป็ น ตรุณอุทยัพพยญาณ อย่างหนึ่ง กับเป็ น
พลวอุทยัพพยญาณ อย่างหนึ่ง คือ เป็ นอุทยัพพยญาณอย่างอ่อน กับอุทยัพพยญาณอย่างแก่ ญาณ ที่ 4 อย่างอ่อน
คือตรุณอุทยัพพยญาณนี ้ ก็จะทาให้ เกิด วิปัสสนูปกิเลสขึ ้น ที่จะทาให้ วิปัสสนาเศร้ าหมอง วิปัสสนูปกิเลส คือกิเลสที่
จะทาให้ วิปัสสนาเศร้ าหมอง คือทาให้ วิปัสสนาไม่เจริญขึ ้น จะไม่ก้าวหน้ า ส่วนใน ญาณที่ 4 อย่างแก่ก็จะเห็นความ
เกิดดับของรูปนาม มีความบริสทุ ธิ์ของการเห็น เห็นรูปเกิดขึ ้นดับไป เกิดขึ ้นดับไป ไม่ว่าจะเป็ นทางตา ทางหู ทาง
จมูก ทางลิ ้น ทางกาย ทางใจ
ญาณที่ 5 เรี ยกว่ า ภังคญาณ ในภังคญาณนี ้จะเห็นแต่ฝ่ายดับ เห็นรูปนามนั ้นดับไป ดับไปด้ วยความเร็วเพราะรูป
นามเกิดดับรวดเร็วถี่มาก
ญาณที่ 6 เรี ยกว่ า ภยญาณ จะเห็นรูปนามที่มนั ดับไปนั ้นแต่เกิด ความรู้สกึ ขึ ้นในใจว่าเป็ นภัยเสียแล้ ว เห็นว่ามัน
เป็ นภัย ก่อนนั ้นเคยหลงไหล แต่ตอนนี ้รู้สกึ ว่าเป็ นภัย
ญาณที่ 7 อาทีนวญาณ ก็จะเกิดความรู้สกึ ว่าเป็ นโทษ ในขณะที่เห็นรูปนามดับไป ดับไป เกิดความรู้สกึ ว่าเป็ นโทษ
นอกจากจะเห็นภัยแล้ ว ยังรู้สกึ ว่าเป็ นโทษอีก
ญาณที่ 8 คือ นิพพิทาญาณ นิพพิทาญาณนี ้จะรู้สกึ เบือ่ หน่าย ในเมื่อรูปนามเป็ นภัยเป็ นโทษมันก็ร้ ูสกึ เบื่อหน่าย
ไม่ได้ ติดใจเลยในรูปนาม นี ้ มันน่าเบื่อจริงๆ แต่ก็ไม่หนี ไม่ท้อถอย ก็ยงั คงดูต่อไป แต่บางคนก็อาจจะเลิกรา เบื่อ
มากๆ เข้ า เมื่อเพียรพยายามต่อไปก็จะขึ ้นญาณที่ 9
ญาณที่ 9 มุญจิตุกัมยตาญาณ คือ มีความรู้สกึ ใคร่จะหนีให้ พ้น เมื่อมันเบื่อแล้ วก็ใคร่จะหนี มีความรู้สกึ อยากจะ
หนีไป เหมือนบุคคลที่อยู่ในกองเพลิง มันก็อยากจะไปให้ พ้นจากกองเพลิงเหล่านี ้ จากนั ้นเมื่อเพียรพยายามต่อไปก็
จะขึ ้นญาณที่ 10
ญาณที่ 10 ปฏิสังขาญาณ ในปฏิสงั ขาญาณนี ้มันจะหาทางว่าทาอย่างไร ถึงจะพ้ นได้ ในเมื่อตอนแรกมันใคร่จะหนี
พอถึงญาณอันนี ้ก็หาทางที่จะหลุดพ้ นให้ ได้ เมื่อเพียรพยายามต่อไป ก็จะขึ ้นถึงญาณที่ 11
ญาณที่ 11 สังขารุ เปกขาญาณ สังขารุเปกขาญาณนี ้ มีลกั ษณะวางเฉยต่อรูปนาม คือเมื่อกาหนดรู้ หาทางหนี หนี
ไม่พ้น ยังไงก็หนีไม่พ้น ก็ต้องดูเฉยอยู่ การที่ดเู ฉยอยู่นี ้ทาให้ สภาวจิตเข้ าสูค่ วามเป็ นปกติในระดับสูง ไม่เหมือน
บุคคลทัว่ ไป บุคคลทัว่ ไปเวลาเกิดเห็น ทุกข์เห็นโทษเห็นภัยนี ้สภาวะของจิตใจจะดิ ้นรนไม่ต้องการ จะกระสับกระส่าย
ดิ ้นรน แม้ แต่ในวิปัสสนาญาณก่อนหน้ าสังขารุเปกขาญาณ ก็ยงั มีลกั ษณะความดิ ้นรนของจิต คือยังมีความรู้สกึ
อยากจะหนี อยากจะให้ พ้นๆ สภาวะของจิตยังไม่อยู่ในลักษณะที่ปกติจริงๆ มันก็หลุดพ้ นไม่ได้ แต่เมื่อมันดูไปจนถึง
แก่กล้ าแล้ วไม่มีทางก็ต้องวางเฉยได้ ซึง่ ในขณะที่เห็นความเกิดดับเป็ นภัยเป็ นโทษน่าเบื่อหน่ายอยูอ่ ย่างนั ้นมันก็ ยัง
วางเฉยได้ แม้ จะถูกบีบคั ้นอย่างแสนสาหัส แทบจะขาดใจมันก็วางเฉยได้ เมื่อวางเฉยได้ มนั ก็จะก้ าวขึ ้นสูญ
่ าณที่ 12
ญาณที่ 12 อนุโลมญาณ เป็ นญาณที่เป็ นไปตามอานาจกาลังของอริยสัจจ์ที่จะสอดคล้ องต่อไปในโลกุตตรญาณ
จากนั ้นก็จะก้ าวขึ ้นสูญ
่ าณที่ 13 เรี ยกว่า โคตรภูญาณ
ญาณที่ 13 โคตรภูญาณ คือญาณที่มีหน้ าที่โอนโคตรจากปุถชุ นก้ าวสูค่ วามเป็ นอริยะ ในขณะนัน้ จะทิ ้งอารมณ์ที่
เป็ นรูปนามไปรับนิพพานเป็ นอารมณ์ แต่ว่าโคตรภูญาณยังเป็ นโลกิยะอยู่ ตัวมันเองเป็ นโลกิยะ แต่มนั ไปมีอารมณ์
เป็ นนิพพาน แล้ วจากนั ้นก็จะเกิดมัคคญาณขึ ้นมา
ญาณที่ 14 มัคคญาณ มัคคญาณนี ้เป็ นโลกุตตรญาณ จะทาหน้ าที่ประหารกิเลสระดับอนุสยั กิเลส ทาหน้ าที่ร้ ูทกุ ข์
ละเหตุแห่งทุกข์ แจ้ งนิโรธความดับทุกข์ เจริญตนเองเต็มที่ คือองค์มรรค 8 มีการประชุมพร้ อมกัน ทาหน้ าที่ละอนุสยั
กิเลสแล้ วก็ดบั ลง มีนิพพานเป็ นอารมณ์
ญาณที่ 15 ผลญาณ ผลญาณเป็ นโลกุตตรญาณ เกิดขึ ้นมา 2 ขณะ เป็ นผลของมัคคญาณ ทาหน้ าที่รับ
นิพพานเป็ นอารมณ์ 2 ขณะ แล้ วก็ดบั ลง
ญาณที่ 16 ปั จจเวกขณญาณ ญาณพิจารณา มรรค ผล นิพพาน เป็ นโลกิยญาณ ญาณพิจารณา เหมือน
คนที่ผ่านเหตุการณ์อะไรมา ก็จะกลับพิจารณาสิง่ ที่ผา่ นมา แต่ญาณนี ้ พิจารณามรรคที่ตนเองได้ พิจารณา
ผลที่ตนเองได้ พิจารณาพระนิพพาน และถ้ าคนมีหลักปริยตั ิ ก็จะพิจารณากิเลสอันใดที่ละไปได้ แล้ ว กิเลส
อันใดที่ยงั เหลืออยู่ และถ้ าคนไม่มีหลักปริยตั ิก็พิจารณาแค่ มรรค ผล นิพพาน ในระหว่างที่ญาณก้ าวขึ ้นสู่
อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปั จจเวกขณญาณนี ้ ท่านก็อปุ มาให้ ฟังเหมือนกับบุคคลที่
จะก้ าวกระโดดข้ ามฝั่ ง แต่เมื่อกล่าวถึงวิปัสสนาญาณโดยเฉพาะ อันหมายถึงญาณที่นบั เข้ าใน
วิปัสสนา หรื อญาณที่จดั เป็ นวิปัสสนา จะมีเพียง 9 ขั ้น หรื อเรี ยกว่า วิปัสสนาญาณ9 นั ้น เป็ นการจาแนก
แตกธรรม ที่จดั แสดงเน้ นว่าญาณใดใน โสฬสญาณทัง้ 16 ข้ างต้ น ในส่วนที่เป็ นวิปัสสนาหรื อการปฏิบตั ิ
หรื อวิธีการเรื องปั ญญาในการดับ ทุกข์ กล่าวคือ ข้ อ 4- 12 ตั ้งแต่ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ถึง สัจจานุโล
มิกญาณ นั ้นเอง
ข้ อมูลส่วนหนึ่ง จาก หนังสือ วิปัสสนาภูมิ พระครูเกษมธรรมทัต (สุรศักดิ์ เขมรังสี)
http://www.dharma.in.th