กิเลส - วัด หนอง ส วง

Download Report

Transcript กิเลส - วัด หนอง ส วง

BU ๕๐๐๘ การปฏิบต
ั ก
ิ รรมฐาน
พระครูสุธวี รสาร
(อุธ ฐิตปญฺโญ)
การศึ กษา
น.ธ.เอก
ป.ธ. ๔
ศน.บ. รัฐศาสตรการปกครอง
์
ศษ.ม. การบริหารการศึ กษา
ปร.ด. การบริหารการศึ กษา
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
Tel. ๐๘-๗๘๕๘-๕๑๓๘
E mail :
[email protected]
ตาแหน่ง
เจ้าอาวาสวัดหนองสวง
เจ้าคณะอาเภอหนองกุงศรี
(ธรรมยุต)
อาจารยประจ
าวิทยาลัยฯ
์
หัวหน้าฝ่ายบริหาร
1
ขอตกลงเบื
อ
้ งตน/ผลการเรี
ยน
้
้
ระดับคะแนน
๖๐/๔๐
- มาเรียนไมขาด
๑๕
่
คะแนน
- งานเดีย
่ ว (แผนป
่ ้ าย) ๒๐
คะแนน
- งานกลุม
๑๕
่
คะแนน
- สอบกลางภาค
๒๐
คะแนน
- สอลปลายภาค
๓๐
คะแนน
- รวมคะแนนตามเกณฑนี
้
์
10/04/58
๑๐๐
คะแนน การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
ระดับเกรด
 80-100
A
 75-79





โดย พระครูสุธวี รสาร 11

3.50
70-74
65-69
2.50
60-64
55-59
1.50
50-54
0-49
F
4
B+
B
C+
3
C
D+
2
D
1
ลงเรียน 2
การปฏิบต
ั ก
ิ รรมฐาน
 กรรมฐานมาจากคาวา่
“กรรม+ฐาน” (การกระทา-ทีต
่ ง้ั )
๑. กรรม
หมายถึง
การกระทา
ในทีน
่ ี้มงหมาย
ุ่
การทาความเพียรทางจิตใจ
เพือ
่ อบรม
ขัด
เกลากิเลส
ทีเ่ ป็ นสาเหตุหลักแหงทุ
่ กขทั
์ ง้ ปวง
๒. ฐาน
หมายถึง
ทีต
่ ง้ั
ในทีน
่ ี้หมายเอาอารมณ ์
ของวิปส
ั สนา ไดแก
้ ขั
่ นธ ์ ๕, อายตนะ ๑๒, ธาตุ ๔,
อินทรีย ์ ๒๒, ปฏิจจสมุปปบาท ๑๒, อริยสั จ ๔ เพือ
่
เป็ นฐานในการเจริญวิปส
ั สนาตามแนวมหาสติปฏ
ั ฐาน ๔
(กาย, เวทนา, จิต, ธรรม)
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
3
บทที่ ๑ กัมมัฏฐานและวิธ ี
ปฏิบต
ั ใิ นพระไตรปิ ฎก
๑. กัมมัฏฐานคืออะไร
๔.
จุดมุงหมายของกั
มมัฏฐาน
่
๑.๑
ความหมายของ ๔.๑
เป็ นหลักปฏิบต
ั เิ พือ
่ ทาให้
กัมมัฏฐาน
จิตสงบจากกิเลส
๑.๒
ความหมายของ ๔.๒
เป็ นวิธก
ี ารปฏิบต
ั เิ พือ
่ ให้
กัมมัฏฐานในอรรถกถา
หลุดพนจากกิ
เลส
้
๒. กัมมัฏฐานและคาที่
๔.๓
เป็ นหลักปฏิบต
ั เิ พือ
่ ความ
เกีย
่ วของ
้
หลุดพนเข
าสู
พระนิพพาน
้
้
่
๒.๑
สมาธิ
๕.วิธป
ี ฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐานใน
๒.๒
ภาวนา
พระไตรปิ ฎก
๓. ประเภทของกัมมัฏฐาน
๕.๑
การเจริญสมาธิวธิ ี
ธรรมชาติ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
๕.๒ การเจริญสมาธิตามหลัก 4
แนวคิด
๑. กัมมัฏฐาน
เป็ นคาทีม
่ งหมายถึ
ุ่
งวิธก
ี ารฝึ กอบรมจิตและ
วัตถุทใี่ ช้ในการฝึ กจิต คาทีใ่ ช้แทนกันคือ สมาธิ/
ภาวนา
๒. กัมมัฏฐาน
ในคัมภีรพระพุ
ทธศาสนามี ๒ ประเภท
์
คือ สมถและวิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
๓. การปฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐาน
มีจุดมุงหมายเพื
อ
่ ให้ผูฝึ
่
้ กไดท
้ า
จิตให้สงบ
รูเท
วต
ิ ไมหวั
่ ไหวไป
้ าทั
่ นเหตุการณในชี
์
่ น
ตามสุขทุกขที
้
์ เ่ กิดขึน
๔. การปฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐานในพระไตรปิ ฎก
มีหลัก ๓
ประการคือ
๔.๑
การปฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐานเป็ นไปตามธรรมชาติ
10/04/58
สุธวี รสาร 11
๔.๒ การปฏิการปฏิบบต
ัตั กิ มั ก
ิมัฏฐานม
ั มัโดยฏพระครู
ฐานโดยการใช
้อิทธิบาท ๔
5
กัมมัฏฐานและวิธป
ี ฏิบต
ั ิ
ในพระไตรปิ ฎก
เพือ
่ ทาความเขาใจในหลั
กปฏิบต
ั ท
ิ ี่
้
ถูกตอง
จะกลาวถึ
งเรือ
่ งราว
้
่
พืน
้ ฐานเกีย
่ วกับหลักทฤษฎีของการ
เจริญสมาธิภาวนา
หรือการ
ปฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐานในพระไตรปิ ฎก
และตาราอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วของ
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
6
๑. กัมมัฏฐานคืออะไร
กัมมัฏฐานคืออะไร
คาวา่
“กัมมัฏฐาน” เป็ นคาทีช
่ อบพูดติดปากชาวพุทธ
มานานแลว
ช
่ อบเขาวั
่ ง
้ โดยเฉพาะทานที
่
้ ดฟังธรรมศึ กษาเรือ
การการฝึ กจิต
ความหมายของกัมมัฏฐาน
คาวา่
“กัมมัฏฐาน” แปลตามรากศัพทแล
์ ว
้
หมายถึง
ทีต
่ ง้ั แหงการงานหรื
อทีต
่ ง้ั แหงการกระท
า
่
่
ในประไตรปิ ฎกเป็ นคากลาง ๆ
หมายถึง สถานที่
ประกอบการงานหรือแหลงแห
งการงาน
หรือธุรกิจของผู้
่
่
ครองเรือน หรือวิธก
ี ารเจริญสมาธิก็ได้
ในสุภสูตร
หมายถึง
การดาเนินการในหน้าทีห
่ รือ
10/04/58
ตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูส
สุธวี ถ
รสารและบรรพชิ
7
การประกอบอาชีการปฏิ
พบของคฤหั
ต
์ 11
ความหมายของกัมมัฏฐานในอรรถกถา
พระพุทธโฆษาจารย ์ ผู้รจนาคัมภีรวิ
์ สุทธิมรรค
หมายถึง
การอบรมจิตหรือการเจริญสมาธิ หรืออารมณ ์
กัมมัฏฐาน ๔๐ เพือ
่ เกิดสมาธิ
พระอนุ รุธเถระ ผู้รจนาคัมภีรอภิ
ั มัตถสั งคหะ ๗
์ ธม
คัมภีร ์ หมายถึง
อารมณและวิ
ธเี จริญสมาธิและวิปส
ั สนา
์
เพือ
่ ให้ใจสงบ/เกิดปัญญารูแจ
้ ้ง
ในคัมภีรอภิ
ั มัตถภาวินี
ให้ความหมายไว้ ๒
์ ธม
คือ
๑. อารมณเป็
่ ง้ั ของการกระทา
เพราะเป็ นทาง
์ นทีต
แหงการเจริ
ญภาวนา
่
๒. ลาดับภาวนาเป็ นเหตุใกลของการกระท
า
เพราะ
้
เป็ นเหตุใกลการท
าความเพียรยิง่ ๆ ขึน
้
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
8
กัมมัฏฐานหมายถึงอารมณและวิ
ธเี จริญสมาธิ
์
กัมมัฏฐานหมายถึงอารมณ์
คือ
วัตถุส่ิ งใดสิ่ งหนึ่งทีย
่ ด
ึ เหนี่วจิตไวอั
้ นเป็ น
ทีต
่ ง้ั แหงอารมณ
ให
่
์ ้เกิดสมาธิ หรือวัตถุท ี่
ใช้ฝึ กจิต มีอสิ ณ ๑๐ อสุภะ ๑๐
อนุ สสติ ๑๐ เป็ นตน
้
กัมมัฏฐานหมายถึงวิธก
ี ารเจริญสมาธิ
คือ
วิธก
ี ารอบรมภาวนาอยางถู
กตอง
่
้
โดยยึดสิ่ งแวดลอมภายนอกและภายในที
่
้
อานวยการให้จิตเกิดสมาธิ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
9
๒. กัมมัฏฐานและคาที่
เกีย
่ วของ
้
ในเรือ
่ งการฝึ กจิตนอกจากคาวา่
“กัมมัฏฐาน” เรา
จะไดยิ
่ มายถึงเรือ
่ งการฝึ กจิต
เช่น
้ นหลาย ๆ คาทีห
สมาธิ
การเจริญภาวนา
ดังนี้
สมาธิ
ถือวาเป็
่ ระพุทธเจ้าทรงใช้
่ นศัพทดั
์ ง้ เดิมทีพ
เอง เพราะมีปรากฏในธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ทรงใช้คาวา่
“สั มมาสมาธิ”
เพือ
่ บงบอกถึ
งขอปฏิ
บต
ั ส
ิ ายกลางเพือ
่ บรรลุ
่
้
มรรคผลนิพพาน
ในทางวิชาการวิชาการ
สมาธิ
หมายถึงระดับ
ของจิต
และวิธท
ี ก
ี่ าหนดขึน
้ เพือ
่ กอให
่
้เกิดจิตระดับนั้น ๆ
ขึน
้ มา
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
10
บทสนทนาระหวางพระนางธรรมทิ
นนาเถรีกบ
ั วิสาขอุบาสก
่
(อดีตสามี) ไดสนทนากั
นในระดับของจิตใจความวา่
้
วิสาขอุบาสก
ถามวา่
“ธรรมอะไรเป็ นสมาธิ
อะไรเป็ น
นิมต
ิ แหงสมาธิ
อะไรเป็ นบริขารสมาธิ
สมาธิภาวนาอยางไร
?”
่
่
พระนางธรรมทินนาเถรี
ตอบวา่
“ความทีจ
่ ต
ิ เป็ นสภาพมีอารมณอั
นี้เป็ นสมาธิสติปฏ
ั
์ นเดียว
ฐาน ๔
เป็ นนิมต
ิ แหงสมาธิ
่
สั มมัปปธาน
๔
คือ การมุงมั
่ ทาความชอบ ๔
่ น
ประการ
สั งวรปทาน คือ เพียรระงับการกระทาอกุศล ไมให
้ ( เพียร
่ ้เกิดขึน
ระวัง )
ปหานปทาน คือ เพียรละเลิกอกุศลทีก
่ าลังกระทาอยู่ ( เพียรละ )
อนุ รก
ั ขปทาน คือ เพียรรักษา กุศลธรรม ทีเ่ กิดขึน
้ แลว
้ ( เพียร
รักษา )
ภาวนาปทาน คือ เพียรฝึ กฝนบารุงกุศลธรรม ให้เจริญยิง่ ขึน
้ (
เพี
ยรเจริญ )
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
11
 ภาวนา
เป็ นคาทีบ
่ งถึ
ั เิ พือ
่ ฝึ กจิตอยางเดี
ยว
่ งการปฏิบต
่
เทานั
คานี้ครอบคลุมถึงระบบทัง้ หมดในจิตใจ
เมือ
่ คา
่ ้น
วา่
ภาวนา
ปรากฏในคัมภีรต
ๆ โดยปกติจะบงถึ
์ าง
่
่ ง
การปฏิบต
ั ห
ิ รือการปลูกฝังสมาธิ
 คาวา่
ภาวนา
มักใช้รวมกั
บคาทีบ
่ งถึ
่
่ งอารมณของ
์
กัมมัฏฐาน เช่น
ฌานภาวนา
สมาธิภาวนา
เมตตา
วาภนา
เป็ นตน
เพือ
่ แบงแยกสมาธิ
ชนิดตาง
ๆ
้
่
่
 คาวา่
ภาวนา
นิยมใช้คูกั
จิต
คือ
จิตต
่ บคาวา่
ภาวนา
หมายถึง
การอบรมจิต
หรือการพัฒนาจิต
เป็ นการฝึ กสมาธิอยางมี
ระบบ
ถึงขัน
้ จิตมีพลังยอมสามารถ
่
่
ตานกระแสแห
งความรู
สึ้ กสุขทุกข ์
้
่
 โดยสรุปคาวา่
ภาวนา
จึงหมายถึง
การสะสม
คุณธรรมทัง้ หลายไวในต
น
เพือ
่ ทาทีจ
่ ะบรรลุถงึ พระ
้
้
นิพพาน
และยั
นคโดยาที
่ ุธวี รสาร
พร
10/04/58
การปฏิบง
ตั กิ เป็
มั มัฏฐาน
พระครูสแ
11 หลายใช
12
่
้แทนคาวาสมาธิ
่
๓. ประเภทของ
กัมมัฏฐาน
 ในพระไตรปิ ฎกไดกล
้ วถึ
่ ง
วิชชาภาคิยธรรม
หมายถึง
ธรรมอันเป็ นส่วนแหงการรู
แจ
่
้ ้งสภาวธรรมตาม
ความเป็ นจริง
แบงเป็
่ น ๒ ดังพุทธพจนว
์ า่
“ดูก่อนภิกษุ ทง้ั หลาย ธรรม ๒
อย่าง เป็ นไปในส่วน
แห่งวิชชา
ธรรม ๒ อย่างเป็ นไฉน
คือ
สมถะ
๑, วิปส
ั สนา ๑
 วิชชาภาคิยธรรมเป็ นคาในพระไตรปิ ฎก
ทีใ่ ช้แทนคาวา่
“กัมมัฏฐาน” แตเมื
่ กลาวถึ
งกัมมัฏฐานในคัมภีรทั
่ อ
่
์ ง้ หลาย
ทานก็
ระบุไวโดยเฉพาะว
า่
“กัมมัฏฐาน” มี ๒ ประเภท
่
้
คือ
๑. สมถกัมมัฏฐาน
หมายถึง
การทาใจให้สงบ
ั สนากัม
มับตฏ
ง
การใช้ปัญญา
10/04/58๒. วิปส
การปฏิ
ั กิ มั มัฐาน
ฏฐาน โดย พระครูสุธวี หมายถึ
รสาร 11
13
๔. จุดมุงหมายของ
่
กัมมัฏฐาน
การจะทางานทุกอยางให
่
้สาเร็จตองมี
้
จุดมุงหมาย
การปฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐานก็
่
มีจุดมุงหมายเช
่
่ นเดียวกัน ดังนี้
๑. เพือ
่ ทาให้จิตสงบจากกิเลส
๒. เพือ
่ ให้หลุดพนจากความทุ
กข ์
้
๓. เพือ
่ ความหลุดพนเข
้
้าสู่พระ
นิพพาน
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
14
เพือ
่ ทาให้จิตสงบจากกิเลส
กัมมัฏฐานเป็ นหลักปฏิบต
ั ม
ิ ไี วเพื
่ ทาให้จิตสงบจาก
้ อ
กิเลส ดังทีพ
่ ระพุทธเจ้าตรัสไวว
้ า่
“จิตนี้ผุดผ่อง
แต่ว่าจิตนั้นแลเศร้าหมองจากอุปกิเลสทีจ่ ร
มา
ปุถุชนผู้มิได้สดับ ย่อมไม่ทราบจิตตามความเป็ นจริง
ฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ
ย่อมไม่มีการอบรมจิต”
ตรงกันข้ามอริยาสาวกผู้ได้สดับย่อมมีการอบรมจิต
“เราไม่เป็ นธรรมอืน
่ ทีฝ
่ ึ กแล้ว
คุ้มครองแล้ว
รักษาแล้ว
สั งวรแล้ว
ย่อมเป็ นไปเพือ
่ ประโยชน์อย่าง
ใหญ่หลวงเหมือนจิตทีฝ
่ ึ กดีแล้ว”
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
15
เพือ
่ ให้หลุดพนจากความทุ
กข ์
้
กัมมัฏฐานเป็ นหลักปฏิบต
ั เิ พือ
่ ให้หลุดพน
้
จากทุกข ์
ทาให้รูเห็
กข ์
้ นและเขาใจทุ
้
ตามความเป็ นจริง
พระพุทธเจ้าตรัส
ทุกขไว
ทุกขประจ
า
์ ้ ๒ ประเภท คือ
์
กับทุกขจร
์
๑. ทุกขประจ
า
หมายถึง
ทุกขที
่ า
์
์ ม
พรอมกั
บชีวต
ิ
้
ไดแก
การเกิด
แก่
เจ็บ
้ ่
และตาย
ความทุกขแบบนี
้ไมมี
่ ใครหลีก
์
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
16
๒. ทุกขจร
ไดแก
ทุกขที
ไม่
์
้ ่
์ เ่ กิดจากจิตใจออนแอ
่
อาจทนตอเหตุ
การณนั
๘
ประการ คือ
่
์ ้น ๆ ได้
๑) โสกะ
ความโศก
ความแห้งใจ
ความกระวน
กระวาย
๒) ปะริเทวะ
ความครา่ ครวญ
พิไรราพัน
๓) ทุกขะ
ความเจ็บไขได
้ ป
้ ่ วย
๔) โทมะนัสสะ
ความน้อยใจ
คับแค้นใจ
๕) อุปายาสะ
ความทอแท
กลุมใจ
อาลัยอาวรณ์
้
้
้
๖) อัปปิ เยหิ
สั มปะโยคะ
ความขัดของหมองมั
ว
้
ตรอมใจ
จากการ
ประสบสิ่ งไมเป็
ั
่ นทีร่ ก
๗) ปิ เยหิ
วิปปะโยคะ
ความโศกเมือ
่ พลักพรากจาก
ของรัก
ละภะติ
ความหมนหมองจากการ
10/04/58๘) ยัมปิ จฉัง การปฏิบนะ
ตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครู
สุธวี รสาร 11
17
่
เพือ
่ ความหลุดพนเข
าสู
้
้ ่ นิพพาน
การทากุศลชัน
้ พิเศษในพระพุทธศาสนาทีเ่ รียกวา่
“วิวฏ
ั ฏคามินีกุศล
(การทาความดีทท
ี่ าให้ออกจากวัฏฏะ)
เกิดขึน
้ เพือ
่ เป็ นทางไปสู่ความหลุดพน
หมดกิเลส
เข้าสู่
้
พระนิพพาน
ซึง่ แตกตางจากการท
าทาน
รักษาศี ลทีเ่ ป็ นหลัก
่
ปฏิบต
ั พ
ิ น
ื้ ฐานอันนาไปสู่ความสมบูรณในชี
วต
ิ ของการเวียน
์
วายในสั
งสารวัฏ
่
พุทธพจน์
“ผู้มีปญ
ั ญา
ตัง้ มัน
่ ในศี ล
อบรมจิต
และปัญญาให้เจริญอยู่
มีความเพียร
มีปญ
ั ญารักษาตน
รอด
ผู้นั้นถางรกชัฎนี้ได้
ผู้ใดกาจัดราคะ
โทสะ
อวิชชาเสี ยได้
ผู้นั้นชือ
่ วาผู
่ ้สิ้ นกิเลสแลว”
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
18
๕. วิธป
ี ฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐานใน
พระไตรปิ ฎก
วิธป
ี ฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐานในพระไตรปิ ฎก ทาน
่
แสดงแบบตาง
ๆ ไวดั
่
้ งนี้
๑. การเจริญสมาธิวธิ ธ
ี รรมชาติ
๒. การเจริญสมาธิตามหลักอิทธิบาท ๔
๓. การเจริญสมาธิโดยใช้สติเป็ นตัวนา
ปราโมทย์
10/04/58
ปัสสัทธิ
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
สุข
สมาธิ
19
การเจริญสมาธิดวยวิ
ธี
้
ธรรมชาติ
 ในพระไตรปิ ฎกกลาวถึ
งเหตุของปราโมทย ์
่
อันเป็ นตน
้
ทางแหงสมาธิ
ดงั นี้
่
๑. เกิดจากการประพฤติปฏิบต
ั ต
ิ ง้ั มัน
่ ในศี ล
๒. เกิดจากการไดศึ
ฟังธรรมและปฏิบต
ั ธิ รรม
้ กษาธรรมะ
๓. เกิดจากความสามัคคีปองดองกัน
๔. เกิดจากความสารวมอินทรีย ์
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
20
ผลตัง้ มัน
่
ในศี ล
ดิ บสนิ ดหา
เชื้อมิ ได้
ไม่
เดือดร้อน
เกิ ด
ปราโมทย์
รูเ้ ห็นว่า
หลุดพ้น
อิ่ มใจ
หลุดพ้น
สงบ
สารอก
กิ เลส
มีสุข
เบื่อหน่ าย
มีสมาธิ
รูเ้ ห็นความ
เป็ นจริง
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
21
การเจริญสมาธิตามหลัก
อิทธิบาท ๔
๑. ยึดความพอใจเป็ นใหญ่
เกิดสมาธิดวย
้
จิตเป็ นหนึ่งเดียว เรียกฉันทสมาธิ
๒. ยึดความเพียรเป็ นใหญ่ เกิดสมาธิดวย
้
ความเพียร เรียกวิรย
ิ สมาธิ
๓. ยึดจิตเป็ นใหญ่ เกิดสมาธิดวยการจดจ
อ
้
่
ของจิต
เรียกจิตตสมาธิ
๔. ยึดการสอบสวนเป็ นใหญ่ เกิดสมาธิดวย
้
ตรึกตรอง เรียกวิมงั สาสมาธิ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
22
การเจริญสมาธิโดยใช้สติ
เป็ นตัวนา
ในสติปฏ
ั ฐานสูตรไดให
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐาน ๔
้ ้หลักการปฏิบต
ประการคือ
๑. กายานุ ปส
ั สนา หมายถึง
การรูเท
้ าทั
่ นสิ่ ง
ทีเ่ กิดขึน
้ จากอาการตาง
ๆ ของกายดวยวิ
ธก
ี าร ๖
่
้
อยางคื
อ
่
๑) อานาปานสติ
การกาหนดลมหายใจเขาออกใน
้
รางกายของตน
่
๒) กาหนดอิรย
ิ าบท
คือเมือ
่ ยืน เดิน นั่ง นอน หรือ
รางกายอยู
ในอาการอย
างไร
ก็รชั
ู้ ดในอาการทีเ่ ป็ นอยูนั
่
่
่
่ ้น
ๆ
๓) สั มปชัญญะ คือ กาหนดรูการเคลื
อ
่ นไหวของรางกาย
้
่
ทุกอยาง
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
23
การเจริญสมาธิโดยใช้สติ
เป็ นตัวนา
๒. เวทนานุ ปส
ั สนา
หมายถึง
การตาม
เห็ นเวทนาในเวทนาทีเ่ กิดขึน
้
คือ เมือ
่ เกิดความรูสึ้ กสุข
ทุกข ์
เฉย ๆ ก็รตามที
ู้
เ่ ป็ นอยูในขณะนั
้น ๆ
่
เวทนา
หมายถึง
การเสวยอารมณ ์ มี ๓ อยางคื
อ
่
๑. สุขเวทนา
คือ ความรูสึ้ กสุขสบายทางกายหรือ
ทางใจ
๒. ทุกขเวทนา
คือ
ความรูสึ้ กทุกขไม
์ สบาย
่
ทางกายหรือทางใจ
๓. อทุกขมสุขเวทนา
คือ ความรูสึ้ กเฉย ๆ ไม่
สุข ไมทุ
่ กข ์
บางที
กว
า่ 11 อุเบกขาเวทนา
10/04/58
การปฏิ
บตั กิ มั มัฏฐาน เรี
โดยย
พระครู
สุธวี รสาร
24
การเจริญสมาธิโดยใช้สติ
เป็ นตัวนา
๓.จิตตานุ ปส
ั สนา
10/04/58
หมายถึง
การตามเห็นจิตในจิต
คือ เห็นจิตของตนทุกขณะ เช่น
มีราคะ
ไมมี
่ ราคะ, มีโทสะ
ไมมี
ไมมี
่ โทสะ, มีโมหะ
่ โมหะ,
หดหู่
ไมหดหู
,่ ฟุ้งซ่าน
ไม่
่
ฟุ้งซ่าน, มีธรรมอืน
่ ยิง่ กวา่
ไม่
มีธรรมอืน
่ ยิง่ กวา, เป็ นสมาธิหลุด
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
25
การเจริญสมาธิโดยใช้สติ
เป็ นตัวนา
๔. ธัมมานุ ปส
ั สนา
หมายถึง
การตามเห็ น
ตามเห็ นธรรมทีเ่ กิดขึน
้ ในจิตของตน
ธรรมในธรรม
คือ
๕
ประการคือ
๑) นิวรณ ์
คือ รูชั
ตตนหรือไม่
ทีย
่ งั
้ ดวานิ
่ วรณมี
์ อยูในจิ
่
ไมเกิ
้ ไดอย
ทีเ่ กิดขึน
้ แลวละได
อย
เมือ
่
่ ดเกิดขึน
้ างไร
่
้
้ างไร
่
ละไดแล
างไร
้ ว
้ ไมเกิ
่ ดอีกตอไปอย
่
่
๒) ขันธ ์
คือ กาหนดรูว
างคื
ออะไร
้ า่ ขันธแต
์ ละอย
่
่
เกิดขึน
้ ไดอย
ดับไปอยางไร
้ างไร
่
่
๓) อายตนะ
คือ อายตนะภายในภายนอกคืออะไร
เกิดขึน
้ อยางไร
ดับอยางไร
่
่
๔) โพชฌงค ์
คือ สติ ธัมมะ วิรย
ิ ะ ปี ต ิ ปัสสั ทธิ สมาธิ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
26
คาถามทายบทที
่
๑
้
๑. หลังจากทีน
่ ก
ั ศึ กษาไดศึ
้ กษาบทที่ ๑ นี้แลว
้
ได้
อะไรบางจากบทนี
้
สามารถนาอะไรไปใช้ใน
้
ชีวต
ิ ประจาวันไดบ
้ าง
้
๒. ไดมี
่ นเรียนรูเพิ
่ เติมอะไรกับเพือ
่ นรวมห
้ การแลกเปลีย
้ ม
่
้อง
บางหรื
อไมเพราะเหตุ
ใด
้
่
๓. กัมมัฏฐานขอใดที
เ่ หมาะกับการนาไปใช้ในปัจจุบน
ั ไดมาก
้
้
ทีส
่ ุด
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
27
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
28
เนื้อหาบทที่ ๒
๑. สมถกัมมัฏฐาน
๓. ความสั มพันธของสมถ
์
และวิปส
ั สนากัมฏ
ั ฐาน
๑.๑
ความหมายของ
๓.๑
สมถและวิปส
ั สนาที่
สมถกัมมัฏฐาน
เป็ นหลักปฏิบต
ั เิ พือ
่ การรู้
๑.๒
อารมณของสมถ
์
แจ้ง
กัมมัฏฐาน
๓.๒
การปฏิบต
ั ส
ิ มถและ
๑.๓
ผลของสมถ
วิปส
ั สนาเพือ
่ การบรรลุ
กัมมัฏฐาน
ธรรม
๒. วิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
๔. ความแตกตางระหว
าง
่
่
๒.๑
ความหมายของ
สมถและวิปส
ั สนา
วิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
กัมมัฏฐาน
๒.๒
อารมณของวิ
ปส
ั สนา
์
10/04/58
กัมมัฏฐาน การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
29
แนวคิด
๑. สมถกัมมัฏฐานเป็ นวิธก
ี ารฝึ กจิต เพือ
่ ให้จิตสงบ
เป็ นสมาธิ จิตปราศจากนิวรณและเข
าถึ
้ งฌาน มี
์
วิธก
ี ารทีใ่ ช้ในการปฏิบต
ั ใิ นคัมภีร ์ ๔๐ วิธี คือ
กสิ ณ
๑๐
อสุภะ ๑๐ อนุ สสติ ๑๐ อา
หาเรปฏิกล
ู สั ญญา จตุธาตุววัตถาน และอรูป
กัมมัฏฐาน
๒. วิปส
ั สนากัมมัฏฐานเป็ นวิธก
ี ารอบรมปัญญา
10/04/58
เพือ
่ ให้เกิดความรูแจ
ี ารกาจัด
้ ้งในสั งขาร เป็ นวิธก
กิเลสอยางละเอี
ยดทีเ่ รียกวา่ สั งโยชนและอนุ
สัย
่
์
ส่งผลให้บรรลุมรรค ผล นิพพาน โดยการ
พิจารณาอารมณ์ คือ ขันธ ์ ๕
อายตนะ
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
30
สมถกัมมัฏฐาน
สมถกัมมัฏฐาน
เป็ นการฝึ กปฏิบต
ั ข
ิ น
้ั ตนในการฝึ
กจิต
้
มีลก
ั ษณะและวิธก
ี ารปฏิบต
ั อ
ิ ยางไร
มีผลเป็ นอยางไร
่
่
ดังตอไปนี
้
่
สมถะ
หมายถึง
ความตัง้ อยูแห
ความดารง
่ งจิ
่ ต
อยูแห
่ งจิ
่ ต
ความมัน
่ อยูแห
ความไมส
่ งจิ
่ ต
่ ่ ายไปแหงจิ
่ ต
ความไมฟุ
ภาวะทีจ
่ ต
ิ ไมส
่ ้ งซ่านแหงจิ
่ ต
่ ่ ายไป
ความสงบ
สมาธินทรียหรื
ิ ทรียคื
สมาธิพละ
และ
์ อน
์ อสมาธิ
สั มมาสมาธิ
สมถะ คือ คุณธรรมอันระงับกิเลสหรือธรรมหยาบอยางอื
น
่ มี
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
31
สมถกัมมัฏฐาน
คืออุบายหรือวิธก
ี ารทาให้จิตสงบ
ระงับจากกิเลส เครือ
่ งเศราหมองเร
า้
้
รอนทั
ง้ หลาย
จนจิตไมมี
้ รน
้
่ อาการดิน
ตลอดจนกิเลสสงบระงับ
สรุป
สมถกัมมัฏฐาน
คือ
วิธก
ี ารฝึ กจิตเพือ
่ ทาให้
จิตสงบตัง้ มัน
่ เป็ นสมาธิ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
32
อารมณของสมถกั
มมัฏฐาน
์
สิ่ งทีท
่ าให้จิตเขายึ
่ ให้เกิดความสงบ
้ ดเหนี่ยวเพือ
เรียกวา่
อารมณของสมถะ
คือวิธท
ี าให้จิตสงบ
์
ในคัมภีรอภิ
ั มัตถสั งคหะและคัมภีรวิ
์ ธม
์ สุทธิมรรค
ไดแสดงอารมณ
ของกั
มมัฏฐานไว้
๔๐
วิธ ี
้
์
แบงเป็
๗
หมวด คือ
่ น
กสิ ณ
๑๐
อสุภะ ๑๐
อนุ สสติ ๑๐
พรหมวิหาร ๔
อรูปกัมมัฏฐาน ๔
อาหาเรปฏิกล
ู สั ญญา
๑
จตุธาตุววัตถาน ๑
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
33
ผลของสมถกัมมัฏฐาน
เมือ
่ ฝึ กปฏิบต
ั จ
ิ นเกิดสมาธิระดับตน
ก็จะ
้
เกิดขณิกสมาธิ
เมือ
่ หมัน
่ ฝึ กจิตบอย
ๆ จิตตัง้ มัน
่ มากขึน
้ ก็จะเกิด
่
อุปจารสมาธิ
หากไมเลิ
น หมัน
่ ประครองรักษาสมาธิ
่ กลมกลางคั
้
นั้นไว้
จิตก็จะตัง้ มัน
่ ในอารมณอย
างหนึ
่ง
่
่
์ างใดอย
อยางแนบแน
่
่ น ก็จะเกิดเป็ นอัปปนาสมาธิ
อัปปนาสมาธิเกิดขึน
้ ยอมท
าให้จิตสงบจากปริยฏ
ุ
่
ฐานกิเลส กิเลสระดับกลาง
ทีเ่ รียกวา่ นิวรณ ์ ๕
จากนั้นองคฌาน
๕ เกิดตามลาดับ
์
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
34
องคฌาน
๕
คือ วิตก
วิจาร
์
ปี ต ิ
สุข
เอกัคคตา
การทีก
่ เิ ลสสงบเหลานั
่ ้นสงบ เพราะ
สมาธิเกิดและมีองคธรรมปรากฏขึ
น
้
์
ตามลาดับ องคธรรมนี
้เองไปขมกิ
่ เลส
์
ดังกลาวไว
่
้ คือ
๑) วิตก
คือ การยกจิตขึน
้ สู่
อารมณใดอารมณ
หนึ
เมือ
่ เกิดขึน
้
์
์ ่ง
ยอมข
มความหดหู
่
่
่ ทอถ
้ อยจาก
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
35
๒) วิจาร คือ
การประครองจิตให้
มัน
่ อยูในอารณ
ที
่
์ เ่ พง่ ใน
ขณะเดียวกันก็ขจัดความลังเลสงสั ย
วิจารนี้ทาให้ผู้ปฏิบต
ั ไิ มสงสั
ยใน
่
สภาวธรรมทีป
่ รากฏภายในใจตน
วิตกวิจารสนับสนุ นกัน วิตกเปรียบ
เหมือนเสี ยงระฆังดังขึน
้ ครัง้ แรก
วิจารเปรียบเหมือนเสี ยงกังวานของ
ระฆังหลังจากการตีแลว
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
36
๓) ปี ต ิ
คือ ความปลาบปลืม
้ ใจ
อิม
่
เอิบใจในการเพงอารมณ
ที
ิ กยกขึน
้ สู่
่
์ ว่ ต
อารมณ์
และประครองจิตให้มัน
่ อยูใน
่
อารมณนั
์ ้นได้
ปี ต ิ คือผลทีเ่ กิดจากความสงบของจิต
อาจเกิดไดกั
่ จิตเริม
่ สงบ ยัง
้ บผูท
้ าสมาธิเมือ
ไมได
ในอรรถกถาปี ตม
ิ ี ๕
่ สมาธิ
้
ประเภท คือ ๑. ขุททกาปี ต ิ
ปี ต ิ
เล็กน้อย
๒. ขณิกาปี ต ิ
ปี ตช
ิ ว
่ ั ขณะ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
37
๑. ขุททกาปี ต ิ
คือ ปี ตเิ ล็กน้อย
เช่น ดีใจ ขนลุกชู่ทัว่ รางกาย
่
บางครัง้ น้าตาไหล แตเกิ
่ ขณะ
่ ดชัว
เทานั
่ ้น
๒. ขณิกาปี ต ิ
ปี ตช
ิ ว
่ ั ขณะ คือ ทา
ให้รูสึ้ กแปลบขึน
้ ตามรางกายเหมื
อน
่
ฟ้าแลบ พักเดียวกับดับ บางครัง้ คัน
ตามใบหน้าเหมือนมีมดหรือมีไรมาไต่
บางครัง้ ตัวกระตุก เป็ นตน
้
๓. โอกกันติกาปี ต ิ
ปี ตเิ ป็ นพัก ๆ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
38
๔. อุพเพงคาปี ต ิ
ปี ตโิ ลดลอย คือ
มีความรูสึ้ กลอยขึน
้ จมลง โดยไม่
ตัง้ ใจ เช่น เปลงอุ
่ ทานออกมา
เป็ นตน
้
๕. ผรณาปี ต ิ
ปี ตซ
ิ าบซ่าน คือรูสึ้ ก
ซาบซ่านไปทัว่ ตัว ขอนี
้ ้ทาน
่
หมายถึงปี ตใิ นองคฌาน
์
ปี ตท
ิ ง้ั ๕ นี้ มักเกิดแกผู
่ ้เจริญสมาธิ
นผรณาปี ต ิ
ปี ตท
ิ เี่ กิดในองคฌานเป็
์
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
39
๔)
สุข
คือ
ความสุขใจ
เมือ
่ จิตยกขึน
้ สู่อารมณประครองมั
น
่ อยูจนเกิ
ด
่
์
ปี ต ิ ยอมมี
ความสุข
่
ปี ต ิ คือ ความอิบ
่ เอิบทีเ่ กิดขึน
้ ดวย
้
อิฏฐารมณ์ (อารมณที
่ ่ าปรารถนา)
์ น
ส่วนสุข คือ การเสวยรสอันเกิดจากปี ต ิ
ปี ตเิ หมือนคนเดินทางไกลเมือ
่ ถึงทีห
่ มายก็อม
่ิ
เอิบใจ ส่วนสุขเหมือนคนเดินทางถึงทีห
่ มาย
แลวพั
่ ้น
ั
้ กอาศั ยในทีน
ความสุขในฌาน เป็ นสุขทีเ่ ลิศ
ไมใช
่ ่ โลกิย
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
40
๕)
เอกัคคตา
ทีจ
่ ต
ิ เป็ นสมาธิ
ความ
 ความทีจ
่ ต
ิ เป็ นสมาธิ
แน่วแน่ในอารมณ ์
ๆ ทัง้ สิ้ น
เดียว ไมค
่ านึงถึงอารมณใด
์
จิตจะมีอาการวูบลง เหมือนตกจากทีส
่ งู
หรือเหมือนการลงลีฟต ์ เพราะความกลัว
บางคนถึงกับไมยอมนั
่งตอไป
่
่
 หากเกิดอาการนี้ขน
ึ้ ให้วางใจเป็ นกลาง
อยากลั
ว อยาตกใจ
คอยประคับประคอง
่
่
จิตไว้ เหมือนคนประคองน้าเต็มขันเดินไป
ไมให
่ ้หก
 เมือ
่ ไดเอกกั
คคตาจิตแลว
้
้ ความผองใส
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
41
ฌาน
๕ (วิตก วิจาร ปี ต ิ สุข
เอกัคคตา)
เ่ กิดขึน
้ นี้เองเป็ นเครือ
่ งแสดงภาวะ
 องคธรรมที
์
จิตทีเ่ ป็ นอัปปนาสมาธิ อาจเรียกไดว
้ า่
“ฌาน”
คือ ภาวะทีจ
่ ต
ิ สงบปราณีต เป็ น
สมาธิทแ
ี่ น่วแน่เหนือสมาธิธรรมดา มีหลาย
ระดับคือ
 รูปฌาน ๔ ไดแก
ปฐมฌาน
ทุตย
ิ
้ ่
ฌาน
ตติยฌาน
จตุตถฌาน
 อรูปฌาน ๔ ไดแก
้ ่ อากาสานัญจายตนะ
วิญญานัญจายตนะ
อากิญจัญญายตนะ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
42
ในรูปฌาน จะเกิดขึน
้ ตามลาดับ
ดังนี้
๑. ปฐมฌาน
จิตประกอบดวยองค
ฌาน
๕ คือ วิตก
้
์
วิจาร ปี ต ิ สุข เอกัคคตา
๒. ทุตย
ิ ฌาน
จิตประกอบดวยองค
ฌาน
๓ คือ
ปี ต ิ
้
์
สุข เอกัคคตา
๓. ตติยฌาน
จิตประกอบดวยองค
ฌาน
๒ คือ
สุข
้
์
เอกัคคตา
๔. จตุตถฌาน จิตประกอบดวยองค
ฌาน
๒ คือ
อุเบกขา
้
์
เอกัคคตา
เมือ
่ ไดองค
ฌานที
ส
่ ูงขึน
้ เขาสู
่ งบแน่วแน่ หลุด
้
์
้ ่ สภาวะทีส
พ้นจากนิวรณ ์ ทีเ่ รียกวา่ หลุดพนด
านาจสมาธิทข
ี่ ม
้ วยอ
้
่
ไว้
คือ หลุดจากกิเลสตลอดเวลาทีอ
่ ยูในฌาน
แตเมื
อ
่
่
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
43
อภิญญา ๕
เมือ
่ ผูปฏิ
ั บ
ิ รรลุฌาน ๔ และเกิด
้ บต
ความชานาญในฌานเหลานั
่ ้น
ทัง้ อนุ โลมและปฏิโลม
จิตก็
ออนโยนควรแก
การงาน
พรอมที
จ
่ ะ
่
่
้
ทากิจพิเศษ คือ อภิญญา ๕
ไดแก
้ ่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
44
๑. อิทธิวธิ ี
ฌานคือความสาเร็จในเรือ
่ งทีอ
่ ธิษฐานนั้น ๆ
มี ๓ คือ
๑.๑
อธิษฐานิทธิ
คือ ฤทธิท
์ แ
ี่ สดงดวยการไม
้
่
สละรูปเดิมและทารูปเดิมให้มากขึน
้ เหาะไปทางอากาศ
เดินทะลุกาแพง ดาดิน เดินบนน้า เป็ นตน
้
๑.๒
วิกุพพนิทธิ
คือ ฤทธิท
์ แ
ี่ สดงดวยการสละ
้
รูปเดิม เนรมิตตนเป็ นเด็ก งู เสื อ
ช้าง
มา้ เป็ น
ตน
้
ความแตกตางของอธิ
ษฐานฤทธิก
์ บ
ั วิกุพพนฤทธิ ์ คือ
่
ขอแรกอธิ
ษฐานโดยไมเปลี
่ นราง
ส่วนขอหลั
งเปลีย
่ นราง
้
่ ย
่
้
่
เป็ นอยางอื
น
่
่
๑.๓
มโนมยิทธิ
คือ ฤทธิท
์ เี่ นรมิตสิ่ งอืน
่ ให้เห
มือตน บัลดาลร
างกายตนได
ตามต
องการ
่
้
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
45
๓. เจโตปริยญาณ
รูจิ
่ วาเขาก
าลังคิดเรือ
่ ง
้ ตใจของผู้อืน
่
อะไรอยู
๔. ปุพเพนิวาสานุ สติญาณ
ระลึกชาติในอดีตไดว
ด
้ าเคยเกิ
่
เป็ นอะไรมาบาง
้
๕. ทิพพจักขุญาณหรือจุตูปปาตญาณ มีตาทิพย ์ เห็ นสิ่ งทีไ
่ กล
และปิ ดบังได้
รูการเกิ
ด การตายของสั ตวว์ า่ เกิดมาจาก
้
ไหน จะไปเกิดทีไ่ หนในภพภูมต
ิ าง
ๆ
่
ทิพพจักขุญาณ ทาให้เกิดญาณพิเศษ ๒ คือ
๑. ยถากัมมูปคญาณ
รูว
่ าลังไดรั
้ าสั
่ ตวทีก
้ บสุขหรือทุกข ์
นั้น เพราะทาอะไรมาในอดีต
๒. อนาคตังสญาณ รูความเป็
นไปในอนาคตของสั ตว ์
้
เหลานั
่ เคลือ
่ นจากภพนี้ จะไปสู่
่ ้นวา่ เพราะการนั้น ๆ เมือ
ภพใดตอไป
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
46
่
เป็ นทางสายเอกเพือ
่ การบรรลุมรรค ผล
นิพพาน
วิปส
ั สนานี้มใี นเฉพาะพระพุทธศาสนานี้
เทานั
่ ้น
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
47
ความหมายวิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
วิปส
ั สนา คือ ปัญญารูแจ
้ ้ง
หมายถึง
ภาวนาปัญญามีการหยัง่
เห็ นความไมเที
่ งในบุรุษ สตรี ในสุข
่ ย
และทุกข ์ เป็ นตน
้
สั ตวโลกส
าคัญในขันธ ์ ๕ วา่
์
เป็ นสั ตว ์ บุคคล ตัวตน
เราเขา
สาคัญผิดจากความจริง ๔ ประการคือ
สาคัญวาเทีย
่ ง สาคัญวาสุข สาคัญวา
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
48
อารมณของวิ
ปส
ั สนากัมมัฏฐาน
์
เนื่องจากทาให้ผู้เจริญเห็ นความไม่
เทีย
่ ง เป็ นทุกข ์ และไมใช
่ ่ ตัวตน
อารมณของวิ
ปส
ั สนา
จึงตองมี
การ
้
์
เกิดขึน
้ และดับไป
ตกอยูในอ
านาจ
่
ของไตรลักษณ ์
ในคัมภีรวิ
์ สุทธิมรรค จาแนกอารมณ ์
ของวิปส
ั สนาไว้ ๖ อยาง
ไดแก
่
้ ่
ขันธ
๕
อายตนะ ๑๒
ธาตุ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
49
ผลของวิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
การทาวิปส
ั สนาเป็ นวิธเี พือ
่ ทาให้
พบความจริงของชีวต
ิ
ทาให้
เห็ นรางกายที
ป
่ ระกอบขึน
้ ดวย
่
้
ขันธ ์ ๕ มีลก
ั ษณะไมเที
่ ง
่ ย
เป็ นทุกข ์ ไมใช
่ ่ ตัวตน ดังนี้
๑. เห็ นไตรลักษณ ์
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
50
๑. เห็ นไตรลักษณ ์
ธรรมดามนุ ษยเมื
่ ยังไมได
่ เจริ
้ ญ
์ อ
วิปส
ั สนา
ยอมถู
กเครือ
่ งปกปิ ดปิ ดบัง
่
อยู่
ทาให้ไมเห็
่ นความจริงของ
ชีวต
ิ วาตกอยู
ในกฎไตรลั
กษณ ์
่
่
เครือ
่ งปกปิ ดในคัมภีรวิ
์ สุทธิมรรคมี ๓
คือ
๑) อนิจจลักษณะไมปรากฏ
เพราะถูก
่
สั นตติปิดบังไว
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
51
อนิจจัง
ถูกสั นตติปิดบัง คือ การสื บ
ตอเนื
่ ่องกัน เช่น ของเกาเสื
่ ่ อมไป
ของใหมเกิ
จะเห็ นไดว
่ ดแทน
้ า่ สั ตวโลก
์
ทีด
่ ารงชีวต
ิ อยู่ เพราะอวัยวะนั้น ๆ เกิด
ใหมแทนของเก
าที
ั ตราย
จึงทรง
่
่ ไ่ มมี
่ อน
ยวะใหมเกิ
ถาอวั
อยูได
่ นหรือ
่ ดแทนไมทั
้
่ ้
มีอน
ั ตราย
สั ตวโลกทั
ง้ หลายก็ตาย
์
ชือ
่ วา่
ขาดสั นตติ
ทุกข ์
ถูกอิรย
ิ าบทปิ ดบัง
คือ การ
เปลีย
่ นอิรย
ิ าบทตาง
ๆ ปิ ดบังทุกขไว
่
์ ้ ถา้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
52
อนัตตา
ถูกฆนสั ญญา คือ การหมาย
เอาวาร
นกอน
เป็ นกองปิ ดบังไว้
่ างกายเป็
่
้
เป็ นสาเหตุให้เกิดอุปาทานวา่ เป็ นตัวตน
เมือ
่ ประสงคจะเห็
นความไมเป็
่ นตัวตน
์
ตองแยกก
อนออกเป็
นชิน
้ เล็กชิน
้ น้อย
้
้
เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง
การเห็ นความเป็ นจริงของชีวต
ิ วา่
ตกอยูในสภาพไม
เที
เป็ นทุกข ์
่
่ ยง
ย
ตองอาศั
และไมเป็
้
่ นตัวตนนั้น
ภาวนามยปัญญา
ปัญญาเกิดจากการ
พิจารณา
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
53
๒. ละสั งโยชน์
 นอกจากเห็ นทุกสิ่ งอยางตามความเป็
นจริง
่
แลว
ภาวนามยปัญญายอมท
าให้กาจัด
้
่
่ ังอยูใน
กิเลสทีเ่ ป็ นอนุ สัย
หรือสั งโยชนที
่
์ ฝ
จิตใจตามลาดับ
สั งโยชน์ คือ กิเลสเครือ
่ งผู้ใจสั ตวไว
์ ้
๑๐
อยาง
ไดแก
่
้ ่
สั งโยชนเบื
้ งตา่ หรือโอรัมภาคิย
์ อ
สั งโสชน์
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
54
๓. สี ลพ
ั พตปรามาส ความยึดมัน
่
ในศี ลและขอวั
ั ต
ิ าง
ๆ
้ ตรปฏิบต
่
ทีน
่ อกไปจากมรรคผล นิพพาน
๔. กามราคะ
ความกาหนัด
ยินดีในกามคุณตาง
ๆ
่
๕. ปฏิฆะ
ความขัดเคืองใจ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
55
สั งโยชนเบื
้ งสูง
หรืออุทธัมภาคิย
์ อ
สั งโยชน์
๖.รูปราคะ ความยินดีในรูปฌานหรือในรูปภพ
ทีจ
่ ะเขาถึ
ปฌานนั้น
้ งไดด
้ วยรู
้
๗.อรูปราคะความยินดีในอรูปฌานหรือในอรูป
ภพ ทีจ
่ ะเขาถึ
ปฌาน
้ งไดด
้ วยอรู
้
๘.มานะ ความถือตัววาเราดี
กวาเขา
่
่
เลวกวาเขา
่
๙.อุทธัจจะ
10/04/58
เสมอเขา
ความฟุ้งซ่าน ซัดส่ายไปในอารมณ์
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
56
ผลจากการทีล
่ ะสั งโยชนได
าให้ผูนั
์ ้ ยอมท
่
้ ้น
เปลีย
่ นจากปุถุชน
เป็ นพระอริยบุคคลได้
ดังตอไปนี
้
่
๑. พระโสดาบัน
ผูเข
อเขาสู
้ ากระแสคื
้
้ ่ มรรค ละ
สั งโยชนได
อ
สั กกายทิฏฐิ
์ ้ ๓ อยางคื
่
วิจก
ิ จ
ิ ฉา
สี ลพ
ั พตปรามาส
๒. พระสกทามี
ผูจะกลั
บมาสู่โลกนี้อก
ี ครัง้ เดียว
้
ละสั งโยชนได
น
และทาราคะ
์ ้ ๓ ขางต
้
้
โทสะ
โมหะให้เบาบางลง
๓. พระอนาคามี
ผูจะไม
กลั
ี จะ
้
่ บมาสู่โลกนี้อก
ไปเกิดในชัน
้ สุทธาวาสพรหม
ละสั งโยชนได
์ ้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
57
ในอรรถกถา แบงการละกิ
เลสหรือปหาน
่
ไว้ ๕ ขัน
้ ดังนี้
๑. ตทังคปหาน
เป็ นการละองคนั
์ ้น ๆ ดาย
้
วิปส
ั สนาญาณ เช่น ละสั กกายทิฏฐิดายการ
้
กาหนดนามรูป
๒. วิกขัมภนปหาน เป็ นการละนิวรณด
์ วยสมาธิ
้
เหมือนการเอาหินทับหญาไว
้
้
๓. สมุจเฉทปหาน เป็ นการละอริยมรรคไดเด็
้ ดขาด
๔. ปฏิปส
ั สั ทธิปหาน เป็ นภาวทีก
่ เิ ลสสงบราบคาบ
เป็ นการละในขัน
้ อริยผล
๕. นิสสรณปหาน เป็ นการหลุดพนจากกิเลสโดย
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
58
๓. ความสั มพันธของสมถและ
์
วิปส
ั สนา
๑. สมถและวิปส
ั สนาเป็ นหลักปฏิบต
ั เิ พือ
่ การรูแจ
้ ้ง
10/04/58
และมีความสั มพันธกั
์ นอยางไร
่
ในพระไตรปิ ฎกอธิบายผลทีเ่ กิดจากสมถและ
วิปส
ั สนาไวดั
้ งนี้
ดูกอนภิ
กษุ ทง้ั หลาย ธรรมทีเ่ ป็ นส่วนวิชชา ๒
่
คือ สมถะและวิปส
ั สนา สมถะทีเ่ จริญแลว
้
ยอมอบรมจิ
่ บรมแลว
ต จิตทีอ
่
้ ยอมละราคะได
้
่
วิปส
ั สนาทีอ
่ บรมแลว
ยอมอบรมปั
ญญา
้
่
ปัญญาทีอ
่ บรมแลว
ชชาได้
้ ยอมละอวิ
่
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
59
๓. ความสั มพันธของสมถและ
์
วิปส
ั สนา
๒. หลักการปฏิบต
ั ส
ิ มถและวิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
การเจริญสมถและวิปส
ั สนา ตองท
าควบคูกั
้
่ น
ไปจึงจะเป็ นทางเพือ
่ การพนทุ
้ กข ์ ละกิเลสอา
สวะทัง้ หลายได้ โดยใช้สมถะทาให้จิตหยุดนิ่ง
เป็ นสมาธิ เกิดฌานขัน
้ ตาง
ๆ และใช้ฌาน
่
เป็ นทางแหงวิ
ั สนา
่ ปส
สมถะจึงเป็ นหลักปฏิบต
ั เิ บือ
้ งตน
่ นาไปสู่
้ เพือ
วิปส
ั สนา
การเจริญวิปส
ั สนาทีต
่ องใช
ดัง
้
้ควบคูกั
่ บสมถะ
พุทธพจนว
ั ญา
์ า่ “ฌานย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่มีปญ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
60
๔. ความแตกตางระหว
างสมถและ
่
่
วิปส
ั สนา
ตารางแสดงความแตกตางระหว
างสมถและวิ
ปส
ั สนากัมมัฏฐาน
่
่
ความแตกตาง
่
สมถกัมมัฏฐาน
วิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
๑. ลักษณะ
มีความฟุ้งซ่านเป็ นลักษณะ
มีความรูแจ
้ ้งสภาวธรรมตาม
ความเป็ นจริงเป็ นลักษณะ
๒.
กิจ
กาจัดนิวรณ์ ๕
กาจัดความไมรู่ คื
้ ออวิชชา
๓.
ผลปรากฏ
ตัง้ มัน
่ ไมหวั
่ ไหวไปตามอารมณ์
่ น
เขาใจถู
กตองในธรรมทั
ง้ ปวง
้
้
๔.
เหตุทาให้เกิด
ความสุข
สมาธิ
๕.
องคธรรม
์
เอกัคคตาเจตสิ ก
ปัญญาเจตสิ ก
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
61
๔. ความแตกตางระหว
างสมถและ
่
่
วิปส
ั สนา
๖.
อารมณ ์
กสิ น อสุภะ
อนุ สสติ
พรหมวิหาร
อาหาเรปฏิกูลสั ญญา จตุธาตุววัตถาน
๗.
๘.
จิต
ผล
มหัคคตจิต
รูปฌาน ๔
๙.
อานิสงส์
ปัจจัย ทาให้ใจเป็ นสุข
เยือกเย็น ไดอภิ
้ ญญา
๕
แสดงฤทธิได
์ ้
อนาคต เกิดในสุขคติพรหมโลก
ไดอภิ
้ สุดทาย
้ ญญา ๖ คือ ถึงขัน
้
ไดอาสวั
ก
ขยญาณ
หมดกิ
เ
ลส
้
ไมเกิ
่ ดอีก
๑๐. ปหาน
วิกขัมภนปหานดวยอ
านาจฌานจิต
้
สมุจเฉทปหาน ดวยมั
คคจิต
้
วิปส
ั สนาปหาน ดวยผลจิ
ต
้
นิสสรณปหาน ดวยนิ
พพาน
้
๑๑. ทีม
่ า
ทัง้ นอกและในพระพุทธศาสนา
มีอยูในเฉพาะพุ
ทธศาสนาเทานั
่
่ ้น
10/04/58
อรูป
อรูปฌาน ๔
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
ขันธ ์
อาตยนะ
ธาตุ
อินทรีย ์
อริยสั จ ปฏิจจสมุปบาท
โลกุตตระ
มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑
62
คาถามทายบทที
่ ๒
้
๑. สมถกัมมัฏฐาน หมายถึง......... โดยสรุป
สมถกัมมัฏฐาน คือ.........
๒. อะไรเรียกวาอารมณ
ของสมถกั
มมัฏฐาน
่
์
เมือ
่ ปฏิบต
ั ส
ิ มถกัมมัฏฐานแลวจะเกิ
ดผลอยางไร
้
่
บาง
้
๓. วิปส
ั สนากัมมัฏฐาน หมายถึง ..... โดยสรุป
วิปส
ั สนากัมมัฏฐาน คือ.........
๔. อะไรเรียกวาอารมณ
ของวิ
ปส
ั สนากัมมัฏฐาน
่
์
เมือ
่ ปฏิบต
ั แ
ิ ลวจะเกิ
ดผลอยางไรบ
าง
้
่
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
63
บทที่
๓ กิจเบือ
้ งตน
้
กอนการเจริ
ญกัมมัฏฐาน
่
๑. ตัง้ อยูในศี
ลอันบริสุทธิ ์
่
๒. ตัดมหาปลิโพธ ๑๐
ประการ
๔. เว้นสถานทีท
่ ไี่ ม่
เหมาะสมตอการเจริ
ญ
่
สมาธิ
๓. เข้าไปหากัลยาณมิตร
๕. ตัดความกังวลเล็ก ๆ
ผู้ให้กัมมัฏฐาน
น้อย ๆ
๓.๑
คุณสมบัตข
ิ อง
๖. การมีอช
ั ฌาสั ย ๖
กัลยาณมิตร
ประการ ของพระ
โพธิสัตว ์
๓.๒
ความสั มคัญของ
กัลยาณมิตร
๗. การรับกัมมัฏฐาน
10/04/58 ๓.๓
การปฏิบาหา
การเข
้ ตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
64
แนวคิด
กิจเบือ
้ งตนก
ญกัมมัฏฐาน คือ
้ อนการเจริ
่
ตัง้ อยูในศี
ลอันบริสุทธิ ์
่
ตัดปลิโพธ ๑๐ ประการ
เขาหากั
ลยาณมิตรผูให
้
้ ้กัมมัฏฐาน
เวนที
่ ไี่ มเหมาะสมต
อการเจริ
ญสมาธิ
้ ท
่
่
ตัดความกังวลเล็ก
ๆน้อย ๆ
เลือกกัมมัฏฐานทีเ่ หมาะกับจริตตน
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
65
ตัง้ อยูในศี
ลอันบริสท
ุ ธิ ์
่
 มีศีลบริสุทธิท
์ าให้จิตใจปลอดกังวล เพราะศี ลชาระจิตไมให
่ ้
น้อมไปสู่ทางฝ่ายตา่ ป้องกันความหวัน
่ ไหวแหงจิ
่ ตและความ
เดือดรอน
ดังพุทธดารัสวา่
“ดูก่อนอานนท์ ศี ลทีเ่ ป็ นกุศล
้
มีอวิปฏิสารเป็ นผล
มีอวิปฏิสารเป็ นอานิสงส์”
ความ
หวัน
่ ไหวและความเดือนรอนใจ
เป็ นปฏิปก
ั ษต
้
์ อสมาธิ
่
 ศี ลทีบ
่ ุคคลควรรักษามี ๓ ระดับใหญ่ ๆ คือ
๑. ศี ล ๕ (ระดับพืน
้ ฐาน) เพราะการจะรักษาความเป็ นปกติ
ของมนุ ษย ์ ตองมี
ศีล ๕ เป็ นอยางน
้
่
้ อย
๒. ศี ล ๘ (ระดับกลาง) เป็ นศี ลทีร่ ก
ั ษาในวันอุโบสถหรือ
โอกาสพิเศษ เพือ
่ ยกระดับจิตให้ประณีตขึน
้
๓. ปาริสุทธิศีล (ระดับสูง) เป็ นสาหรับผูมุ
สุทธิ
้ งความบริ
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
66
เพราะเกือ
้ กูลการท
าสมาธิและเกิดปัญญาขึน
้
ตัดมหาปลิโพธ ๑๐ ประการ
 ปลิโพธิ แปลวา่ ความกังวล
เป็ นสิ่ งผูกพัน
หน่วงเหนี่ยวใจให้พะวักพะวน ไมปลอดโปล
ง่
่
ดังแสดงไวในคั
มภีรวิ
้
์ สุทธิมรรค ๑๐ คือ
๑. อาวาส
หมายถึง ทีอ
่ ยู่ สิ่ งของเครือ
่ งใช้
ในอาวาส และการงานทีเ่ กีย
่ วของ
้
๒. กุละ
หมายถึง
ตระกูล
หรือบุคคลที่
สนิทสนมคุนเคยกั
นมาก
้
๓. ลาภ
หมายถึง
สิ่ งของทีเ่ ขาให้ดวยความ
้
ศรัทธา หรือสิ่ งของทีห
่ ามาได้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
67
ตัดมหาปลิโพธ ๑๐ ประการ
๕. กรรม
หมายถึง การงาน โดยเฉพาะการ
กอสร
าง
่
้
๖. อัทธานะ
หมายถึง การเดินทางไกล
เพราะมีกจ
ิ ธุระ
๗. ญาติ
หมายถึง ญาติทางบานหรื
อญาติทาง
้
วัด คือ อุปช
ั ฌาย ์ อาจารย ์ ลูกศิ ษย ์
๘. อาพาธ
หมายถึง ตนเองป่วยไข้
๙. คันถะ
หมายถึง
ปริยต
ั ิ หรือการศึ กษา
เลาเรี
่ ยน
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
68
เขาไปหากั
ล
ยาณมิ
ต
รผู
ให
้
้ ้
กัมมัฏฐาน
 การมีครูอาจารยที
่ รอมด
วยความรู
ความสามารถมาก
้
้
้
์ พ
ดวยประสบการณ
แนะน
าสั่ งสอนเป็ นเรือ
่ งสาคัญมาก
้
์
เพือ
่ ให้การปฏิบต
ั ไิ ดรั
้
้ บผลเร็วขึน
 คุณสมบัตข
ิ องกัลยาณมิตร
๑. ปิ โย
เป็ นผู้มีความน่ารักน่าเลือ
่ มใส เป็ นทีช
่ น
ื่
ชมของผู้คน เหมือนพระจันทรวั
์ นเพ็ญ ชุ่มเย็นชวน
มอง
๒. ครุ
เป็ นผู้น่าเคารพ วางตัวไดเหมาะสม
เป็ น
้
ทีพ
่ ง่ึ ทีย
่ ด
ึ เหนี่ยวจิตใจได้ ประดุจขุนเขาตัง้ ตระหงาน
่
มัน
่ คง
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
69
เขาไปหากั
ล
ยาณมิ
ต
รผู
ให
้
้ ้
กัมมัฏฐาน
๕. วตฺตา
เป็ นผู้ฉลาดในการพรา่ สอน สามารถ
อบรมลูกศิ ษยให
กให้หา
่ สอนลู
่
์ ้ดีได้ เหมือนแมไก
อาหาร
๖. คมฺภรี ญฺจ
กถ
วตฺตา
เป็ นผู้สามารถกลาว
่
ธรรมทีล
่ ก
ึ ซึง้ ยากแกการเข
าใจ
ให้เป็ นเรือ
่ งงายเข
าใจ
่
้
่
้
ไดชั
้ ดเจน เช่น ขันธ ์ ๕ อริยสั จ ๔ ปฏิจจสมุป
บาท ๑๒ เหมือนจุดไฟในทีม
่ ด
ื บอกทางแกคนหลง
่
ทาง
๗. โน
จฏฺฐาเน
วิโยชเย
เป็ นผู้ไมชั
่ กนา
ในทางเสื่ อม ไมชั
่ กชวนในสิ่ งทีเ่ กิดโทษไมเป็
่ น
เหมื
่ สุธที
่ 11าตรฐาน
10/04/58ประโยชน ์
การปฏิบตั อ
กิ มั มันตาชั
ฏฐาน โดย พระครูง
วี รสารม
70
ความสาคัญของ
กัลยาณมิตร
ในพระไตรปิ ฏกพระพุทธองคทรงแสดง
์
ความสาคัญของกัลยาณมิตรไวดั
้ งนี้
“ภิกษุ ทง้ั หลาย เรายังไมเล็
่
่ งเห็นธรรมอันอืน
แมสั
่ง ซึง่ จะเป็ นเหตุให้อริยมรรค
้ กอยางหนึ
่
ประกอบดวยองค
่ งั ไมเกิ
ดขึน
้
้
์ ๘ ทีย
่ ด ยอมเกิ
่
หรือเกิดขึน
้ แลว
งความเจริญบริบรู ณ์
้ ยอมถึ
่
เหมือนความเป็ นผูมี
ั ยาณมิตรดี”
้ กล
“ความเป็ นผูมี
ิ รดี มีสหายดี มีจต
ิ รน้อม
้ มต
ไปในคนดี เป็ นคุณกึง่ หนึ่งแหงพรหมจรรย
”์
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
71
เว้นสถานทีท
่ ไี่ มเหมาะสม
่
ตอการเจริ
ญสมาธิ
่
 ในคัมภีรวิ
กษณะของสถานทีท
่ ไี่ ม่
้
์ สุทธิมรรคไดแสดงลั
เหมาะสมตอการเจริ
ญสมาธิไว้ ๑๘ ประการไดแก
่
้ ่
๑. มหาวาส
ทีอ
่ ยูอาศั
ยกวางขวางใหญ
โตมาก
ส่ง
่
้
่
เสี ยงอือ
้ อึงรบกวนการปฏิบต
ั ธิ รรม
๒. นวาวาส
ทีอ
่ ยูอาศั
ยทีก
่ าลังสรางใหม
่
้
่ ทาให้
หมกมุนกั
าง
่ บการกอสร
่
้
๓. ชราวาส
สถานทีช
่ ารุดทรุดโทรมมาก ทาให้
ตองซ
ี่ ้ิ นสุด
้
่ อมแซมไมมี
่ ทส
๔. ปนฺ ถนิสฺสิตตฺต
สถานทีท
่ ต
ี่ ด
ิ กับถนนหนทาง มี
คนสั ญจรไปมาพลุ
กพลาน
่ สุธวี รสาร 11
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครู
72
เว้นสถานทีท
่ ไี่ มเหมาะสม
่
ตอการเจริ
ญสมาธิ
่
๕. โสณฺ ฑ ี
สถานทีท
่ ใี่ กลสระน
้าโดยเฉพาะสระน้า
้
สาธารณะ
๖. ปณฺ ณ
สถานทีท
่ ใี่ กลสวนผั
กตาง
ๆ ยอมมี
การ
้
่
่
ทาไรสวน
การเพาะปลูก
่
๗. ปุปฺผ
สถานทีท
่ ใี่ กลสวนดอกไม
หรื
้
้ อสวนสาธารณะ
มักมีคนพลุกพลาน
่
๘. ผล
สถานทีท
่ ใี่ กลสวนผลไม
ู
้
้ มักมีผ้คนและแมลง
ตาง
ๆ พลุกพลาน
่
่
๙. ปฏฺฐนียตา
สถานทีท
่ ค
ี่ นชอบไปมากราบไหวบู
้ ชา
อยางไม
ขาดสาย
่
่
10/04/58
บตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
73
๑๐. นครสนฺ นการปฏิ
ิสฺส
ิ ตตา
สถานทีท
่ ต
ี่ ด
ิ กับตัวเมือง มีผค
ู น
เว้นสถานทีท
่ ไี่ มเหมาะสม
่
ตอการเจริ
ญสมาธิ
่
๑๔.ปฏฺฏนสนฺ นิสฺสิตตา
สถานทีท
่ อ
ี่ ยูใกล
ท
่
้ ารถ
่
ทาเรื
่ อ ผู้คนไปมาขวักไขว่
๑๕.ปจฺจนฺ ตสนฺ นิสฺสิตตา สถานทีท
่ ต
ี่ ด
ิ กับชายแดน คน
อาจเขาใจเป็
นอยางอื
น
่
้
่
๑๖.รชฺชสี มนฺ ตรสนฺ นิสฺสิตตา
ประเทศ อาจมีการสู้รบ
สถานทีท
่ เี่ ป็ นชายแดน
๑๗.อสปฺปายตา
สถานทีท
่ ไี่ มสั
ย
่ ปปายะ ไมปลอดภั
่
เช่น มีโจรภัย เป็ นตน
้
๑๘.กลฺยาณมิตฺตาน
อลาโภ ทีท
่ ห
ี่ ากัลยาณมิตร
ไมได
ั ฌายาจารย ์
่ ้ ไมมี
่ อุปช
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
74
ลักษณะอาวาสทีเ่ หมาะสม
๕ คือ
๑. มีหนทางไปมาสะดวกสบาย คือ ไมใกล
่
้
หรือไมไกลจากหมู
บ
่
่ าน
้
๒. ไมมี
่ เสี ยงอึกทึก คือ กลางวันไมจอแจ
่
ดวยผู
คน
กลางคืนก็สงบ
้
้
๓. ไมมี
คือ ไมมี
้ ยคลาน
่ สัตวร์ าย
้
่ สัตวเลื
์ อ
หรือแมลงมารบกวน
๔. มีปจ
ั จัย ๔ พอเพียง คือ ไมล
่ าบากขัด
สนดวยปั
จจัย ๔
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
75
ตัดความกังวงเล็ก ๆ
น้อย ๆ
ในคัมภีรวิ
งขุททกปลิโพธ
์ สุทธิมรรคไดแสดงถึ
้
ความกังวลเล็กน้อยของนักบวชไวดั
้ งนี้
๑. ตัดผม ตัดเล็บ โกนหนวดทีย
่ าวเสี ยให้เรีย
รอย
้
๒. จัดการประชุนผาที
า่ คราไปแล
ว
้ ใ่ ช้สึ กหรอคร
่
่
้
นั้น ให้มัน
่ คงเรียบรอย
้
๓. ถาผ
อ
่ งนุ่ งหมสกปรก
พึงซักให้
้ าเครื
้
่
สะอาดเรียบรอย
้
๔. ถาบาตรมี
สนิม
ตองท
าการระบบบาตรเสี ย
้
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
76
มีอช
ั ฌาสั ย ๖ ประการ
ของพระโพธิสัตว ์
 อัชฌาสั ย ๖ อยางนี
้
่
เป็ นอุปนิสัยของพระโพธิสัตว ์ ที่
ทาให้ฝึ กสมาธิไดดี
้
๑. อโลภัชฌาสั ย ไมมี
่ นิสัยโลภในคน สั ตว ์ สิ่ งของของ
ผู้อืน
่
๒. อโทสั ชฌาสั ย
มีนิสัยไมโกรธเป็
นปกติ มีเมตตา
่
ปรารถนาดีตอทุ
่ กคน
๓. อโมหัชฌาสั ย
มีนิสัยไมหลงเป็
นปกติ เป็ นผู้มี
่
สติปญ
ั ญา ไมหลงเลอะเลื
อน
เห็ นผิดเป็ นผิด เห็ นถูก
่
เป็ นถูก เห็ นทุกสิ่ งตามความเป็ นจริง
๔. เนกขัมมัชฌาสั ย
ชอบการออกบวช เห็ นโทษใน
การครองเรือนการปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
10/04/58
77
คาถามทายบทที
่ ๓
้
๑. กิจเบือ
้ งตนของการเจริ
ญกัมมัฏฐาน คือ
้
อะไรบาง
้
๒. โดยสรุปแลวศี
่ ุคคลควรรักษามีกรี่ ะดับ
้ ลทีบ
ไดแก
าง
้ อะไรบ
่
้
๓. คุณสมบัตข
ิ องกัลยาณมิตมีกอ
ี่ ยางอะไรบ
าง
่
้
๔. จากการศึ กษาในบทนี้ นักศึ กษาสามารถนา
กัมมัฏฐานขอใดไปใช
ิ ประจาวันได้
้
้ในชีวต
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
78
บทที่ ๔ จริตกับการ
ปฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐาน
 จริตกับการปฏิบต
ั ก
ิ ม
ั มัฏฐานประกอบดวย
้
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
10/04/58
เนื้อหาดังนี้
ประเภทและลักษณะของจริต
เหตุทจ
ี่ ริตตางกั
น
่
ลักษณะเป็ นเครือ
่ งสั งเกตจริต
คูแห
่ ่งจริต
กัมมัฏฐานทีเ่ หมาะสมกับจริต
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
79
แนวคิด
จริต คือ พืน
้ ฐานนิสัยทีอ
่ ยูในจิ
ตใจของมนุ ษย ์ มี ๖
่
คือ ราคจริต
โทสจริต
โมหจริต วิตกจริต
สั ทธาจริต พุทธิจริต
การทีค
่ นมีจริตตางกั
น เพราะเหตุแหงสภาพจิ
ตในขณะ
่
่
ทากุศลในชาติกอนที
ม
่ ค
ี วามนึกคิดตางกั
น อีกทัง้ อาจ
่
่
เกิดเพราะคติในภพชาติกอน
่
ลักษณะเป็ นเครือ
่ งสั งเกตจริต ๖ คือ อิรย
ิ าบท
กิจจะ
โภชนะ ทัสสนะ
ธัมมปวัตติ
จริตทัง้ ๖ จะมีคเป็
ู่ นกุศล-อกุศล ตรงขามกั
น คือ
้
ราคจริตคูกั
ต
โทสจริตคูกั
่ บสัการปฏิทบตั ธาจริ
่ บพุทธิจริต
10/04/58
กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
80
กัมมัฏฐานทีเ่ หมาะกับแตละจริ
ต คือ
่
ราคจริต ใช้อสุภะและกายคตาสติ
โทสจริต
ใช้พรหมวิหารและวรรณกสิ ณ
โมหจริตและวิตกจริต
ใช้อานาปานสติ
สั ทธาจริต
ใช้อนุ สติ ๖
พุทธิจริต
ใช้มรณานุ สติ อุปสมานุ สติ อา
หาเรปฏิกล
ู สั ญญา
และจตุธาตุววัตถาน
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
81
จริต
ประเภทและลักษณะของ
 จริต หรือ จริยา มีความหมายอยูหลายนั
ย ดังนี้
่
๑. แปลวา่
ความประพฤติ หรือพฤติกรรมทีแ
่ สดง
ออกเป็ นปกติในสั นดาน พืน
้ เพของจิต
อุปนิสัย
พืน
้
นิสัย
แบบ
แหงพฤติ
กรรมของคน
่
๒. แปลวา่ จิตทองเที
ย
่ ว
สถานทีจ
่ ต
ิ ทองเที
ย
่ ว
หรือ
่
่
อารมณที
่ อบของจิต
์ ช
๓. แปลวา่ ลักษณะพืน
้ ฐานของจิต หรือนิสัยพืน
้ ฐานของ
แตละบุ
คคล
่
รวมความวา่
จริต
คือ ความประพฤติจนเคยชินเป็ น
นิสัยของแตละคน
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
82
ประเภทของจริต
 จริตของมนุ ษยในโลกนี
้ม ี ๖ อยาง
คือ
์
่
๑. ราคจริต
คือ การประพฤติจนติดเป็ นนิสัย เกิดจาก
๒.
๓.
๔.
๕.
10/04/58
ราคะเป็ นพืน
้ ฐาน
โทสจริต
คือ การประพฤติจนติดเป็ นนิสัย เกิดจาก
โทสะเป็ นพืน
้ ฐาน
โมหจริต
คือ การประพฤติจนติดเป็ นนิสัย เกิดจาก
โมหะเป็ นพืน
้ ฐาน
วิตกจริต
คือ การประพฤติจนติดเป็ นนิสัย เกิดจาก
วิตกเป็ นพืน
้ ฐาน
สั ทธาจริต
คือ การประพฤติจนติดเป็ นนิสัย เกิดจาก
ศรัทธาเป็ นพืการปฏิ
น
้ ฐาน
บตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
83
ลักษณะของจริต
๑. ราคจริต
เป็ นลักษณะทีร่ ก
ั สวยรักงามเป็ นสาคัญ
ไมใช
่ ่ เป็ นผู้มักมากในกามารมณ ์
๒. โทสจริต เป็ นลักษณะใจรอน
กระดาง
มักโกรธเป็ น
้
้
เจ้าเรือน คนประเภทนี้
แกเร็
พูดเร็ว
พูด
่ ว
เสี ยงดัง เดินแรง ทางายหยาบ เป็ นตน
้
๓. โมหจริต
เป็ นลักษณะเฉื่ อยชา ขาดความคลองตั
ว
่
มักอยูในความรู
สึ้ กมากกวาความคิ
ด ไมชอบคิ
ดหรือ
่
่
่
คิดไมออก
มีอคติเกีย
่ วกับตัวเอง มองตังเองวาไม
ดี
่
่
่
ไมเก
ไมสวย
ไมหล
่ ง่
่
่ อ
่ ไมมี
่ ความสามารถ
ใบหน้าไมเบิ
่ กบาน ถึงเวลาพูดไมพู
่ ด ถึงพูดก็ไมมี
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
84
พลัง
ลักษณะของจริต
๔. วิตกจริต
มักเป็ นคนคิดมาก ชอบแสดงความ
คิดเห็ น มีคาถามมาก เพราะสมองเต็มไปดวยความ
้
ฟุ้งซ่าน
ตันสิ นใจไมเด็
่ ดขาด ไมกล
่ าตั
้ ดสิ นใจ
ทาให้ใบหน้าเต็มไปดวยริ
ว่ รอย หน้าตาไมคอยสด
้
่
ชืน
่ รางกายแก
เกิ
่
่ นวัย
๕. สั ทธาจริต มีจต
ิ น้อมไปในความเชือ
่ เป็ นอารมณ ์ ทา
ตามความเชือ
่ ของตน ความคิดความยึดมัน
่ อยูเหนื
อ
่
การใช้เหตุผล และเชือ
่ อยางไร
เหตุ
ผล
่
้
๖. พุทธจริต เป็ นคนเจ้าปัญญาเจ้าความคิด มีความ
ฉลาด มีไหวพริบปฏิภาณดี คิดในหลักเหตุผล
มองปรากฏการณ
ตามสภาพความเป็ นจริง
โดย
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน์ โดย พระครูสุธวี รสาร 11
85
เหตุทม
ี่ จ
ี ริตตางกั
น
่
ว
 ในคัมภีรวิ
้ า่ จริต ๓
่
์ สุทธิมรรคกลาวไว
ขางต
น
้
้ คือ ราคะ โทสะ และโมหะจริต
เกิดจากเหตุ ๒ อยางคื
อ
่
 จากสิ่ งทีส
่ ่ ั งสมทับซ้อนมาช้านาน
 จากความวิปริตทางรางกาย
่
อีกสาเหตุหนึ่ง
เนื่องมาจากภพภูม ิ
กอนมาเกิ
ด
่
รวมความวา่
สาเหตุทม
ี่ นุ ษยมี
์
จริตตางกั
น ก็เนื่องมาจากการบาเพ็ญกุศล
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
86
 มูลเหตุแหงราคจริ
ต
่
 ในขณะบาเพ็ญบุญ จิตปรารภในการมีหน้ามีตา
มีชอ
ื่ เสี ยง ไดเสวยมนุ
ษยสมบั
ต ิ อันเป็ นตัวตัณหา
้
์
ราคะ กุศลทีเ่ จือดวยตั
ณหา มานะ ทิฏฐิ เช่นนี้
้
ยอมให
้ ้นเกิดมามีราคจริต
้ผูนั
่
 อีกนัยหนึ่ง ผูที
่ ุตม
ิ าจากสวรรค ์ เสวยกามคุณ
้ จ
จนคุนเคย
เมือ
่ ทาบุญจึงปรารภเหตุทเี่ ป็ นกามเสี ย
้
่ าจากเปรต จากอรุสกาย
ส่วนมาก หรือผูที
้ ม
โดยมากเป็ นผูมี
้ ราคจริต
 ผูที
่ รี าคจริตเพราะธาตุทง้ั ๔ คือ ธาตุดน
ิ น้า
้ ม
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
87
 มูลเหตุแหงโทสจิ
ต
่
 ในขณะทีบ
่ าเพ็ญบุญนั้น เกิดความขุน
่
เคือง เสี ยใจ เสี ยดาย ริษยา
ราคาญ
เกิดขึน
้ ในใจ ดายกุ
ศลทีเ่ จือปนกับโทสะ
้
ตระหนี่ ริษยา ราคาญใจเช่นนี้
ยอม
่
เป็ นเหตุให้ผูที
ต
้ เ่ กิดมานั้นมากดวยโทสจริ
้
 อีกนัยหนึ่ง
เคยเป็ นผูที
่ อบการฆา่
้ ช
การทาลาย การจองจามากในชาติกอน
่
หรือจุตม
ิ ากจากนรก โดยมากเป็ นผูที
่ าก
้ ม
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
88
 มูลเหตุแหงโมหจริ
ต
่
 ในขณะทีบ
่ าเพ็ญบุญ ทาไปโดยไมค
่ านึงถึงเหตุผล
เพียงแตท
่ าตามประเพณีทเี่ คยทากันมา ทาตามสมัยนิยม
หรือเกิดสงสั ยในผลบุญขัน
้ ขึน
้ มา จิตใจไมได
่ อยู่
่ ตั
้ ง้ มัน
ในบุญกุศลทีก
่ าลังทานั้น กุศลทีเ่ จือปนดวยโมหะ
ความ
้
ลังเลสงสั ย ยอมเป็
นเหตุให้ผู้ทีเ่ กิดมานั้นมากดวยโม
่
้
หจริต
 อีกนัยหนึ่ง
ชาติกอนเพลิ
ดเพลินในการดืม
่ น้าเมาเป็ น
่
นิจ ไมชอบศึ
กษา ไมไต
บบัณฑิต หรือจุต ิ
่
่ ถามสนทนากั
่
จากสั ตวเดรั
ั มีโมหจริตมาก
์ จฉาน ชาตินี้มก
 ผู้ทีม
่ โี มหจริตมาก ธาตุดน
ิ และธาตุน้ามีกาลังมาก
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
89
 มูลเหตุแหงวิ
่ ตกจริต
 ในขณะทีบ
่ าเพ็ญกุศล มัวแตนึ
่ ก
เพลิดเพลินในกามคุณ วิตกในเรือ
่ งกาม
คิดในทางเกลียดชังปองราย
อันเป็ น
้
พยาบาทวิตก
 คิดหาทางทาลายความสุขผูอื
่ ให้ไดรั
้ น
้ บ
ความเดือดรอนใจ
อันเป็ นวิหงิ สาวิตก
้
 กุศลทีเ่ จือดวยอาการอย
างนั
้น ยอมเป็
น
้
่
่
เหตุให้เกิดมามากดวยวิ
ตกจริต
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
90
 มูลเหตุแหงสั
่ ทธาจริต
 ในขณะทีบ
่ าเพ็ญบุญ
มากดวยความเลื
อ
่ มใสในพระรัตนตรัย
้
ดวยเห็
นรูปสมบัตท
ิ ส
ี่ วยงาม
้
ดวยเห็
นความประพฤติเรียบรอยเคร
งใน
้
้
่
ธรรมวินย
ั
ดวยได
ยิ
้นอยางนี
้
้
้ นวาดี
่ อยางนั
่
่
ดวยได
ฟั
้
้ งธรรมของผูฉลาดในการแสดง
้
ธรรม
ผลบุญทีม
่ น
่ ั ดวยศรั
ทธานั้น ยอมให
้
่
้เกิดมา
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
91
 มูลเหตุแหงพุ
่ ทธิจริต
 ในขณะทีบ
่ าเพ็ญบุญ
ระลึกอยูเสมอว
า่
ทาดียอมได
ดี
่
่
้
ทาชัว
่ ยอมได
ชั
่ สั ตวทั
่
้ ว
์ ง้ หลายมีกรรมเป็ นของตัว ทาสิ่ ง
ใดยอมได
รั
่
้ บผลสิ่ งนั้น สั ตวทั
์ ง้ หลายสั กแตว่ าเป็
่ นรูปเป็ น
นาม
มีความไมเที
่ ง ทนอยูไม
บ ไมมี
่ ย
่ ได
่ ต
้ องแตกดั
้
่
ตัวตนทีจ
่ ะบังคับบัญชาตามใจปรารถนาได้
อันเป็ น
วิปส
ั สนาปัญญา
 หรือแมแต
ดวยอ
านาจบุญนี้ ให้
้ เพี
่ ยงตัง้ ใจปรารถนาวา่
้
ไดเกิ
ั ญามาก เป็ นเหตุให้เกิดมามากดวยพุ
ทธิ
้ ดเป็ นผู้มีปญ
้
จริต หรือปัญญาจริต
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
92
สาเหตุทม
ี่ จ
ี ริต
ตางกั
น
่
10/04/58
จริต
กรรมชาติปากกอน
่
ราคะ
ขณะทาบุญชอบมีหน้ามีตา ชือ
่ เสี ยง
ไดมนุ
้ ษยสมบัต ิ ทิพยสมบัต ิ อัน
เป็ นตัวคัณหาราคะ ถือเรา ถือเขา
อันเป็ นตัวทิฏฐิ
จุตม
ิ าจากสวรรค ์
หรือจุตม
ิ าจากเปรต
อสุรกาย
ธาตุทง้ั ๔ มีกาลังเสมอ
กัน
โทสะ
ขณะทาบุญ เกิดความขุนเคื
อง
่
เสี ยใจ เสี ยดาย ริษยา ราคาญ
ขึน
้ ในใจ
หรือเป็ นผูชอบการเข
น
้
่
ฆา่ การทาลาย
การจองจาใน
ชาติกอน
่
จุตม
ิ าจากนรก
ธาตุไฟ และธาตุลม
กาลังมาก
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
ภพภูมก
ิ อนมาเกิ
ด
่
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
ธาตุทง้ั ๔
มี
93
จริต
กรรมชาติปากกอน
่
โมหะ
ขณะทาบุญ ทาไปโดยไมค
่ านึงถึงเหตุผลในการทา
ทาตามประเพณีทเี่ คยทามาเทานั
หรือเกิดความ
่ ้น
สงสั ยในผลบุญทีต
่ นทา บางครัง้ คิดฟุ้งซ่านในเรือ
่ งอืน
่
อีกอยาง
ชาติ
ก
อนชอบดื
ม
่
น
า
เมาเป็
นอาจิ
ณ
ไม
้
่
่
่
ชอบศึ กษา สนทนากับบัณฑิต
วิตก
ขณะทาบุญ คิดแตเรื
่ งกามคุณ เกิดกามวิตก คิด
่ อ
เกลียดป้องรายผู
อื
น
่
เกิ
ดพยาบาทวิตก คิดในทาง
้
้
เบียดเบียนผูอื
่ ให้ไดรั
เกิดวิหงิ สา
้ น
้ บความเดือนรอน
้
วิตก
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
ภพภูมก
ิ อนมาเกิ
ด
่
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
จุตม
ิ าจากสั ตวเดรั
์ จฉาน
ธาตุทง้ั ๔
ธาตุดน
ิ และธาตุน้ามีกาลัง
มาก
94
10/04/58
จริต
กรรมชาติปากกอน
่
ภพภูมก
ิ อนมาเกิ
ด
่
สั ทธา
ขณะทาบุญ เลือ
่ มใสในพระรัตนตรัย
เลือ
่ มในดวยเห็
นรูปสมบัต ิ ดวยได
ยิ
้
้
้ นวาดี
่
อยางนั
้
น
อย
างนี
้
ด
วยได
ฟั
ง
ผู
ฉลาดแสดง
่
่
้
้
้
ธรรม
ส่วนมากจุตม
ิ าจากสวรรค ์
พุทธิ
ขณะทาบุญ ระลึกอยูเสนอว
า่ ทาดีไดดี
่
้
ทาชัว
่ ไดชั
ว
่
สั
ต
ว
ทั
ง
้
หลายมี
ก
รรมเป็ ฌนข
้
์
องตน ทาสิ่ งใดยอมได
รั
่
้ บสิ่ งนั้น เป็ นสั ก
แตว่ านามรู
ป ไมอยู
านาจบังคับบัญชา
่
่ ในอ
่
ใคร ฯ
ส่วนมากจุตม
ิ าจากสวรรค ์
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
ธาตุทง้ั ๔
95
ลักษณะการสั งเกตจริต ๕
ประการ
ลักษณะทีเ่ ป็ นเครือ
่ งสั งเกตจริตของคนในโลกนี้ ๕ ประการ
คือ
๑. อิรย
ิ าบท
๒.
๓.
๔.
๕.
10/04/58
ไดแก
การเดิน
ยืน
นั่ง
้ ่
นอน และการเคลือ
่ นไหวทากิจกรรมตาง
ๆ
่
กิจจะ
ไดแก
ลักษณะการทางาน
้ ่
โภชนะ
ไดแก
อาหารทีบ
่ ริโภค รวมทัง้ อาหาร
้ ่
ทีบ
่ ริโภค
ทัศสนะ
ไดแก่
การดู
การฟัง การดม
การกิน การลูบไลแต
้ งเนื
่ ้อแตงตั
่ ว
ธัมมปวัตติ การปฏิได
แก ความเป็ นไปแหงธรรม
เช่น
่
บตั กิ มั ้ มัฏฐาน ่ โดย พระครูสุธวี รสาร 11
96
งจริ
ต
คูแห
่ ่
จริต ๖ อยาง
สงเคราะหด
่
้
์ วยความ
เสมอภาคกันไดเป็
้ น
ราคจริต
คูกั
่ บ
โทสจริต
คูกั
่ บ
โมหจริต
คูกั
่ บ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
๓ คู่ คือ
สั ทธาจริต
พุทธิจริต
วิตกจริต
97
ราคจริต
คูกั
สั ทธาจริต
ทีว่ าเสมอภาค
่ บ
่
สั ทธาก็
กันคือ ราคะเป็ นหัวหน้าฝ่ายอกุศล
เป็ นหัวหน้าฝ่ายกุศล
ราคะยอมแสวงหากาม
่
คุณ
ส่วนสั ทธาก็แสวงหาเหมือนกัน แต่
แสวงหาบุญ คือ กุศล มีทาน ศี ล ภาวนา
เป็ นตน
้
ราคะติดใจในสิ่ งไรสาระไร
ประโยชน
ฉั
้
้
์ นใด
สั ทธาก็เลือ
่ มใสในสิ่ งทีเ่ ป็ นสารประโยชนฉะนั
้น
์
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
98
โทสจริต
คูกั
พุทธิจริต
ทีว่ าเสมอภาค
่ บ
่
กันคือ โทสะมีการเบือ
่ หน่าย
แตเบื
่ หน่าย
่ อ
ในสิ่ งทีไ่ มชอบ
ส่วนพุทธหรือปัญญา มีการ
่
เบือ
่ หน่ายเหมือน แตเบื
่ หน่ายในสั งขารทัง้ ปวง
่ อ
โทสะเบือ
่ ดวยอ
านาจความหลง เป็ นทางให้
้
ถึงอบาย
ส่วนพุทธิเบือ
่ หน่ายดวยอ
านาจ
้
ปัญญา เป็ นทางให้ถึงสวรรค ์ และพระนิพพาน
อีกอยาง
โทสะเป็ นธรรมทีเ่ กิดเร็ว
ดุจไฟ
่
ไหมฟางลุ
กโพลงขึน
้ ในทันใด
้
ส่วนปัญญาก็เป็ นธรรมทีเ่ กิดเร็วเหมือน
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
99
โมหจริต
คูกั
ทีว่ าเสมอ
วิตกจริต
่ บ
่
ภาคกันนั้น คือ โมหะมีอาการสงสั ยลังเล
ใจอยู่
ส่วนวิตกก็คด
ิ แลวคิ
้ ดอีก เกิด
ความไมแน
่ ่ ใจเช่นกัน
อีกอยาง
โมหะฟุ้งซ่านในอารมณต
ๆ
่
่
์ าง
ส่วนวิตกก็คด
ิ อยางนั
้น อยางนี
้ อยาง
่
่
่
โน้น อันเป็ นการคิดพลานเช
่
่ นกัน จึงจัด
วามี
่ ความเสมอภาคกัน
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
100
กัมมัฏฐานทีเ่ หมาะกับจริต
จริต
หมายถึง
พฤติกรรมทีแ
่ สดงออกเป็ นประจา
อันเกิด
จากอุปนิสัยทีฝ
่ งั แน่นอยูในสั
นดาน
ไดแก
่
้ ่
๑. ราคจริต พฤติกรรมทีป
่ ระกอบดวยความก
าหนัดยินดี
้
แก้ดวย
อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ
้
๒. โทสจริต พฤติกรรมทีป
่ ระกอบดวยการคิ
ดประทุษรายตนและ
้
้
ผู้อืน
่
แก้ดวย
วัณณกสิ ณ
๔
สี เขียว, สี เหลือง,
้
สี แดง, สี ขาว
และพรหมวิหาร
๔
๓. โมหจริต
พฤติกรรมทีป
่ ระกอบดวยความโง
เขลาไม
รู่ ้
้
่
จริง
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
101
๔. วิตก
ั กจริต
พฤติกรรมทีป
่ ระกอบดวยความวิ
ตกกังวน
้
ใจ
แก้ดวย
การกาหนดลมหายใจเขา-ออก
้
้
๕. สั ทธาจริต พฤติกรรมทีป
่ ระกอบดวยเชื
อ
่ วาสิ
้
่ ่ งนั้นสิ่ งนี้
เป็ นจริงตามทีเ่ ชือ
่
แก้ดวย
การระลึกถึงพระพุทธ, พระธรรม,
้
พระสงฆ,์ ทาน, ศี ล, เทวดา
ระงับทุกขได
์ ,้ นึกถึงความตาย, กายคตาสติ, กาหนดลม
หายใจเขา-ออก
้
๖. พุทธจริต พฤติกรรมทีป
่ ระกอบดวยการแสดงออกว
าตน
้
่
เกงที
่ ุดดวยยกตนข
มท
่ ส
้
่ าน
่
แก้ดวย
ระลึ
กถึโดยงพระครู
ความตาย,
พิจารณาให้เห็ นจริง,102
10/04/58
การปฏิ
บตั กิ มั มัฏฐาน
สุธวี รสาร 11
้
คาถามทายบทที
่
้
๔
๑. อะไรคือจริต
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
10/04/58
มีกป
ี่ ระเภทไดแก
าง
้ อะไรบ
่
้
เพราะเหตุใดคนทีเ่ กิดมาจึงมีจริตแตกตางกั
น
่
ให้นักศึ กษาจัดคูจริ
่ ตทัง้ ๖ มาพอสั งเขป
กัมมัฏฐานทีเ่ หมาะกับแตละจริ
ตคืออะไรบาง
่
้
จริตหมายถึง..มีเทาไร...อะไรบ
าง
และแกด
่
้
้ วย
้
อะไรบาง
้
เมือ
่ พิจารณาเรียนรูจริ
้ ตทัง้ ๖ นี้แลว
้ นักศึ กษาคิดวา่
ตนเองจัดอยูในจริ
ตใดมากทีส
่ ุด เพราะเหตุใด แลวจะ
่
้
แกด
ธใี ด
้ วยวิ
้
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
103
บทที่ ๕
กิจในสมถ
กัมมัฏฐาน
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
104
ระงับนิวรณ ์ ๕ เครือ
่ งกัน
้ ความ
ดี
ระงับนิวรณ ์ ๕
๑.กามฉันท ์ พอใจในกามคุณ ๕ ดวยอ
านาจของกิเลสกาม
้
แก้ดวยการเจริ
ญอสุภกรรมฐาน
พิจารณาซากศพ
้
๙ ชนิด
เจริญกาย คตาสติ
พิจารณารางกายที
ม
่ ช
ี วี ต
ิ
่
ให้เป็ นของน่าเกลียด
เปรียบเหมือน คนเป็ นไข้
หนาว ๆ รอน
ๆ อยูไม
้
่ เป็
่ น
สุข
๒.พยาบาท
โกรธจัดดวยก
าลังโทสะอยางแรง
อาฆาต
้
่
พยาบาท คิดจองลางจองผลาญผู
่
มักโกรธงายโมโห
้
้อืน
่
ราย
้
แก้ดวย
การแผพรมหวิ
หาร ๓ คือ เมตตา
้
่
กรุณา
มุทต
ิ าการปฏิบตั กิ มั มัอบรมจิ
ตใหคิดในเรือ
่ งความรัก
ความ 105
10/04/58
ฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11 ้
๓. ถีนมิทธะ
หดหูท
และเคลิบเคลิม
้ เศราซึ
่ อแท
้
้
้ มแห่ง
จิต
คนผู้มีถน
ี มิทธะเป็ นเจ้าเรือน
มักยอท
่ อใน
้
กิจการงานทีต
่ องท
า
้
แก้ดวย
การเจริญอนุ สสติกรรมฐาน
พิจารณาความ
้
ดีของตน
หรือคุณพระรัตนตรัย เป็ นตน
เพือ
่ ให้
้
เกิดความมานะบากบัน
่
อดทนตอการท
ากิจการงานที่
่
ทา
เปรียบเหมือน
คนติดคุก
ทอแท
ออนแอ
สิ้ นหวัง
้
้
่
ในชีวต
ิ
คิดวาตนไร
คุ
่
้ ณคา่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
106
๔. อุทธัจจกุกกุจจะ
ฟุ้งซ่าน
อึดอัด
กลัดกลุม
้
วิตกกังวล
และราคาญใจ
ไมเป็
คน
่ นปกติสุข
เหลานี
มักมีจต
ิ ใจไมมั
่ คง
ขาดความมัน
่ ใจ
่ ้
่ น
แก้ดวย
การเพงกสิ
ณเพือ
่ ให้ใจแน่วแน่ดวยอารมณ
เดี
้
่
้
์ ยว
หรือเจริญมรณสติให้เกิดความสั งเวช
เปรียบเหมือน
คนรับใช้
เกิดความกังวลตลอดเวลา
เพราะการรอคอยเจ้านาย
ไมรู่ จะไปมาเวลาไหน
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
107
๕. วิจก
ิ จ
ิ ฉา
ลังเลสงสั ยตัดสิ นใจไมได
่ ้
แก้ดวย
การเจริญธาตุกรรมฐาน
หรือวิปส
ั สนา
้
กรรมฐาน
เพือ
่ กาหนดรูเท
้ าทั
่ นสภาวธรรมตามทีเ่ ป็ น
จริง
เปรียบเหมือน
คนเดินทาง
โดยไมรู่ แน
ทาง
้ ่ ชัดวา่
เส้นนี้ใกลไกลเพี
ยงไร
้
และเจริญพรหมวิหาร ๔ เป็ นประจา
สรุป
การรักศี ลยิง่ กวาชี
ิ
การระงับนิวรณ ์ ๕ และ
่ วต
ทรงพรหมวิหาร เป็ นอธิจต
ิ
คือทรงฌานสมาบัตไิ วได
้ ้
เรียกวา่
ดีระดับเปลือกของความดีในพุทธศาสนาเทานั
่ ้น
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
108
ความดีระดับกระพีแ
้ ละระดับแกน
่
***
 มีศีลบริสุทธิ ์
กาจัดนิวรณ ์ ๕ ได้ ทรงพรหมวิหาร ๔
แลว
เศษ มีบุพเพนิวาสานุ สสติญาณ ระลึก
้ สรางฌานพิ
้
ชาติโดยไมจ
่ ากัด
เรียกวา่
มีความดีระดับกระพีข
้ องความดีในพุทธศาสนา
 มีศีลบริสุทธิ ์
กาจัดนิวรณ ์ ๕ ได้ ทรงพรหมวิหาร ๔
แลว
เศษ มีบุพเพนิวาสานุ สสติญาณ จตุป
้ สรางฌานพิ
้
ปาตญาณและบรรลุทพ
ิ ยจักษุ ญาณ รูว
วไป
้ าสั
่ ตยตายแล
์
้
เกิดทีไ่ หน มาจากไหน
อาศัยกรรมอะไรเป็ นเหตุ
เรียกวา่
มีความดีระดับแกน
ทาน
่ หรือระดับวิชชาสาม
่
เหลานี
บต
ั เิ พือ
่ ธรรมเบือ
้ งสูง อยางช
่ ้ถาปฏิ
้
่
้าไมเกิ
่ น ๗ ปี
กลางไมเกิ
น ๗ เดือน เร็วไมเกิ
น ๗ วัน
่
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
109
เครือ
่ งหนุ นเนื่องการปฏิบต
ั ิ
๑. ฉันทะ มีความพอใจ ตัง้ ใจปฏิบต
ั ต
ิ ามหลักกัมมัฏฐานแบบ
ตาง
ๆ ทีค
่ รูอาจารยแนะน
าสั่ งสอน
่
์
๒. วิรย
ิ ะ มีความเพียรพยายามทาดวยความบริ
สุทธิ ์ ที่
้
ประกอบดวยศี
ล สมาธิ และปัญญา
้
๓. จิตตะ คิดพิจารณาดวยหลั
กของเหตุผล หรือหลักไตร
้
ลักษณ ์ คือ ไมเที
่ ง เป็ นทุกขไม
่ ย
์ มี
่ ตวั ตน
๔. วิมงั สา ตรึกตรองกัมมัฏฐานทีเ่ ราพิจารณาดวยเหตุ
ผลและ
้
กฎแหงธรรมชาติ
โดยไมยึ
่
่
่ ดไมถื
่ อมัน
๔ ประการนี้เรียกวา่
อิทธิบาทธรรม
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
110
สมาธิ
 สมาธิ
แปลวา่
ความตัง้ มัน
่ แหงจิ
่ ต
 หมายถึง
การทาจิตใจให้วางจากนิ
วรณ ์
เป็ นจิตที่
่
อาจหาญควรแกงาน
มี ๒ คือ
่
๑. อุปจารสมาธิ
แปลวา่ สมาธิแบบเฉี ยดๆ
คือสมาธิ
เกือบจะแน่วแน่ ระงับนิวรณได
ม
่ เกิดแตยั
์ ้ องคฌานเริ
์
่ งไม่
มีกาลังพอ
หากจิตยังไมมั
่ คงสมาธิก็เสื่ อมได้
จัดเป็ น
่ น
สมาธิขน
้ั ตา่
มีในสามัญชนทัว่ ไป
๒. อัปปนาสมาธิ แปลวา่ สมาธิทแ
ี่ น่วแน่
คือ สภาวะ
จิตของผู้ทาสมถะจนจิตมัน
่ คงในอารมณกรรมฐานอั
นเดียว
์
ถึงขัน
้ ”เอกัคคตาจิต” จัดเป็ นสมาธิชน
้ั สูง มีในผู้ไดรู้ ป
ฌาน ๔ ขึน
้ ไป
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
111
สมถกรรมฐาน
สมถะ มีความหมาย ๓ อยางคื
อ
่
๑. เครือ
่ งสงบระงับของจิต
๒. ทาให้จิตสงบระงับจากนิวรณ ์
๓. เครือ
่ งระงับของจิตในภายใน
กรรมฐาน
ไดแก
ที
่ ง้ั การงานของจิต
คือสิ่ งยึด
้ อารมณ
่
์ ต
เหนี่ยวผูกจิต
ไมให
่ ้ฟุ้งซ่าน
สมถกรรมฐาน
หมายถึง
อุบายทาใจให้สงบ
เป็ น
การปฏิบต
ั ด
ิ วยบริ
กรรมในอารมณกรรมฐาน
๔๐ (กสิ ณ
้
์
๑๐,อสุภะ ๑๐, อนุ สสติ ๑๐, พรหมวิหาร ๔, อาหาเร
ู สั ญญา การปฏิ
๑,บตั กิ มั ธาตุ
วพระครู
วัตสุธถาน
๑, อรูปฌาน ๔)
10/04/58ปฏิกล
มัฏฐาน โดย
วี รสาร 11
112
สมถภาวนา
๓
๑. เจริญสมถะให้เกิดดวยเจตนาอย
างใด
้
่
อยางหนึ
่ง
่
บายเครือ
่ งสงบระงับ
๒. เจริญสมถะดวยอุ
้
ของจิตให้มีขน
ึ้
๓. เจตนาทีเ่ ป็ นไปในสมถกรรมฐาน
ทัง้ สิ้ น
๓
ประการนี้
ชือ
่ วา่
สมถ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
113
หัวใจสมถกรรมฐานทีเ่ ป็ นคูปรั
่ บ
นิวรณ ์
๑. กายคตาสติ
หมายถึง
สติมใี นกาย (มูลกรรมฐาน๕
และอาการ ๓๒)
อานวยผลขัน
้ สมาธิเฉี ยด ๆ เหมาะแกผู
่ ้มีกามฉันทเป็
์ น
เจ้าเรือน
เพราะทาให้ไมเกิ
ณ
่ ดความกาหนัดรักใครในกามคุ
่
๒. เมตตา
หมายถึง ความรักทีไ่ มเจื
่ อดวยความใคร
้
่
อานวยผลขัน
้ สมาธิอน
ั แน่วแน่ เหมาะแกผู
่ ้มีพยาบาทเป็ น
เจ้าเรือน
เพราะทาให้เป็ นผู้ไมมี
่ เวรภัยตอกั
่ น
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
114
๓. พุทธานุ สสติ
หมายถึง การระลึกถึงพุทธคุณ ๙
หรือพุทธคุณ ๓
อานวยผลขัน
้ สมาธิเฉี ยดๆ
เหมาะแกผู
ี มิทธะเป็ น
่ ้มีถน
เจ้าเรือน
เพราะทาให้ไมหดหู
ทอแท
เศราซึ
่
่
้
้
้ ม
๔. กสิ ณ
หมายถึง
เครือ
่ งหมายจูงใจ หรือวัตถุสาหรับ
เพง่
อานวยผลขัน
้ สมาธิอน
ั แน่วแน่ เหมาะแกผู
่ ้มีอุทธัจจกุกกุจ
จะเป็ นเจ้าเรือน
เพราะทาให้จิตจดจอและอดทนต
อการ
่
่
งานทีท
่ า
๕. จตุธาตุววัตถาน
หมายถึง
กาหนดธาตุ ๔ ตาม
ความเป็ นจริง
อานวยผลขัน
้ เฉี ยดๆ เหมาะแกผู
ิ ก
ิ จ
ิ ฉาเป็ นเจ้าเรือน
่ ้มีวจ
10/04/58 เพราะทาใหคลายความสงสั
ดในสภาพทีเ่ ป็ น 115
้ การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11ย ไมหลงผิ
่
ลักษณะสมาธิแบบพุทธศาสนา
พระไตรปิ ฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระพุทธเจ้า
ตรัสบริขารสมาธิ ๗ ประการไดแก
้ ่
๑. สั มมาทิฏฐิ
๒. สั มมาสั งกัปปะ
๓. สั มมาวาจา
๔. สั มมากัมมันตะ
๕. สั มมาอาชีวะ
๖.
สั มมาวายามะ
๗. สั มมาสติ
สภาวะจิตทีม
่ อ
ี ารมณเดี
์ ยว มีองค ์ ๗ ประการนี้แวดลอม
้
เรียกวา่
อริยสั มมาสมาธิ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
116
อารมณสมถกรรมฐาน
๔๐
์
๑. กสิ ณ ๑๐
๒. อสุภะ
๑๐
๓. อนุ สสติ
๑๐
๔. พรหมวิหาร ๔
๕. อาหาเรปฏิกล
ู สั ญญา ๑
๖. จตุธาตุววัตถาน ๑
๗. อรูป ๔
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
117
กสิ ณ เครือ
่ งหมายจูงใจ/วัตถุ
สาหรับเพง่ ๑๐
๑. ปฐวีกสิ ณ
๒.
๓.
๔.
๕.
10/04/58
เพงดิ
่ น
เป็ นอารมณ ์
อาโปกสิ ณ
เพง่
น้าเป็ นอารมณ ์
เตโชกสิ ณ
เพง่
ไฟเป็ นอารมณ์
วาโยกสิ ณ เพงลม
่
เป็ นอารมณ ์
นีลกสิ ณ
เพงสี
่
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
118
กสิ ณ เครือ
่ งหมายจูงใจ/วัตถุ
สาหรับเพง่ ๑๐ (ตอ)
่
๖. ปี ตกสิ ณ เพงสี
่ เหลือง
เป็ นอารมณ ์
๗. โลหิตกสิ ณ เพงสี
่ แดง
เป็ นอารมณ์
๘. โอทาตกสิ ณ เพงสี
่
ขาวเป็ นอารมณ ์
๙. อาโลกกสิ ณ เพงแสง
่
สวางเป็
นอารมณ ์
่
๑๐.อากาสกสิ ณ เพง่
อากาศเป็ นอารมณ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
119
อสุภะ (ความไม่
งาม) ๑๐
 ตามความเป็ นจริงรางกายมนุ
ษยนี
่ งประดับ
่
์ ้ ถูกเครือ
เสื้ อผ้า หอหุ
้ งหลังสิ่ งเหลานั
่ ้มปิ ดบังไว้ แตเบื
่ อ
่ ้น ใน
รางกายมนุ
ษยประกอบด
วย
กระดูก ๓๐๐ ทอนเศษ
่
์
้
่
เป็ นโครงราง
เชือ
่ มดวยข
อต
มีเอ็น
่
้
้ อ
่ ๑๘๐ แหง่
๙๐๐ เส้นผูกยึดไวฉาบด
วยชิ
น
้ เนื้อ ๙๐๐ ชิน
้ หอหุ
้
้
่ ้ม
ดวยหนั
งสดบาง ๆ ปิ ดไวด
งกาพรา้ มีช่องทะลุปรุ
้
้ วยหนั
้
มีมน
ั ไหลซึมออกทัง้ ขางบนและซึ
มลงขางล
างเป็
นนิตย ์
้
้
่
โดยทางปากแผลทัง้ ๙ แหง่ และมีเหงือ
่ อันสกปรกไหล
ออกจากขุมขน ๙๙,๐๐๐ ขุม
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
120
อสุภะ ซากศพทีอ
่ ยูในสภาพ
่
ตาง
๑๐
่๑. พิๆจารณาซากศพที
เ่ น่ า
พองขึน้ โดยลาดับ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
121
๒. วินีลกอสุภะ
รางผี
อน
ั มีสีตาง
่
่
ๆ
พิจารณาซากศพ
ทีม
่ ส
ี ี เขียวเป็ น
อารมณ ์ สี แดง
ขาว, เขียว,
เหลืองเจือกัน
เพือ
่ ให้เกิดความ
เบือ
่ หน่ายคลาย
กาหนัด
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
122
๓. วิปุพพกอสุภะ
ซากศพทีม
่ ี
น้าเหลืองไหล
พิจารณาซากศพ
ทีม
่ น
ี ้าเหลืองไหล
ออกเป็ นอารมณ ์
เพือ
่ คลายกาหนัด
ยินดีในรูป
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
123
๔. วิฉินทกอสุ
ภะ
ซากศพทีข
่ าด
เป็ นทอน
ๆ
่
พิจารณา
ซากศพทีข
่ าด
กลางตัว
กระจัดกระจาย
เป็ นทอน
ๆ
่
เพือ
่ คลาย
กาหนัดยินดี
ในรูป
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
124
๕. วิกขายิตตกอ
สุภะ
ซากศพทีส
่ ั ตยกั
์ ด
กิน
ซากศพทีส
่ ั ตย ์
ตาง
ๆ แยง่
่
กันกัดกินเป็ น
อารมณ์
เพือ
่ ให้เกิด
ความเบือ
่
หน่ายคลาย
กาหนัดในกาม
คุณ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
125
๖. วิกขิตตกอสุภะ
ซากศพทีเ่ ขาทิง้ ไว้เอ
ยางเรี
ย
่ ราย
่
พิจารณา
ซากศพ
ทีม
่ ม
ี อ
ื เทา้
ศี รษะขาดเป็ น
อารมณ ์
เพือ
่ ให้เกิด
ความเบือ
่
หน่ายคลาย
กาหนัด
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
126
๗. หตวิกขิตตกอ
สุภะ
ซากศพทีเ่ กิดจากศ
รัตรู
พิจารณา
ซากศพทีถ
่ ก
ู
ประการดวย
้
ศัตราวุธ มี
เลือดไหลอาบอยู่
เป็ นอารมณ ์
เพือ
่ ให้เกิดความ
เบือ
่ หน่ายคลาย
กาหนัด
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
127
๘. โลหิตกอสุภะ
ซากศพทีม
่ เี ลือด
ไหลอาบอยู่
พิจารณา
ซากศพทีม
่ เี ลือด
ไหลอาบอยูเป็
่ น
อารมณ์ เพือ
่ ให้
เกิดความเบือ
่
หน่ายคลาย
กาหนัดในรูป
กาย ไมให
่ ้
หลงใหลในกาม
คุณ ๕
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
128
๑๐. อัฏฐิกอสุภะ
ซากศพทีเ่ ห็ นแต่
โครงกระดูก
พิจารณา
ซากศพทีเ่ ห็น
กระดูกทุกส่วน
จนเหลือชิน
้ เดียว
เป็ นอารมณ ์
เพือ
่ ให้เกิดความ
เบือ
่ หน่ายคลาย
กาหนัดยินดีใน
รูปนามทัง้ ปวง
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
129
สรุปอสุภกรรมฐาน
การพิจารณาสิ่ ง
เหลานี
่ ้ ให้เห็ นเป็ นของไม่
งาม
ไมน
่ ชม
เป็ น
่ ่ าชืน
ของน่ารังเกียจ
โสโครก
ไมควรหลงใหลในร
างกายที
่
่
่
เป็ นของไมเที
่ ง
เป็ นทุกข ์
่ ย
ไมใช
ไมอยู
่ ่ ตัวตน
่ ใน
่
อานาจ
ไมเป็
่ นไปตาม
ปรารถนาได้
ควรปลอยวางเพื
อ
่
่
ไมให
่
ถือมัน
่
่ ้ยึดมัน
10/04/58
มั มัฏวิ
ฐานบโดย
เพราะมีความเสื่ อการปฏิ
มสิบตั กิ ้ น
ต
ั พระครู
ิ สุธวี รสาร 11
130
อนุ สสติ คือ อารมณควรระลึ
ก
์
๑๐ ประการ
๑. พุทธานุ สสติ ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า
๒. ธัมมานุ สสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรม
๓. สั งฆานุ สสติ ระลึกถึงคุณของพระสงฆ ์
๔. สี ลานุ สสติ ระลึกถึงศี ลของตน วามี
อดาง
่ ขอใดขาดหรื
้
่
พรอยบ
าง
ถาพบข
อที
่ าดหรือดางพร
อยก็
ผูกใจไวว
้
้
้
้ ข
่
้
้ าจะ
่
สารวมระวังตอไป
เมือ
่ เห็ นวาศี
์ ุดผอง
่
่ ลของตนบริสุทธิผ
่
ก็พงึ ปิ ตย
ิ น
ิ ดี
๕. จาคานุ สสติ ระลึกถึงทานทีต
่ นไดบริ
้ จาคแลว
้ ให้เกิด
ความ อิม
่ เอิบใจ นึกวาเป็
่ นโชคของเราแลวที
้ ไ่ ดบริ
้ จาค
ทาน อันเป็ นการขัดเกลากิเลส ดวยการบ
าเพ็ญ
้
ประโยชนแก
ผู
น
่ เมือ
่ ระลึกไดอย
้จนจิตเกิดความปี ต ิ131
์ การปฏิ
่ ้อื
้ างนี
่
10/04/58
บตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
๖. เทวตานุ สสติ ไดแก
กถึงคุณธรรมทีท
่ าให้คนเป็ น
้ การระลึ
่
เทพ ไดแก
้ ศรั
่ ทธา ศี ล การฟังธรรม ทานและปัญญา
ระลึกวาเทพทั
ง้ หลายได้ บาเพ็ญธรรมเหลานี
่
่ ้มาจึงได้
ความเป็ นเทพ ตัวเราเองก็มค
ี ุณธรรมเหลานี
่ ้แลว
้ ระลึก
อยางนี
้แลวย
ดความปี ต ิ
่
้ อมเกิ
่
๗. มรณัสสติ ไดแก
กถึงความตาย วาเราเองจั
กตอง
้ การนึ
่
่
้
ตาย เมือ
่ ระลึกถึงความตายยอมท
าให้จิตไดความสั
งเวช
่
้
สลดใจ ตืน
่ จากความมัวเมา
๘. กายคตาสติ ไดแก
กถึงอวัยวะรางกาย
ตัง้ แตผม
้ การระลึ
่
่
่
ขน เล็บ ฟัน หนัง ฯลฯ จนถึงอุจจาระปัสสาวะ ให้
เห็ นวาร
้เป็ นของปฏิกล
ู โสโครก น่าเกลียด
่ างกายนี
่
รางกายของเราฉั
นใด รางกายของคนอื
น
่ ก็ฉันนั้น เมือ
่
่
่
ระลึกอยางนี
้ จต
ิ จะเกิดเป็ นความเบือ
่ หน่าย คลายความ
่
กาหนัดยินดีในรางกาย
จิตจะถอนตัวจากราคะ
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
132
๙. อานาปานสติ คือ กาหนดลมหายใจของตนเอง เอาสติ
บังคับจิตให้จดจออยู
ที
่ มหายใจ เมือ
่ ปฏิบต
ั ด
ิ งั นี้ จิตจะ
่
่ ล
ถอนตัวจากอารมณอย
น
่ ลดความฟุ้งซ่าน
์ างอื
่
๑๐. อุปสมานุ สสติ ระลึกถึงคุณของพระนิพพาน ไดแก
้ ่
ระลึกถึงความดีของพระนิพพาน คือความสุขจากความสิ้ น
กิเลส วาเป็
่ ทจริ
่ นความสุขทีแ
้ ง เพราะดับเสี ยไดซี
้ ง่ ตัณหา
อันเป็ นเหตุให้เกิดทุกข ์ การนึกถึงคุณพระนิพพานยอมท
า
่
ให้จิตยินดีในการละกิเลสและเห็ นโทษของการเวียนวาย
่
ตายเกิดในวัฏฏสงสาร
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
133
สรุปขอบขายสมถกั
มมัฏฐาน
่
อาหาเร
ปฏิกลู สัญญา
๘
นิวรณ์ ๕
หัวใจสมถะ
๕
อรูป ๔
สมาธิ ๒
สมถ
กัมมัฏฐาน
พรหมวิหาร
๔
นิมติ ๓
อารมณ์ ๑๐
ภาวนา ๓
จริต ๖
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
134
คาถามทายบทที
่
้
๕
๑. นิวรณ ์ ๕ หมายถึงอะไร แกด
มมัฏฐานอะไร และ
้ วยกั
้
เปรียบเหมือนคนเช่นใดบาง
้
๒. เครือ
่ งหนุ นเนื่องการปฏิบต
ั ห
ิ มายถึง....มีเทาไรอะไรบ
าง
่
้
๓. สมาธิ
แปวา...............หมายถึ
ง........สมถกัมมัฏฐาน
่
หมายถึง..........
๔. กสิ ณ, อสภะ, อนุ สสติ มีความหมายวาอย
างไร
่
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
135
วิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
136
ความรูเบื
้ งตนเกี
ย
่ วกับวิปส
ั สนา
้ อ
้
๑. หลักการปฏิบต
ั ส
ิ มถะ
ภูมข
ิ องสมถะ เริม
่ ทีก
่ ารทาใจให้
หยุดนิ่งจากอารมณทั
์ ง้ ปวง ถาท
้ าใจให้หยุดนิ่งไมได
่ ก็
้
เขาสู
ิ องสมถะไมได
เพราะสมถะ แปลวา่
สงบ
้ ่ ภูมข
่ ้
ระงับ
หยุด
นิ่ง
ดังนั้น
สมถะ จึงตองท
าใจ
้
ให้สงบ ระงับ หยุดนิ่งเป็ นสมาธิให้ได้
๒. หลักการปฏิบต
ั วิ ป
ิ ส
ั สนา
ปัญญารูเห็
มแจ
้ นอยางแจ
่
่
้งใน
ไตรลักษณ ์ คือ
ไมเที
่ ง
เป็ นทุกข ์ ไมมี
่ ย
่ ตวั ตน
ชือ
่ วา่ วิปส
ั สนา การเห็ นแจ้งในเรือ
่ ง
ขันธ ์ ๕
อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย ์
๒๒ อริยสั จ ๔
ปฏิจจสมุปบาท
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
137
กิเลส
 กิเลสในใจมนุ ษย ์







10/04/58
ความหมายของกิเลส
ประเภทของกิเลส
ตระกูลของกิเลส
ระดับของกิเลส
กิเลสในกายตาง
ๆ
่
ลักษณะการครอบงาของกิเลส
ทุกขโทษภั
ยจากกิเลส
์
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
138
แนวคิด
๑. กิเลสเป็ นเหมือนเชือ
้ โรคทีท
่ าให้เศราหมอง
เสื่ อมโทรม
้
ดอยคุ
ณภาพ
มีชอ
ื่ เรียกตางกั
นออกไป แตกิ
้
่
่ เลสทีเ่ ป็ น
อกุศลมูล มี ๓ คือ โลภะ
โทสะ
และโมหะ
๒. กิเลสสามารถขยายตัวได้ ๓ ระดับ คือ อนุ สัยกิเลส
ปริยุฏฐานกิเลส
และวีตก
ิ มกิเลส
๓. กิเลสมีอยูในกายมนุ
ษย ์ รวมถึงกายอืน
่ ๆ ทัง้ กายทิพย ์
่
กายรูปพรหม
กายอรูปพรหม จนถึงกายธรรมตาง
ๆ
่
โดยมีจุดกาเนิดจากอวิชชามาบังคับ
จนกระทัง้
ขยายตัวเป็ นกิเลสตาง
ๆ และมีทุกขภั
่
่
์ ยนาสั ตวให
์ ้ทาชัว
ตองพลั
ดตกไปสู่อบายภูม ิ
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
139
กิเลสในใจมนุ ษย ์
กิเลส
แปลวา่
ความเศราหมอง
หรือมูลเหตุแหง่
้
สั งสารวัฏ
ความออนแอ
เจ็บป่าย
เสื่ อมโทรม เศราหมอง
่
้
ทุกขโศก
และดอยคุ
ณภาพ
เพราะเชือ
้ คือโรครายในใจ
์
้
้
เรียกวา่
กิเลส
ส่วนของ
ทางเจริญขึน
้
ทางเสื่ อมลง
ตารางแสดงอาการของกายกับจิต
ชีวต
ิ
มีอาการ
กาย
เติบโต
อวนพี
้
จิต
ปลอดโปรง่ ผองใส
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
เนื่องจาก
มีอาการ
เนื่องจาก
อาหาร
ซูบผอม
โรค
ธรรมะ
มืดมัว เศราหมอง
้
กิเลส
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
140
อาการของโรคของกายและจิต
อาการของโรคทางกาย ๗
ประการ
อาการของโรคทางจิต ๓ ประการ
๑. เจ็บ
๑. หิว
๒. ปวด
๒. ร้อน
๓. แสบ
๓. มืด
๔. ร้อน
๕. เย็น
๖. คัน
๗. ชา
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
141
ความหมายของ
กิเลส
กิเลส
หมายถึง
ธรรมเครือ
่ งเศรา้
หมอง ภาวะทีเ่ กิดขึน
้ ในใจและทาใจ
ให้เศราหมอง
มลทินของใจ
้
ในพจนานุ กรม ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒
กิเลส
หมายถึง
เครือ
่ งทาใจให้
เศราหมอง
ไดแก
้
้ ่ โลภ โกรธ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
142
ประเภทของกิเลส
กิเลส เป็ นกัณหธรรม เป็ นธรรมฝ่ายอกุศล เป็ นเหตุให้ใจ
เศราหมอง
เกิดปาบ อกุศล
และความชัว
่ รายทั
ง้ หวง
้
้
ในปริเฉทที่ ๗ สมุจจยสั งคหวิภาค แหงคั
ั มัตถ
่ มภีรอภิ
์ ธม
สั งคหะ
ไดประมวลสรุ
ปหมวดธรรมแหงอกุ
ศลไว้ ๙
้
่
หมวด ๕๕ ประการ คือ
๑. อาสวะ
๔ ๒. โอฆะ
๔
๓. โยคะ
๔
๔. คันถะ ๔
๕. อุปาทาน
๔ ๖. นิวรณ ๖๗. อนุ สัย
๗
๘.
สั งโยชน๑๐
์
แตละหมวดมี
รายละเอียดดังตอไปนี
้
่
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
143
๑.
อา
สวะ ๔
 อาสวะ
คือ กิเลสซึง่ ดองอยูในกระแสจิ
ต ทาให้วัฏฏะทุกข ์
่
ทีย
่ าวนานไมมี
เจริญรุงเรื
ี่ ้ิ นสุด ๔ คือ
่ กาหนด
่ องไมมี
่ ทส
๑. กามาสวะ
ติดใจแสวงหากามคุณทัง้ ๕ คือ รูป
เสี ยง กลิน
่ รส สั มผัส
๒. ภวาสวะ
ชอบใจยินดีในอัตภาพตน ปรารถนารูปภพ
อรูปภพ
๓. ทิฏฐาสวะ
เห็ นผิดจากความเป็ นจริง และติดใจให้
ความเห็ นผิดนั้น
๔. อวิชชาสวะ
จมอยูในความไม
รู่ เหตุ
ผลตามเป็ นจริง จึง
่
้
ไดโลภ
โกรธ หลง
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
144
โอฆะ
๔
 โอฆะ
คือ กิเลสทีเ่ ป็ นเหมือนห้วงน้า ทวมทั
บสั ตว ์
่
ทัง้ หลายให้จมลงในวัฏสงสาร จนถึงอบายภูม ิ โดยไมให
่ ้
โอกาสโผลขึ
้ พนจากวั
ฏสงสาร มี ๔
่ น
้
๑. กาโมฆะ
ห้วงแหงกาม
พาให้สั ตวจมอยู
ในกาม
่
์
่
คุณทัง้ ๕
๒. ภโวฆะ
ห้วงแหงภพ
พาให้สั ตวจมอยู
ในความ
่
์
่
ยินดีตออั
่ ตภาพของตน
๓. ทิฏโฐฆะ
ห้วงแหงความเห็
นผิด พาให้สั ตวจมอยู
ใน
่
์
่
ความเห็ นผิด
๔. อวิชโชฆะ
ห้วงแหงความหลง
พาให้สั ตวลุ
่
์ มหลงจม
่
อยูในความไม
รู่ ้ บตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
่
10/04/58
การปฏิ
145
โยคะ
๔
 โยคะ คือ เครือ
่ งประกอบเหลาสั
ฏฏะ ไมให
่ ตวเข
์ าในวั
้
่ ้
หลุดพนไปได
้
้ มี ๔
๑. กามโยคะ
ตรึงให้ติดอยูกั
่ บกามคุณ
๒. ภวโยคะ
ตรึงให้ติคอยูกั
่ บความยินดีในอัตภาพของ
ตน
๓. ทิฏฐิโยคะ
ตรึงให้ติดอยูกั
่ บความเห็ นผิดจากความ
เป็ นจริงของสภาวธรรม
๔. อวิชชาโยคะ
ตรึงให้ติดอยูกั
่ บความหลง เพราะไมรู่ ้
เหตุผลตามเป็ นจริง
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
146
คันถะ
๔
 คันถะ
คือ เครือ
่ งรอยรั
ด ผูกมัดทาให้เป็ นปม หรือ
้
หวงที
ร่ อยรั
ดในระหวางจุ
ิ บ
ั ปฏิสนธิ และปฏิสนธิกบ
ั จุต ิ
่
้
่ ตก
ติดตอกั
่ ย ๆ ไมให
่ นไปเรือ
่ ้พนวั
้ ฏฏะทุกขไปได
์
้ มี ๔
๑. อภิญชากายคันถะ
ผูกมัดอยูกั
ชอบใจ
่ บความยินดี
อยากได้
๒. พยาบาทกายคันถะ
ผูกมัดอยูกั
่ บความโกรธ คิดป้อง
ราย
้
๓. สี ลพ
ั พตปรามาสกายคันถะ ผูกมัดอยูในความชอบใจการ
่
ปฏิบต
ั ท
ิ ผ
ี่ ด
ิ
๔. อิทงั สั จจาภินิเวสกายคันถะ ผู้มัดในความชอบใจการ
ปฏิบต
ั ท
ิ ผ
ี่ ด
ิ การปฏิ
แต
รุนแรงมัน
่ คงแน่วแน่กวา่ ๓ ขอแรก
้
10/04/58
บตั กิ ่ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
147
อุปาทาน
๔
 อุปาทาน คือ เครือ
่ งยึดมัน
่ ในอารมณของตน
ๆ
์
ไม่
ยอมปลอย
มี ๔ คือ
่
๑. กามุปาทาน
ยึดมัน
่ ในวัตถุกามทัง้ ๖ มีรูปารมณ ์
เป็ นตน
้
๒. ทิฏฐุ ปาทาน
ยึดมัน
่ ในการเห็ นผิด มีนิยตมิจฉาทิฏฐิ
๓ และทิฏฐิ ๖๒
๓. สี ลพ
ั พตุปาทาน ยึดมัน
่ ในการปฏิบต
ั ท
ิ ผ
ี่ ด
ิ
๔. อัตตวาทุปาทาน ยึดมัน
่ ในขันธ ์ ๕ วาเป็
่ นตัวตน
ไดแก
้ ่ สั กกายทิฏฐิ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
148
๖. นิวรณะ
๖
 นิวรณะ คือ ธรรมทีห
่ ้ามหรือกัน
้ ความดีไมให
ๆ
่ ้กุศลตาง
่
เกิด และทาให้กุศลบางอยาง
เช่น ฌานทีเ่ กิดแลวให
่
้
้
เสื่ อมสิ้ นไป มี ๖ คือ
๑. กามฉันทนิวรณ ์
ขัดขวางไวเพราะชอบใจในกาม
้
คุณารมณ ์
๒. พยาบาทนิวรณ ์ ขัดขวางไวเพราะความไม
ชอบใจใน
้
่
อารมณ ์
๓. ถีนมิทธนิวรณ์ ขัดขวางไวเพราะความหดหู
ท
้
่ อถอยใน
้
อารมณ ์
๔. อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ ์ ขัดขวางไวเพราะคิ
ดฟุ้งซ่าน
้
ราคาญใจ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
149
๗. อนุ สัย
๗
 อนุ สัย
คือ กิเลสทีน
่ อนเนื่องอยูในขั
นธสั นดานของสั ตว ์
่
ทัง้ หลาย มี ๗ คือ
๑. กามราคานุ สัย
สั นดานทีช
่ อบใจในกามคุณ
๒. ภวราคานุ สัย
สั นดานทีช
่ อบใจในอัตภาพของตน
และรูปภพอรูปภพ
๓. ปฏิฆานุ สัย
สั นดานทีโ่ กรธเคือง
ไมชอบใจ
่
๔. มานานุ สัย
สั นดานทีท
่ ะนงตน
ถือตัว
ไมยอม
่
ลงให้แกใคร
่
๕. ทิฏฐานุ สัย
สั นดานทีม
่ ค
ี วามเห็ นผิด
๖. วิจก
ิ จ
ิ ฉานุ สัย
สั นดานทีม
่ ล
ี งั เลและสั งสั ยไมแน
่ ่ ใจ
๗. อวิชชานุ สัย
สั นดานทีม
่ ค
ี วามลุมหลงมั
วเมา ไมรู่ ้
่
10/04/58เหตุผลตามความเป็
การปฏิบตั กิ มั มัฏนจริ
ฐาน โดย ง
พระครูสุธวี รสาร 11
150
๘. สั งโยชน์
๑๐
 สั งโยชน์ คือ เครือ
่ งผูกสั ตวไม
์ ให
่ ้ออกจากวัฏทุกขได
์ ้ มี
๑๐ จาแนกตามพระสูตร คือ
๑. กามราคสั งโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
ต
่ ด
ิ
์ โดยอาการที
้
อยูในกามคุ
ณ
่
๒. รูปราคสั งโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
ต
่ ด
ิ อยู่
์ โดยอาการที
้
ในรูปภาพหรือรูปฌาน
๓. อรูปราคสั งโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
ต
่ ด
ิ
์ โดยอาการที
้
อยูในอรู
ปภพหรืออรูปฌาน
่
๔. ปฏิฆสั งโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
โ่ กรธ
์ โดยอาการที
้
๕. มานสั งโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
เ่ ยอหยิ
ง่
์ โดยอาการที
้
่
ถือตัว
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
151
๖. ทิฏฐิสังโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
ม
่ ี
์ โดยอาการที
้
ความเห็ นผิด
๗. สี ลพ
ั พตปรามาสสั งโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
์ ้โดย
อาการทีป
่ ฏิบต
ั ผ
ิ ด
ิ
๘. วิจก
ิ จ
ิ ฉาสั งโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
่
์ โดยอาการที
้
ลังเลสงสั ยในสิ่ งทีค
่ วรเชือ
่
๙. อุทธัจจสั งโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
่
์ โดยอาการที
้
ฟุ้งซ่าน
๑๐. อวิชชาสั งโยชน์ ธรรมชาติทผ
ี่ ูกสั ตวไว
่
์ โดยอาการที
้
งมงายไมรู่ ตามความเป็
นจริง
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
152
๙. กิเลส
๑๐
 กิเลส
คือ ธรรมทีท
่ าให้เศราหมอง
หรือเราร
มี
้
่ อน
้
๑๐ คือ
๑. โลภกิเลส
เศราหมองและเร
าร
้
่ อนเพราะชอบใจใน
้
อารมณ ์ ๖
๒. โทสกิเลส เศราหมองและเร
าร
ชอบใจใน
้
่ อนเพราะไม
้
่
อารมณ ์ ๖
๓. โมหกิเลส เศราหมองและเร
าร
วเมาลุม
้
่ อนเพราะความมั
้
่
หลง
๔. มานกิเลส เศราหมองและเร
าร
้
่ อนเพราะความทะนงตน
้
ถือตัว
ิ ลส การปฏิเศร
นผิด 153
10/04/58๕. ทิฏฐิกเ
บตั กิ มั มัฏาหมองและเร
้ ฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11 าร
่ อนเพราะความเห็
้
๖. วิจก
ิ จ
ิ ฉากิเลส เศราหมองและเร
าร
งเล
้
่ อนเพราะความลั
้
สงสั ย
๗. ถีนกิเลส เศราหมองและเร
าร
ท
้
่ อนเพราะหดหู
้
่ อถอย
้
จากความเพียร
๘. อุทธัจจกิเลส เศราหมองและเร
าร
ดฟุ้งซ่าน
้
่ อนเพราะเกิ
้
ไปในอารมณต
ๆ
์ าง
่
๙. อหิรก
ิ กิเลส เศราหมองและเร
าร
ละอายใน
้
่ อนเพราะไม
้
่
การทาบาป
๑๐. อโนตตัปปกิเลส เศราหมองและเร
าร
เกรง
้
่ อนเพราะไม
้
่
กลัวผลของการทาบาป
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
154
ตระกูลของกิเลส
 ในทางพระพุทธศาสนาสามารถแบงกิ
่ เลสออกเป็ น ๓
ตระกูลใหญ่ ไดแก
โลภะ
โทสะ
โมหะ หรือ
้ ่
เรียกวา่
อกุศลมูล
 กิเลสแตละตระกู
ลมีลก
ั ษณะแตกตางกั
นออกไป คือ
่
่
๑. ลักษณะของกิเลสตระกูลโลภะ
๒. ลักษณะของกิเลสตระกูลโทสะ
๓. ลักษณะของกิเลสตระกูลโมหะ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
155
ลักษณะของตระกูลกิเลส
๓ จาพวก
 กิเลสจาพวกโลภะ
ไดแก
จาพวกทาจิตให้หิว
้ ่
อยากได้
อยากกอบโกยมาเป็ นของตน
อยากหวง
แหน
อยากสะสมเอาไว้ ฯ
 กิเลสจาพวกโทสะ
ไดแก
หรือ
้ ่ จาพวกทาให้จิตรอน
้
ทาให้จิตเดือดพลาน
อยากลางผลาญ
อยากทาความ
่
้
พินาศ
ให้แกผู
่
สิ่ งอืน
่
่ ้อืน
 กิเลสจาพวกโมหะ
ไดแก
้ ่ จาพวกทาให้จิตงุนงง
หลงใหล มัวเมาเผอเรอ
มืดตือ
้
ลบหลูคุ
ตี
่ ณทาน
่
ตนเสมอทาน
หูเบา
เป็ นตน
่
้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
156
ระดับของกิเลส
 กิเลสทัง้ ๓ ตระกูล
มีระดับความเขมข
้ นของความอ
้
ยาบและละเอียดทีแ
่ ตกตางกั
น แบงเป็
่
่ น ๓ ระดับคือ
๑. อนุ สัยกิเลส
คือ กิเลสทีน
่ อนเนื่องในขันธสั นดานของ
สั ตวอย
นลั
์ างเร
่
้ บ ไมปรากฏออกมาทางใด
่
๒. ปริยุฏฐานกิเลส คือ กิเลสทีเ่ ปลีย
่ นสภาพจากอนุ สัยกิเลส
ปรากฏขึน
้ ทางใจ
เมือ
่ มีอารมณต
ๆ มากระทบทาง
์ าง
่
ทวารตาง
ๆ
่
๓. วีตก
ิ กมกิเลส
คือ กิเลสทีเ่ ปลีย
่ นสภาพจากปริยุฏฐาน
กิเลส
ทีม
่ ก
ี าแรงมากลวงออกมาทางกายและวาจา
่
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
157
วิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
วิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
คือ
การ
พิจารณาธรรมดวยปั
ญญาเป็ นหลัก
หรือ
้
การพิจารณาธาตุขน
ั ธตามความเป็
นจริง
์
ดวยปั
ญญา
ดวยการก
าหนดรู้
๓
้
้
ประการดังนี้
๑. ธรรมทีเ่ ป็ นอารมณของวิ
ปส
ั สนา
์
๒. ธรรมทีเ่ ป็ นเหตุเกิดวิปส
ั สนา
๓. ธรรมทีเ่ ป็ นตัววิปส
ั สนา
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
158
ธรรมทีเ่ ป็ นอารมณของ
์
วิปส
ั สนา
ในคัมภีรวิ
ปส
ั สนาไว้ ๖
์ สุทธิมรรค จาแนกอารมณของวิ
์
ไดแก
้ ่
๑. ขันธ ์
๕
๒. อายตนะ
๑๒
๓. ธาตุ
๑๘
๔. อินทรีย ์
๒๒
๕. อริยส
ั ัจ
๔
๖. ปฏิจจสมุปบาท
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
159
ขันธ ์
๕
คืออะไร
สรรพสิ่ งทัง้ หลายในอนันตจักรวาลนั้น แยกประเภทไดเป็
้ น
3 ส่วน คือ
๑. ส่วนทีเ่ ป็ นวัตถุทง้ั หลาย
๒. ส่วนทีเ่ ป็ นความรูสึ
้ กนึกคิด และความคิดทัง้ หลาย รวม
เรียกวานามขั
นธ ์
่
๓. นิพพาน คือสภาวะทีพ
่ นจากรู
ปขันธและนามขั
นธทั
้
์
์ ง้ ปวง
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
160
ธาตุ
ในส่วนทีเ่ ป็ นวัตถุ
ทัง้ หลาย
ไดแก
้ ่ สสารทัง้ หลาย แสง สี ทง้ั หลาย
เสี ยง กลิน
่ รส ความเย็น ความรอน
้
ความออน
ความแข็ง ความหยอน
ความ
่
่
ตึง อาการเคลือ
่ นไหวของสิ่ งตางๆ
่
ช่องวางต
างๆ
อากาศ ดิน น้า ไฟ ลม
่
่
สภาพแหงความเป็
นหญิง เป็ นชาย เนื้อ
่
สมองและระบบของเส้นประสาททัง้ หลาย
อันเป็ นฐานให้จิตเกิด รวมทัง้ อาการแห่ง
ความเกิดขึน
้ ตัง้ อยู เสื่ อมไป ดับไปของ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
161
ธาตุ ส่วนทีเ่ ป็ นความรูสึ้ กนึกคิด
ทัง้ หลาย
ส่วนทีเ่ ป็ นความรูสึ้ กนึกคิดทัง้ หลาย
รวมเรียกวานามขั
นธ ์
่
แยกได้ ๔ ชนิดคือ
๑. เวทนาขันธ ์ คือความรูสึ้ กเป็ นสุขทางกาย ทุกขทาง
์
กาย โสมนัส (สุขทางใจ) โทมนัส (ทุกขทางใจ)
อุเบกขา
์
หรืออทุกขมสุขเวทนา (เป็ นกลางๆ ไมสุ
่ ขไมทุ
่ กข)์
๒. สั ญญาขันธ ์ คือความจาไดหมายรู
ในสิ
่ งตางๆ
คือ
้
้
่
ส่วนทีท
่ าหน้าทีใ่ นการจานั่นเอง (ไมใช
่ ่ เนื้อสมอง แตเป็
่ นส่วน
ของความรูสึ้ กนึกคิด เนื้อสมองนั้นจัดเป็ นรูปขันธ ์ เนื้อสมอง
เป็ นเหมือนสานักงาน ส่วนนามขันธทั
่ างาน
์ ง้ หลายเหมือนผู้ทีท
ในสานักงานนั้น)
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
162
๓. สั งขารขันธ ์ คือส่วนทีป
่ รุงแตงจิ
่ ต คือสภาพที่
ปรากฎของจิตนั่นเอง เช่น ความโลภ ความโกรธ ความ
หลง ทาน
(สภาพของจิตทีส
่ ละสิ่ งตางๆ
ออกไป) ความ
่
เมตตา กรุณา มุทต
ิ า สมาธิ ความฟุ้งซ่าน ความหดหู่
ทอถอย
ความงวง
ความละอาย ความเกรงกลัว ความไม่
้
่
ละอาย ความไมเกรงกลั
ว เจตนาในการทาสิ่ งตางๆ
ความ
่
่
ลังเลสงสั ย ความมัน
่ ใจ ความเยอหยิ
ง่ ถือตัว ความเพียร
่
ปิ ต ิ ความยินดีพอใจ ความอิจฉา ความตระหนี่ ศรัทธา
สติ ปัญญา การคิด การตรึกตรอง
๔. วิญญาณขันธ ์ หรือจิต คือผู้ทีร่ บ
ั รูสิ
้ ่ งทัง้ ปวง คือ
รับรูความรู
สึ้ กตางๆ
้
่
ตัง้ แต่ ขอ
้ ๑. จนถึงขอ
้ ๓. และเป็ นผู้รับรูถึ
้ งส่วนทีเ่ ป็ นรูป
ขันธทั
อันไดแก
่ า
์ ง้ หลายดวย
้
้ เป็
่ นผู้รับรูสิ
้ ่ งทัง้ หลาย ทีม
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
กระทบทางตา หู
จมูก ลิน
้ กาย นั่นเอง รวมถึงเป็ นผู้ 163
นิพพาน
นิพพาน คือสภาวะทีพ
่ นจากรู
ปขันธและนามขั
นธทั
้
์
์ ง้ ปวง
หรือสภาวะจิตทีพ
่ นจากความยึ
ดมัน
่ ผูกพันธในสิ
่ งทัง้ ปวง รวมถึง
้
์
ไมยึ
่ ในนิพพานดวย
่ ดมัน
้
นิพพาน = นิ + วาน (ในภาษาบาลีน้น
ั ว. กับ พ.
ใช้แทนกันได้ วาน จึงเทากั
่ บ พาน)
นิ = พน
้
วาน = สิ่ งทีเ่ กีย
่ วโยงไว้ ไดแก
้ ่ ตัณหาคือความทะยาน
อยาก และอุปาทานคือความยึดมัน
่ ถือมัน
่ นั่นเอง
นิวาน หรือนิพพาน แปลตามตัวจึงหมายถึงความพน
้
จากเครือ
่ งเกีย
่ วโยง(ตัณหาและอุปาทาน) นั่นเอง
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
164
สรุปขันธ์ ๕
สรุปแลวขั
้ นธ ์ ๕ ประกอบดวย
้
๑.) รูปขันธ ์
๒.) เวทนาขันธ ์
๓.) สั ญญาขันธ ์
๔.) สั งขารขันธ ์
๕.) วิญญาณขันธ ์
โดยทีเ่ วทนาขันธ ์ สั ญญาขันธ ์ สั งขารขันธรวม
์
เรียกวาเจตสิ
ก ซึง่ แปลวาเป็
บจิตเสมอ
่
่ นสิ่ งทีเ่ กิดรวมกั
่
(ในภาษาบาลีน้น
ั สระ อิ กับสระ เอ ใช้แทนกันได้
เจต จึงเทากั
่ บ จิต นั่นเอง) คือจิตและเจตสิ กจะเกิด
และดับพรอมกั
นเสมอ จะแยกกันเกิดไมได
้
่ ้ เพราะเป็ น
10/04/58สิ่ งทีเ
กิ มั มัอยู
ฏฐาน โดย พระครู
รสารงแต
11
่ กีย
่ วเนื่อการปฏิ
งกับตั น
ว่ าตอนนั
้นนามขันธตั
่ เพีสุธวี ย
่
์ ว 165
อาตยนะ
๑๒
อายตนะ (อานว
า่ อายะตะนะ) แปลวา่ ทีเ่ ชือ
่ มต่อ, เครือ
่ ง
่
ติดต่อ หมายถึงสิ่ งทีเ่ ป็ นสื่ อสาหรับติดตอกั
่ น ทาให้เกิด
ความรูสึ้ กขึน
้ แบงเป็
อ
่ น ๒ อยางคื
่
 อายตนะภายใน หมายถึงสื่ อเชือ
่ มตอที
่ ยูในตั
วคน บ้าง
่ อ
่
เรียกวา่ อินทรีย ์ ๖ มี ๖ คือ ตา หู จมูก ลิน
้ กาย ใจ
ทัง้ หมดนี้เป็ นทีเ่ ชือ
่ มตอกั
่ บอายตนะภายนอก
 อายตนะภายนอก หมายถึงสื่ อเชือ
่ มตอที
่ ยูนอกตั
วคน บาง
่ อ
่
้
เรียกวา่ อารมณ ์ ๖ มี ๖ คือ รูป เสี ยง กลิน
่ รส
โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ ์ ทัง้ หมดนี้เป็ นคูกั
่ บอายตนภายใน
เช่น รูปคูกั
ู่ บเสี ยง เป็ นตน
่ บตา หูคกั
้
 อายตนะภายนอกนี้เรียกอีกอยางหนึ
่งวา่ อารมณ ์ เมือ
่ ตา
่
เห็ นรูป เรียกวา่ สั มผัส รูว
้ ามี
่ การเห็ น เรียกวาวิ
่ ญญาณ
เกิดความรูสึ้ กขึการปฏิ
น
้ เมื
อ
่ ตาเห็ นรูป เรียกวา่ เวทนา
10/04/58
บตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
166
ธาตุ
๑๘
ธาตุ แปลวา่ ทรงไวซึ
้ ง่ ลักษณะของตน ( สภาพทีไ่ มใช
่ ่
สั ตว ์ บุคคล ตัวตน ) มี ๑๘ คือ
๑. จักขุธาตุ
๒. รูปธาตุ
๓. จักขุวญ
ิ ญาณธาตุ
๔. โสตธาตุ ๕. สั ททธาตุ
๖. โสตวิญญาณธาตุ
๗. ฆานธาตุ
๘. คันธธาต ๙. ฆานวิญญาณธาตุ
๑๐. ชิวหาธาตุ
๑๓. กายธาตุ
10/04/58
ธาตุ
๑๑. รสธาตุ ๑๒. ชิวหาวิญญาณธาตุ
๑๔. โผฏฐัพพธาตุ ๑๕. กายวิญญาณ
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
167
อินทรีย ์ ๒๒
อินทรีย ์ คือ สิ่ งทีเ่ ป็ นใหญในการท
า
่
กิจของตน
มี ๒๒
คือ
๑.จักขุนทรีย ์ ๒.โสตินทรีย ์
๓.ฆานินท
รีย ์ ๔.ชิวหินทรีย ์ ๕.กายินทรีย ์ ๖.มนินท
รีย ์
๗.อิตถินทรีย ์ ๘.ปุรส
ิ ิ นทรีย ์ ๙.
ชีวต
ิ น
ิ ทรีย ์ ๑๐.สุขน
ิ ทรีย ์ ๑๑.ทุกขินทรีย ์
๑๒.โสมนัสสิ นทรีย ์ ๑๓.โทมนัสสิ นทรีย ์
๑๔.อุเปกขาทรีย ์ ๑๕.สั ทธินทรีย ์ ๑๖.วิร ิ
ยินทรีย ๑๗.สตินทรีย
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
168
อริ ยสัจ ๔
มีความจริงอยู่ 4 ประการคือ การมีอยูของทุ
กข ์ เหตุแหง่
่
ทุกข ์ ความดับทุกข ์ และ หนทางไปสู่ความดับทุกข ์ ความ
จริงเหลานี
่ ้เรียกวา่ อริยสั จ 4
ทุกข ์
คือ การมีอยูของทุ
กข ์ เกิด แก่ เจ็บ และตายลวนเป็
น
่
้
ทุกข ์ ความเศราโศก
ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความ
้
วิตกกังวล ความกลัวและความผิดหวังลวนเป็
น ทุกข ์ การ
้
พลัดพรากจากของทีร่ ก
ั ก็เป็ นทุกข ์ ความเกลียดก็เป็ นทุกข ์
ความอยาก ความยึดมัน
่ ถือมัน
่ ความยึดติดในขันธทั
์ ง้ 5
ลวนเป็
นทุกข ์
้
สมุทย
ั
คือ เหตุแหงทุ
น
่ กข ์ เพราะอวิชา ผู้คนจึงไมสามารถเห็
่
ความจริงของชีวต
ิ พวกเขาตกอยูในเปลวเพลิ
งแหงตั
่
่ ณหา
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
ความโกรธ ความอิ
จฉาริษยา ความเศราโศก
ความวิตก 169
้
นิโรธ
คือ ความดับทุกข ์ การเขาใจความจริ
งของชีวต
ิ นาไปสู่
้
การดับความเศรา้ โศกทัง้ มวล อันยังให้เกิดความสงบและ
ความเบิกบาน
มรรค
คือ หนทางนาไปสู่ความดับทุกข ์ อันไดแก
้ ่ อริยมรรค
๘ ซึง่ ไดรั
้ งดวยการด
ารงชีวต
ิ อยางมี
สติ
้ บการหลอ
่ เลีย
้
่
ความมีสตินาไปสู่สมาธิและปัญญาซึง่ จะปลดปลอย
ให้พน
่
้
จากความทุกขและความโศกเศร
าทั
์
้ ง้ มวล
อันจะนาไปสู่ความศานติและ ความเบิกบาน พระพุทธองค ์
ไดทรงเมตตาน
าทางพวกเราไปตามหนทางแหงความรู
แจ
้
่
้ ้ง
นี้
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
170
อวิชชา
ชรา
มรณะ
สั งขาร
ชาติ
วิญญาณ
ปฏิจจสมุป
บาท
ภพ
นามรูป
สฬาย
อุปาทาน
ตนะ
ตัณหา
ผัสสะ
เวทนา
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
171
๑
ธรรมทีเ่ ป็ นอารมณ์แห่ง
วิปส
ั สนา
๑.สั งขาร ไดแก
้ ่ อุ
ปาทินนกสั งขาร
และอนุ ปาทินนก
สั งขาร
๒.ขันธ ์
ไดแก
้ ่
กองแหงขั
่ นธ ์ ๕
๓.อายตนะ๑๒ =
ทีเ่ ชือ
่ มตอ
่
๔.ธาตุ ๑๘
ตา+
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
172
172
๒. ธรรมทีเ่ ป็ นเหตุเกิดแห่ง
วิปส
ั สนา
๑. สี ลวิสุทธิ ความ
หมดจดแหงศี
่ ล
๒. ทิฏฐิวุสิทธิ ความ
หมดจดแหงจิ
่ ต
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
173
๓. ธรรมทีเ่ ป็ นตัววิปส
ั สนา ๔
ได้แก่
๑.ทิฏฐิวส
ิ ุทธิ
ความหมด
จดแหงทิ
่ ฏฐิ
๒.กังขาวิตรณวิสุทธิ
ความหมดจดแหงญาณ
่
เครือ
่ งขามความสงสั
ย
้
๓.มัคคามัคคญาณทัสสนวิ
สุทธิ
ความหมดจดแหง่
ญาณเครือ
่ งเห็นวาทางหรื
อ
่
มิใช่ทาง
๔.ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
174
๔. ธรรม ๕ ประกอบ
๑.ลักษณะวิปส
ั สนา เช่น
ไมเที
่ งฯ
่ ย
๒.กิจของวิปส
ั สนา
ไม่
หลงผิดวาสั
่ ง
่ งขารเทีย
๓.ผลของวิปส
ั สนา
ไดรู้ ้
แจ้งเห็ นจริงดวยปั
ญญาวา่
้
สั งขารตกอยูในไตร
่
ลักษณ ์
๔.เหตุเกิดขึน
้ ตัง้ อยูของ
่
วิปส
ั สนา (สมาธิ ๒
10/04/58
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร 11
175
คาถามทายบทที
่
้
๖
๑. ขอทราบหลักการปฏิบต
ั ส
ิ มถะและหลักการปฏิบต
ั วิ ป
ิ ส
ั สนา
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
10/04/58
มาพอสั งเขป
กิเลสแปลวาอย
างไร
หมายถึงอะไร และเพราะเหตุใดจึง
่
่
เรียกวากิ
่ เลส
กิเลสมีทง้ั หมดกีป
่ ระเภท
ไดแก
าง
้ อะไรบ
่
้
ในทางพระพุทธศาสนากิเลสมีวงศ์ตระกูลหรือไม่
ถามี
้
ไดแก
าง
้ อะไรบ
่
้
อะไรคือวิปส
ั สนากัมมัฏฐาน
มีลก
ั ษณะการกาหนดรู้
อยางไรบ
าง
่
้
หากให้นักศึ กษากาหนดรูวิ
ั สนาจะกาหนดอยางไร
้ ปส
่
อธิบาย
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน โดย พระครูสุธวี รสาร 11
176