บทที่ 4

Download Report

Transcript บทที่ 4

จรรยาบรรณการใช้
่
สัตว ์ทดลองเพืองานวิจย
ั
รายวิชา: จริยธรรมวิชาชีพ และกฎหมายสาธารณสุข (Ethics and Law in Public
Health) รหัสวิชา: 474602
อ. ธนัชพร มุลก
ิ ะบุตร
NPRU
นักศึกษาคิดว่าจาเป็ นต้องมี
จรรยาบรรณ
่
การใช้สต
ั ว ์เพืองานทาง
วิทยาศาสตร ์หรือไม่?
NPRU
สัตว ์ทดลองคือ
อะไร ?
สัตว ์ประเภทใดเป็ น
สัตว ์ทดลอง ?
่
นักศึกษาคิดว่าสัตว ์ทัวไปเป็ น
สัตว ์ทดลองได้หรือไม่ ?
NPRU
นิ ยาม
้
่กัก ขัง
1. สัต ว ท
์ ดลอง หมายถึง สัต ว ท
์ ี่ถู ก น ามาเพาะเลียงในที
่
่
สามารถสืบสายพันธุ ์ได ้ ซึงมนุ
ษย ์นามาใช ้เพือประโยชน์
ในเชิง
วิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยีทุกสาขา
2. ผู ใ้ ช้สต
ั ว ์ หมายถึง ผูใ้ ช ้สัตว ์ในงานวิจยั งานทดสอบ งานสอน
และงานผลิตชีววัตถุ ในเชิงวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยีทก
ุ สาขา
3. จรรยาบรรณการใช้ส ต
ั ว เ์ พื่ องานทางวิ ท ยาศาสตร ์
้ ต ว ์เพื่องานวิจ ยั
หมายถึง หลัก เกณฑ ์ ที่ผู ใ้ ช ้สัต ว ์ และผู เ้ ลียงสั
งานทดสอบ งานสอน และงานผลิตชีววัตถุ ในเชิงวิทยาศาสตร ์
และเทคโนโลยีทุ ก สาขา ยึด ถือ ปฏิบ ต
ั ิ เพื่อให ก
้ ารด าเนิ น งาน
้ ่บนพืนฐานของจริ
้
ตังอยู
ยธรรม คุณธรรม มนุ ษยธรรม และหลัก
วิช าการที่เหมาะสม ตลอดจนเป็ นมาตรฐานการด าเนิ น งานที่
NPRU
บทนา
่
่
ประเทศอังกฤษ เป็ นประเทศแรกทีออกกฎหมายเกี
ยวกั
บ
่ พ.ศ. 2419 และปร ับปรุง
การทารุณกรรมสัตว ์ขึน้ เมือปี
่ น้ เมือปี
่ พ.ศ. 2529 (1)
ให ้ร ัดกุมยิงขึ
สภาองค ์การระหว่างประเทศว่าด ้วยวิทยาศาสตร ์การแพทย ์
(Council for International Organization of
Medical Science: CIOMS) (1)
จัดให ้มีการประชุมระหว่างผู ้ใช ้สัตว ์ทดลอง และกลุม
่ ผู ้
่
คัดค ้านจากทัวโลก
่ พ.ศ. 2528 (1)
นครเจนี วาประเทศสวิตเซอร ์แลนด ์ เมือ
่
ข ้อสรุปเป็ นแนวทางการปฏิบต
ั ใิ นการใช ้สัตว ์เพือการวิ
จยั ด ้าน
วิทยาศาสตร ์ การแพทย ์
(International Guiding Principles for Biomedical
Research Involving Animals) (1)
NPRU
่
จรรยาบรรณการใช้สต
ั ว ์เพืองานทาง
วิทยาศาสตร ์
่
้
่
ทีเป็ นพืนฐานสากลและมีการใช้ก ันทัว
โลก
NPRU
The Council for International Organization of
Medical Science (CIOMS)
“International Guiding Principles for Biomedical
Research Involving Animals” (2)
1. วิว ฒ
ั นาการดา้ นวิทยาศาสตร ์ตอ้ งมีการพัฒ นาอาจ
ไม่ตอ
้ งใช้สต
ั ว ์ทดลอง
2. นาวิธก
ี ารต่างๆ เช่น Computer simulation, in
vitro biological system มาใช ้กับงานวิจยั ในทุก
กรณี ทเป็
ี่ นไปได ้และเหมาะสม
3. น าสัต ว ท
์ ดลองมาใช ใ้ นกรณี ที่ได ร้ บ
ั พิจ ารณาถี่
ถ้ว นแล ว้ ถึ ง ประโยชน์ที่ จะส่ ง ผลต่ อ สุ ข ภาพของ
มนุ ษย ์และสัตว ์ และความก ้าวหน้าทางวิชาการเท่านั้น
้
4. เลือ กชนิ ด สัต ว ใ์ ห้เ หมาะสมทังทางด
า้ นคุณ สมบัติ
่ ่าทีสุ
่ ดทีท
่ าใหผ
คุณภาพ และจานวนทีต
้ ลการทดลอง
NPRU
The Council for International Organization of
Medical Science (CIOMS)
“International Guiding Principles for Biomedical
Research Involving Animals” (2)
5. ผูใ้ ช ้สัตว ์ทดลองตอ้ งปฏิบต
ั ต
ิ ่อสัตว ์ในลัก ษณะว่าเขา
่ ชวี ต
เป็ นสิงมี
ิ
่ ้างความ
6. ผูใ้ ช ้สัตว ์ทดลองต ้องยอมรบั ว่าวิธก
ี ารใดทีสร
เจ็บปวดกับมนุ ษย ์ย่อมสร ้างความเจ็บปวดใหแ้ ก่สต
ั ว์
ทุกชนิ ดเช่นเดียวกัน
7. ปฏิบ ต
ั ิก ารต่ า งๆ ที่สร า้ งความเจ็บ ปวด ต อ้ งใช ้ยา
่ นทียอมร
่
บรรเทาความเจ็ บปวด หรือยาสลบทีเป็
บั ใน
วงการสัตวแพทย ์ กรณี ทมี
ี่ การผ่าตัด ต ้องวางยาสลบ
เสมอไป
8. ควรมีผูร้ ับผิดชอบสามารถตัดสินใจได ้ในกรณี ทมี
ี่ ผูใ้ ช ้
NPRU
The Council for International Organization of
Medical Science (CIOMS)
“International Guiding Principles for Biomedical
(2)
Research
Involving
Animals”
่ นสุ
้ ดการทดลองหรือเมือสั
่ ตว ์เกิดป่ วยหรือไดร้ บั
9. เมือสิ
บาดเจ็ บ อยู่ ไ ม่ ส ามารถแก ไ้ ขได ต
้ อ้ งจัด การให ส้ ั ต ว ์
ตายอย่างสงบ (Euthanasia)
่ ้ในงานวิจยั ตอ้ งไดร้ บั การเลียงดู
้ อย่างดีทสุ
10. สัตว ์ทีใช
ี่ ด
่ ประสบการณ์ด ้าน
ภายใต ้การดูแลของสัตวแพทย ์ทีมี
สัตว ์ทดลอง
่ ้สัตว ์ทดลอง
11. ผูอ้ านวยการสถาบันหรือหัวหน้างานทีใช
ตอ้ งรบั ผิดชอบใหผ
้ ูม้ ีคุณสมบัตท
ิ สามารถปฏิ
ี่
บต
ั งิ าน
กับสัตว ์ทดลองไดเ้ ท่านั้ นเป็ นผูป้ ฏิบต
ั ก
ิ บ
ั สัตว ์ทดลอง
สถาบัน หรือ หน่ วยงานต้อ งเปิ ดโอกาสให้ม ีก าร
่
อบรมบุ ค คลากรที่เกียวข
อ้ งกับ สัต ว ์ ให เ้ ข า้ ใจถึง
NPRU
หลัก(3-4)3Rs
Refineme
nt
Replace
ment
หลี ก เลี่ยงการใช ้
สัตว ์ โดยใช ้วิธอ
ี น
ื่
ทดแทน เช่น การ
ใ ช ้ส ิ่ งไ ม่ มี ชี ว ิ ต
computer
simulation,
model, robot
เป็ นต ้น
Reductio
n
่ าเป็ นต ้องใช ้ควรใช ้
เมือจ
่ ด โดยยังคง
ใหน
้ อ
้ ยทีสุ
ใหผ
้ ลความแม่นยาและ
ถูกต ้อง หรือการใช ้สัตว ์
ร่ ว ม กั น ห รื อ ก า รใ ช ้
หลักการทางสถิต ิ
่ าเป็ นต ้องใช ้ ต ้องมี
เมือจ
วิ ธี ป ฏิ บั ต ิ ต่ อ สั ต ว ์ใ ห ้
ไ ด ้ร ับ ค ว า ม เ จ็ บ ป ว ด
ความเครีย ด หรือ ทุก ข ์
ท ร ม า น น้ อ ย ที่ สุ ด
ร ว ม ทั้ ง พั ฒ น า
สภาพแวดลอ้ มใหส้ ต
ั ว ์มี
ความเป็ นอยู่ ที่ดี มีก าร
ปร บ
ั ปรุ ง เทคนิ คในการ
่
NPRU
่
จรรยาบรรณการใช้สต
ั ว ์เพืองานทาง
วิทยาศาสตร ์
ในประเทศไทย
NPRU
ส าหร บ
ั ประเทศไทย สภาวิจ ย
ั แห่ ง ชาติ จึง
เห็ น ควรก าหนด "จรรยาบรรณการใช้
้ อให
่ ้นักวิจยั และนักวิชาการ ได ้ใช ้
สัตว ์" ขึนเพื
เป็ นแนวทางปฏิบต
ั ใิ นการใช ้สัตว ์อย่างถูกตอ้ ง
เหมาะสม และเป็ นผลดีตอ
่ การพัฒนาคุณภาพ
ชีวต
ิ ของมนุ ษย ์และสัตว ์ อย่างแท ้จริงต่อไป (1)
NPRU
่
จรรยาบรรณการใช้สต
ั ว ์เพืองานทาง
2. ผู ใ้ ช้สต
ั ว ์ต้อง
วิ
ท
ยาศาสตร
์
(ประเทศไทย)
1. ผู ใ้ ช้สต
ั ว ์ต้อง
ตระหนักถึงความ
แม่นยาของ
ผลงานโดยใช้สต
ั ว์
ตระหนักถึง
คุณค่าของชีวต
ิ
สัตว ์
5. ผู ใ้ ช้สต
ั ว ์ต้อง
จานวนน้อยทีสุ่ ด
บันทึกข้อมู ลการ
ปฏิบต
ั ต
ิ อ
่ สัตว ์ ไว้
เป็ นหลักฐาน
3. การใช้สต
ั ว ์ป่ า อย่างครบถ้วน
ต้องไม่ขด
ั ต่อ
กฎหมายและ
นโยบายการ
อนุ ร ักษ ์สัตว ์ป่ า
4. ผู ใ้ ช้สต
ั ว ์ต้อง
ตระหนักว่าสัตว ์
่ ชวี ต
เป็ นสิงมี
ิ
เช่นเดียวกับ
มนุ ษย ์
NPRU
1. ผู ใ้ ช้สต
ั ว ์ต้อง
ตระหนักถึง
คุณค่าของชีวต
ิ
สัตว ์
 ผู ใ้ ช ้สัต ว ์ตอ้ งใช ้สัต ว ์เฉพาะกรณี ที่
่ ว้ นแลว้ ว่าเป็ น
ไดพ
้ จ
ิ ารณาอย่างถีถ
ประโยชน์และจาเป็ นสูงสุด ต่อการ
พัฒนาคุณภาพชีวต
ิ ของมนุ ษย ์และ
สัต ว แ์ ละ/หรือ ความก า้ วหน้า ทาง
วิชาการ
่ ้วน แล ้วว่า
 และได ้พิจารณาอย่างถีถ
ไม่ มีว ิธ ก
ี ารอื่นที่เหมาะสมเท่ า หรือ
เหมาะสมกว่า
NPRU
แนวทางปฏิบต
ั ต
ิ ามข้อ 1
่
1) ใช ้สัตว ์เฉพาะในกรณี ทจี่ าเป็ นสูงสุด หลีกเลียงไม่
ได ้หรือไม่มี
่ เหมาะสมเท่
่
่
วิธก
ี ารอืนที
านั้น ไม่ใช ้พราเพรื
อ่
2) ก่อนการใช ้สัตว ์
่
 ศึก ษาข อ้ มู ล หรือ เอกสาร ที่เกียวข
อ้ งกับ งานอย่ า ง
ละเอียด
่ อยู่แลว้ มาพิจารณาประกอบการศึกษา
 นาขอ้ มูลทีมี
ทดลอง
่
้
 ตอ้ งนาเสนอโครงการทีแสดงถึ
งแผนงานและขันตอน
้
การใช ้ พร ้อมทังเหตุ
ผลความจาเป็ นและประโยชน์ต่อ
การพัฒนา
้ ด การใช ้สัต ว ผ
3) เมื่อสินสุ
์ ู ใ้ ช ้สัต ว ต์ อ้ งด าเนิ น การให ส้ ต
ั ว ์ตาย
อย่างสงบ
 กรณี ทจี่ าเป็ นต ้องใหส้ ต
ั ว ์นั้นมีชวี ต
ิ อยู่ต่อไป ผูใ้ ช ้สัตว ์
NPRU
2. ผู ใ้ ช้สต
ั ว ์ต้อง
ตระหนักถึงความ
แม่นยาของ
ผลงานโดยใช้สต
ั ว์
่ ด
จานวนน้อยทีสุ
 ผูใ้ ช ้สัตว ์จะตอ้ งคานึ งถึงคุ ณสมบัติ
ทางพัน ธุก รรมและคุ ณ สมบัติท าง
สุ ข ภาพของสัต ว ท์ ี่จะน ามาใช ้ ให ้
ส อ ด คล อ
้ งกับ วั ต ถุ ป ร ะ ส งค แ์ ล ะ
เป้ าหมายของการใช ้สัตว ์ เพื่อใหม้ ี
่ อยทีสุ
่ ด และ
การใช ้สัตว ์จานวนทีน้
ไดร้ บั ผลงานที่ถูกตอ้ งแม่ นยามาก
่ ด
ทีสุ
NPRU
แนวทางปฏิบต
ั ต
ิ ามข้อ 2
1) ควรศึกษาและพิจารณาขอ้ มูลดา้ นพันธุกรรมและระบบการ
้ ตว ์ใหต้ รงกับวัตถุประสงค ์และเป้ าหมายของการวิจยั
เลียงสั
และการใช ้สัตว ์
2) ควรเลือ กใช ้ชนิ ด และสายพัน ธุ ์ของสัต ว ท์ ี่มีคุ ณ สมบัติท าง
พัน ธุก รรมตรงกับ วัต ถุ ป ระสงค ์และเป้ าหมายของงานวิจ ัย
่ ด
และใช ้สัตว ์จานวนน้อยทีสุ
3) ควรเลือ กใช ้สัต ว จ์ ากแหล่ ง เพาะขยายพัน ธุ ์ที่มีป ระวัติก าร
สืบสายพันธุ ์ และมีคณ
ุ สมบัติ ทางพันธุกรรมคงที่
่ การเลียงด
้ ้วยระบบใดระบบหนึ่ ง
4) ควรเลือกใช ้สัตว ์จากแหล่งทีมี
 Strict
Hygienic
Conventional (ระบบ
สุขอนามัยเข ้มข ้น)
 Specified Pathogen Free (ระบบปลอดเชือ้
จาเพาะ)
NPRU
3. การใช้สต
ั ว ์ป่ า
ต้องไม่ขด
ั ต่อ
กฎหมายและ
นโยบายการ
อนุ ร ักษ ์สัตว ์ป่ า
 การน าสัต ว ป์ ่ ามาใช ้ ควรกระท า
เฉพาะกรณี ทมี
ี่ ความจาเป็ นต่อการ
ศึก ษาวิจ ย
ั โดยไม่ ส ามารถใช ้สัต ว ์
่
ประเภทอืนทดแทนได
้
 และการใช ้สัตว ์ป่ านั้ น จะตอ้ งไม่ขด
ั
ต่ อ ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ นโ ย บ า ย ก า ร
อนุ ร ักษ ์สัตว ์ป่ า
NPRU
แนวทางปฏิบต
ั ต
ิ ามข้อ 3
่ อการวิจยั
1) ควรใช ้สัตว ์ป่ าเฉพาะกรณี ทจี่ าเป็ นอย่างยิงต่
่ มีวธิ ก
่
่
ทีไม่
ี ารอืนหรื
อใช ้สัตว ์อืนทดแทนได
้ ก่อนการใช ้
สัตว ์
2) ผู ใ้ ช ส้ ัต ว ป
์ ่ าในการศึ ก ษาวิ จ ัย จะต อ
้ งปฏิ บ ั ติ ตาม
บทบัญญัตข
ิ องกฎหมายและนโยบาย การอนุ รกั ษ ์สัตว ์
ป่ าอย่างครบถ ้วนและเคร่งคร ัด
NPRU
4. ผู ใ้ ช้สต
ั ว ์ต้อง
ตระหนักว่าสัตว ์
่ ชวี ต
เป็ นสิงมี
ิ
เช่นเดียวกับ
มนุ ษย ์
 ผู ใ้ ช ส้ ัต ว ต
์ อ้ งตระหนั ก ว่ า สั ต ว ม
์ ี
ความรู ้สึกเจ็ บปวดและมีความรู ้สึก
ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ส ภ า พ แ ว ด ล ้อ ม
เช่นเดียวกับมนุ ษย ์
 ต ้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต่ อ สั ต ว ์ด ้ ว ย ค ว า ม
้
้ การ
ระมัดระวังทุกขันตอนนั
บตังแต่
ขนส่ง การใช ้วัส ดุอุป กรณ์ ในการ
เ ลี ้ ย ง สั ต ว ์ ก า ร จั ด ก า ร
้
สภาพแวดล อ้ มของสถานที่ เลียง
้
เทคนิ คในการเลียง
 และการปฏิบ ัติต่ อ สัต ว ์ โดยไม่ ใ ห ้
สั ต ว ์ ไ ด ้ ร ั บ ค ว า ม เ จ็ บ ป ว ด
ค ว า ม เ ค รี ย ด ห รื อ ค ว า ม ทุ ก ข ์
NPRU
แนวทางปฏิบต
ั ต
ิ ามข้อ 4
1) การขนส่งสัตว ์
 มีร ะบบควบคุม อุณ หภูมิ ระบบระบายอากาศ ระบบป้ องกัน
การติดเชือ้
่ งแรงมั่นคงป้ องกันสัตว ์หลบหนี ได ้
 ภาชนะบรรจุสต
ั ว ์ทีแข็
 แ ล ะ มี พื ้น ที่ ใ ห ้ส ั ต ว เ์ ค ลื่ อ นไ ห วไ ด ้ต า ม ที่ ก า ห น ดไ ว ้ใ น
มาตรฐานสากล
่ ยงสั
้ ตว ์
2) การจัดสภาพแวดล ้อมของสถานทีเลี
 สามารถป้ องกันการติดเชือ้
 มีการควบคุมอุณหภูมิ ความชืน้ การระบายอากาศ แสง และ
เสียง ใหค้ งที่ และเหมาะสมกับความตอ้ งการของสัตว ์แต่ล ะ
ชนิ ด
 ไม่สร ้างความเครียดให ้แก่สต
ั ว์
้ ตว ์
3) วัสดุอป
ุ กรณ์เลียงสั
้ ตว ์
 กรงหรือคอกเลียงสั
NPRU
แนวทางปฏิบต
ั ต
ิ ามข้อ 4
4) การจัดการ
้ ตว ์ ต ้องเลียงสั
้ ตว ์ตามระบบการเลียง
้ ระบบใด
 หน่ วยงานเลียงสั
ระบบหนึ่ ง
้ ตว ์ ตอ้ งมีสต
่ พน
 หน่ วยงานเลียงสั
ั วแพทย ์หรือนักวิชาการทีมี
ื้
ความรู ้และประสบการณ์ ด ้านสัตว ์ทดลอง
้ ตว ์ ต ้องมีข ้อมูล แหล่งทีมาของวั
่
 หน่ วยงานเลียงสั
สดุอุปกรณ์
่ ้ในการเลียงสั
้ ตว ์ การป้ องกัน สัตว ์ติดเชือ้ การควบคุม
ทีใช
ตรวจสอบสภาพแวดล ้อม และการช่วยให ้สัตว ์ตายอย่างสงบ
้ ตว ์ ต ้องจัดการกาจัดซากสัตว ์และขยะปฏิกล
 หน่ วยงานเลียงสั
ู
่
ด ้วยวิธก
ี ารทีเหมาะสม
5) เทคนิ คในการปฏิบต
ั ต
ิ อ
่ สัตว ์
 ต ้องกาหนดแผนงานและวิธก
ี ารปฏิบต
ั ต
ิ อ
่ สัตว ์อย่างถูกต ้อง
 ต ้องปฏิบต
ั ต
ิ ่อสัตว ์ด ้วยความเมตตา ไม่ทาใหส้ ต
ั ว ไ์ ด ้รบั ความ
เจ็บปวด หรือเกิดความเครียด
้
NPRU
5. ผู ใ้ ช้สต
ั ว ์ต้อง
บันทึกข้อมู ลการ
ปฏิบต
ั ต
ิ อ
่ สัตว ์ไว้
เป็ นหลักฐาน
อย่างครบถ้วน
 ผู ้ใช ้สัตว ์ต ้องปฏิบต
ั ต
ิ อ
่ สัตว ์ตรงตาม
วิธ ีก ารที่เสนอไว ใ้ นโครงการ และ
ต ้องจดบันทึกไว ้เป็ นหลักฐาน อย่าง
ล ะ เ อี ย ด ค ร บ ถ ้ว น พ ร อ้ ม ที่ จ ะ
้
เปิ ดเผยหรือชีแจงได
้ทุกโอกาส
NPRU
แนวทางปฏิบต
ั ต
ิ ามข้อ 5
1) ต อ้ งด าเนิ น การตามวิธ ีก ารที่เสนอไว ใ้ น
โครงการอย่างเคร่งคร ัด
2) ต อ้ งบัน ทึก หลัก ฐานแหล่ ง ที่มาของสัต ว ์
้ ระบบการป้ องกันการติดเชือ้
วิธก
ี ารเลียง
้ ตว ์
และสภาพแวดล อ้ มของสถานที่เลียงสั
อย่างต่อเนื่ อง
้ั ่ มี ก าร
3) ผู ใ้ ช ส้ ัต ว ต
์ อ้ งท าบัน ทึ ก ทุ ก คร งที
ปฏิบต
ั ต
ิ อ
่ สัตว ์
NPRU
หัวข้อ
่
1. งานวิจยั คณะเทคนิ คการสัตวแพทย ์ ม.เกษตรศาสตร ์. จรรยาบรรณการใช ้สัตว ์เพืองาน
ทางวิทยาศาสตร ์ สภาวิจยั แห่งชาติ. [อินเทอร ์เน็ ต]. [เข า้ ถึงเมื่อ 04 ต.ค. 2557].
เข ้าถึงได ้จาก: http://www.vettech.ku.ac.th
้
2. คณะกรรมการจรรยาบรรณและมาตรฐานการเลี ยงและการใช
ส้ ัต ว เ์ พื่ องานทาง
วิ ท ยาศาสตร ์ มหาวิ ท ยาลัย ขอนแก่ น . จรรยาบรรณการใช ส้ ั ต ว เ์ พื่ องานทาง
วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ . [ อิ น เ ท อ ร ์ เ น็ ต ] . [ เ ข ้ า ถึ ง เ มื่ อ 0 4 ต . ค . 2 5 5 7 ] .
web.kku.ac.th/animal/files/Presention_3.ppt.
3. European Federation of Pharmaceutical Industries and Associations
(EFPIA). Putting animal welfare principles and 3Rs into action
[Internet].
2011
[cited
2014
Sep
4].
Available
from:
http://www.efpia.eu/uploads/Modules/Documents/efpiaanimalwelfare_interactivepdf_
v10interactive_pdfinteractive_0.pdf.
4. NationalCentrefor3Rs. What are the 3Rs? [Internet]. [cited 2014 Sep 4].
Available from: http://www.nc3rs.org.uk/the-3rs.
NPRU
Thank
you
NPRU