บทที่ 2

Download Report

Transcript บทที่ 2

คุณธรรม จริยธรรม
จรรยาบรรณ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
รายวิชา: จริยธรรมวิชาชีพ และกฎหมายสาธารณสุข
(Ethics and Law in Public Health) รหัสวิชา:
474602
อ. ธนัชพร มุลิกะบุตร
ข้อตกลงร่วมกัน
• นั ก ศึ ก ษ า ข า ด เ รี ย น ค ร บ 3
ครั้ง ไม่ มีสิ ทธ ์สอบ กรณี ข าด
เรีย นต้องมีจ ดหมายลากิจ น าแจ้ ง
อาจารย ์
• การส่งรายงาน นักศึ กษาต้องส่ง
ฉ บั บ ร่ า ง 1 ฉ บั บ ก่ อ น วั น
นาเสนอ 1 สั ปดาห
คาถามก่อนการเรียน
• นั ก ศึ กษาคาดหวัง อะไรจากการ
เรียนในรายวิชานี้ ?
• นั ก ศึ ก ษ า คิ ด ว่ า ร า ย วิ ช า นี้ มี
ประโยชนต
?
่ กศึ กษาอยางไร
่
์ อนั
คาถาม
• คุ ณ ธ ร ร ม
จ ริ ย ธ ร ร ม
จ ร ร ย า บ ร ร ณ /จ ร ร ย า บ ร ร ณ
วิชาชีพ หมายถึง?
• คุ ณ ธ ร ร ม
จ ริ ย ธ ร ร ม
จ ร ร ย า บ ร ร ณ /จ ร ร ย า บ ร ร ณ
วิ ช าชี พ เหมื อ นหรื อ ต่ างกัน
อยางไร?
่
คุณธรรม (Moral / Virtue)
คุณ
+
ธรร
=ม
คุณธร
ความดีทม
ี่ ี
ประจาอยูใน
่
สิ่ งนั้นๆ
คุณความดี คาสั่ ง
สอนในศาสนา
ความความจริง
กฎเกณฑ ์
สภาพคุณงาม
ความดี (ราชบัณฑิตยสถา
จริยธรรม (Ethics)
จริย
+า
ธรร
=ม
จริยธ
ความ
ประพฤติ,
กิรย
ิ าทีค
่ วร
ประพฤติ
คุณความดี, คาสั่ ง
สอนในศาสนา,
ความความจริง,
กฎเกณฑ ์
ธรรมทีเ่ ป็ นข้อประพฤติ
ปฏิบต
ั ,ิ ศี ลธรรม, กฎ
ศี ลธรรม
จรรยาบรรณ
(Professional Ethics )
จรร
+
ยา
บรร
=
ณ
จรรยาบร
รณ
ความประพฤติ, กิรย
ิ า
ทีค
่ วรประพฤติในหมู่
ในคณะ
ปี ก, หนังสื อ, ใบไม้
ป ร ะ ม ว ล ค ว า ม ป ร ะ พ ฤ ติ ที่ ผู้
ปร ะ ก อบ อ า ชี พ ก า ร ง าน แ ต่ ล ะ
อยางก
าหนดขึน
้
เพือ
่ รักษาและ
่
ส่ งเสริม เกีย รติคุ ณ ชื่ อ เสี ยงและ
ฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็ น
จรรยาบรรณวิชาชีพ
(Professional Codes of Ethics )
ประมวลความประพฤติทผ
ี่ ้ประกอบ
ู
อาชีพการงานแตละอย
างก
าหนดขึน
้
่
่
ตองยึ
ดถือและปฏิบต
ั ิ เพือ
่ รักษาและ
้
ส่งเสริมเกียรติคุณชือ
่ เสี ยงและฐานะ
ของสมาชิก
อาจเขียนเป็ นลายลักษณอั
์ กษรหรือไม่
ก็ได้
ประเด็นความเหมือน ความแตกต่าง
และความเกี่ยวพันต่าง
คุณธรร
ม
จริยธร
รม
• เป็ นลักษณะ
• เป็ นลักษณะการ
ความรูสึ้ กนึกคิดทาง
แสดงออกทางรางกาย
่
จิตใจ
ทางการประพฤติปฏิบต
ั ิ
• เป็ นมุมมองแงหนึ
่ ่ง
ของจริยธรรม
• สะทอนคุ
ณธรรมภายใน
้
ให้เห็ นเป็ นรูปธรรม
• คานึงถึงสิ่ งทีถ
่ ก
ู และ • จริยธรรมมาจากคุณธรรม
ผิด
ในตัวเองกิตติยา โสภณโภไคย
ประเด็นความเหมือน ความแตกต่าง
และความเกี่ยวพันต่าง
จรรยาบรรณ /
จรรยาบรรณวิชาชีพ
• คุณธรรมและจริยธรรมของบุคคลในกลุมวิ
้ ๆ
่ ชาชีพนัน
เป็ นองคประกอบส
าคัญ
์
• ผู้ทีม
่ จ
ี ริยธรรม คือ ผู้ทีม
่ จ
ี รรยาบรรณ /
จรรยาบรรณวิชาชีพ
• จรรยาบรรณวิชาชีพ บังคับในระดับ “พึง” (บังคับ
ทัง้ ทางดาน
จิตใจ และ การกระทา)
้
• จรรยาบรรณวิชาชีพ ถือ “จิตสานึก” เป็ นหลักใน
กิต
การพิจารณาวินิจฉัยวาท
่ าผิดหรือไม
่ ติยา โสภณโภไคย
สรุป
• จรรยาบรรณ
เ ป็ น ห ลั ก ค ว า ม
ประพฤติ เป็ นเครื่อ งยึด เหนี่ ย วจิต ใจ
ใ ห้ มี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ข อ ง
บุค คลในแต่ละกลุ่มวิช าชีพ ซึ่ง เรีย กว่า
จรรยาบรรณวิชาชีพ เมือ
่ ประพฤติ
แลวจะช
้
่ วยรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ
ชื่ อ เสี ยง ทั้ง ของวิ ช าชี พ และฐานะ
สมาชิก ท าให้ได้รับความเชื
ทาง
กิตติย่อาถือ
โสภณโภไคย
สั งคม
คาถาม
• จ ริ ย ธ ร ร ม นั ก ส า ธ า ร ณ สุ ข
ไดแก
้ ่?
• จ ร ร ย า บ ร ร ณ วิ ช า ชี พ
สาธารณสุข ไดแก
้ ่?
จริยธรรมนักสาธารณสุข
1.การปฏิบต
ั ห
ิ น้าทีข
่ องนักสาธารณสุขต้อง
ยึ ด ห ลั ก ก า ร แล ะ ค ว า ม เ ป็ น ธ ร รม เ พื่ อ
ผลประโยชนส
์ ่ วนรวม
2.นั ก ส า ธ า ร ณ สุ ข ต้ อ ง ยึ ด มั่ น ใ น ค ว า ม
สามัค คี มีค วามจริง ใจต่อกัน เกื้อ กู ล
กันเพือ
่ ให้งานของส่วนรวมสาเร็จ
3.นั ก สาธารณสุ ข ต้ องเคารพรัฐ ธรรมนู ญ
จริยธรรมนักสาธารณสุข
4. นัก สาธารณสุ ข ต้ องประพฤติป ฏิบ ต
ั ต
ิ นให้
เหมาะสมกับ ฐานะ ต าแหน่ ง ท าให้ เป็ น
ตัวอยางแก
ประชาชน
่
่
5. นั ก สาธารณสุ ข จะต้ องเข็ ม แข็ ง อดทน
พรอมรั
บคาวิจารณของผู
่
้
้อืน
์
6. นั ก สาธารณสุ ข ต้ องยึ ด ถื อ ความถู ก ต้ อง
เมื่ อ เกิด ความเสี ยหายจากงานในความ
จริยธรรมนักสาธารณสุข
7. นั ก สาธารณสุ ข ต้ องมี ค วามเคร่ งครัด ใน
เรือ
่ งเวลา และตองตรงต
อเวลาในทุ
กกรณี
้
่
8. นัก สาธารณสุ ข ต้องไม่แสวงผลประโยชน์
จากงานในหน้ าที่ หากมุ่ งหากิ น ด้ วย
วิธก
ี ารใด ๆ ต้องลาออกจากตาแหน่งไป
ทาการค้า
จรรยาบรรณวิชาชีพสาธารณสุข
( Ethics of Public Health Professional )
1. ผู้ ประกอบวิช าชีพ สาธารณสุ ข ต้ องมีว ินัย ต่อ
ตนเอง พัฒนาตนเองให้มีความเชี่ยวชาญทาง
วิช าชีพ มีบุ ค ลิก ภาพและวิสั ย ทัศ น์ให้ ต่อการ
เปลีย
่ นแปลงและพัฒนาวิทยาการด้านสุขภาพที่
เกีย
่ วของกั
บวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
อยูเสมอ
้
์
่
2. ผู้ประกอบวิชาชีพ สาธารณสุ ข ต้องมีค วามรัก
ศรัท ธา ซื่อสั ต ยสุ
์ จ ริต รับ ผิด ชอบต่อวิช าชีพ
และเป็ นสมาชิกทีด
่ ข
ี ององคกรวิ
ชาชีพ
์
จรรยาบรรณวิชาชีพสาธารณสุข
( Ethics of Public Health Professional )
3. ผู้ประกอบวิชาชีพ สาธารณสุ ข ต้องมีค วามรัก
ความเมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือเพือ
่ นมนุ ษย ์
ด้ วยความเสี ยสละแบบจิต อาสาและให้ บริก าร
ด้ วยหัว ใจของความเป็ นมนุ ษ ย ์ ตามบทบาท
หน้าทีโ่ ดยเสมอภาคอยางเท
าเที
่
่ ยม
4. ผู้ประกอบวิชาชีพสาธารณสุข ต้องส่งเสริมให้
ประชาชนที่ม ีท ก
ั ษะและพฤติก รรมสุ ข ภาพที่ ด ี
ตามบทบาทหน้ าที่อ ย่างเต็ ม ความสามารถและ
บริสุทธิใ์ จ
จรรยาบรรณวิชาชีพสาธารณสุข
( Ethics of Public Health Professional )
5. ผู้ ประกอบวิช าชีพ สาธารณสุ ข ต้ องประพฤติ
ปฏิ บ ัต ิต นเป็ นแบบอย่ างที่ ด ี ท ้ัง กายวาจาและ
จิตใจ รวมถึงการเป็ นแบบอยางที
ด
่ ด
ี านสุ
ขภาพ
่
้
แกประชาชน
่
6. ผู้ประกอบวิชาชีพ สาธารณสุข ต้ องให้ บริก าร
ประชาชนด้ วยความซื่ อ สั ตย ์ สุ จ ริต จริง ใจ
และความเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือ ยอมรับ
ประโยชนจากการใช
์
้ตาแหน่งหน้าทีโ่ ดยมิชอบ
จรรยาบรรณวิชาชีพสาธารณสุข
( Ethics of Public Health Professional )
7. ผู้ ประกอบวิช าชีพ สาธารณสุ ข ต้ องไม่กระท า
ตนและกระท าอันใดทีเ่ ป็ นปฏิปักษ์ต่อการตรวจ
วิเ คราะห ์ผลกระทบ เฝ้ าระวัง ป้ องกัน และ
วางแผนระบบการจัดการสุขภาพทีเ่ กีย
่ วกับ สุ ข
วิท ยาและพฤติก รรมสุ ข ภาพ การสุ ข าภิบ าล
สิ่ งแวดล้อมและควบคุ มมลพิษ จากการประกอบ
วิชาชีพจนกอให
่
้เกิดความเสี ยหายตอประชาชน
่
ผู้รับบริการ
จรรยาบรรณวิชาชีพสาธารณสุข
( Ethics of Public Health Professional )
8. ผู้ ประกอบวิช าชี พ สาธารณสุ ข ต้ องช่ วยเหลือ
เกื้อ กู ล กัน และกัน อย่ างสร้ างสรรค ์โดยยึ ด ใน
ระบบคุณธรรมและสร้างความสามัคคีในหมูคณะ
่
9. ผู้ ประกอบวิช าชีพ สาธารณสุ ข ต้ องประพฤติ
ปฏิบต
ั ต
ิ นเป็ นผู้นาในการรักษาผลประโยชนของ
์
ส่ วนรวม และยึ ด มั่ น ในการปกครองระบบ
ประชาธิป ไตยอัน มี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ทรงเป็ น
ประมุข