ประโยชน์ของจริยธรรม

Download Report

Transcript ประโยชน์ของจริยธรรม

คุณธรรม และ จริยธรรม
เพือ่ ขจัดการเอารัดเอาเปรียบ และ
การทุจริตทั้งปวง
การประกอบธุ รกิ จย่อมต้องมีสิ่งที่กากับ เพื่อขจัด
การล่วงละเมิดสิ ทธิ อนั ชอบธรรมที่อาจเกิดขึ้น สิ่ งนั้นคือ
จริยธรรมธุรกิจ
อริ สโตเติล กล่ าวว่ า พฤติกรรมที่เหมาะสม คื อ
การไม่ ท าอะไรสุ ด โต่ ง เช่ น ร่ า รวยเกิ น ไป หรื อ ยาก
จนเกิ น ไป ควรปฏิ บั ติ ต ามกฎของการเดิ น สายกลาง
(golden mean of moderation)
1. จริยธรรมเกิดจากการยึดประเพณี
2. จริยธรรมเกิดจากการยึดตามกฎหมาย
3. จริยธรรมเกิดจากศาสนา
ประเพณีเป็ นที่เครื่ องยึดเหนี่ยวจิตใจของหมู่คณะหรื อ
สั งคม ประเพณีเป็ นการแสดงถึงการปฏิบัติตนตามวิถี ชีวิต
ของคนในแต่ ละสถานที่ทาให้ เกิดการอยู่รวมกันเป็ นสั งคม
เช่ น
ประเพณีแต่ งงาน งานบวช ประเพณีสงกรานต์ เป็ นต้ น
กฎหมายไม่ ใช่ จริ ย ธรรม กฎหมายเป็ นเพี ย ง
จริ ยธรรมที่ใช้ ควบคุ ม ความประพฤติที่ไม่ ดี โดยจะมี
บทลงโทษกาหนดไว้ แต่ สาหรับผู้ที่ประพฤติดีถือว่ าเป็ น
ผู้มีจริยธรรมก็จะไม่ มีกฎหมายกาหนดการลงโทษเอาไว้
โดยทั่วไปศาสนาจะมีหลักคาสอน เพราะทุกศาสนา
สอนให้ คนเป็ นคนดี มีศีลธรรม และศาสนาเป็ นเรื่ องของ
จิตใจและอารมณ์ ซึ่งจริยธรรมมักอิงอยู่กับศาสนา ทั้งนี้
เพราะคาสอนของศาสนามีส่วนสร้ างระบบจริยธรรมให้
สั งคม
คาว่ า "จริยธรรม"
แยกออกเป็ น จริย + ธรรม
"จริ ยธรรม" จึงมีความหมายตามตัวอักษรว่ า
"หลัก แห่ ง ความประพฤติ " หรื อ "แนวทาง
ของการประพฤติ"
ความเฉลียวฉลาด
ความกล้าหาญ
ความรูจ้ กั เพียงพอ
ความยุติธรรม
ความมีสติ
สิ่ งของที่ปรากฏอยู่ในสั งคมบางอย่ างอาจมีค่ามาก
บางอย่ า งอาจมี ค่ า น้ อ ย ทั้ง นี้ขึ้น อยู่ กับ อุ ป สงค์ และ
อุปทาน ของตลาด ซึ่ งเป็ นกลไกที่สามารถอธิบายได้
อย่ างชั ดเจน แต่ จริ ยธรรมนั้น เป็ นสิ่ งที่มีคุณค่ ามิอาจ
ซื้ อหาหรื อกาหนดคุ ณค่ าที่แน่ นอนได้ ขึ้นอยู่ กับการ
กาหนดค่ าของแต่ ละบุคคล
1.
2.
3.
4.
5.
จริ ยธรรมก่อให้เกิดความมุ่งมัน่ ของพนักงานในองค์กร
จริ ยธรรมก่อให้เกิดภาพพจน์ที่ดีต่อองค์กร
จริ ยธรรมก่อให้เกิดความมัน่ ใจของนักลงทุน
จริ ยธรรมก่อให้เกิดความสงบสุ ขของสังคม
จริ ยธรรมก่อให้เกิดความเจริ ญของประเทศชาติ
จรรยาบรรณ หมายถึ ง มาตรฐานคุ ณ ค่ า แห่ ง
ความดีงามของการกระทาหนึ่ง ๆ และหรื อพฤติกรรม
โดยรวม
ธุ ร กิจ หมายถึ ง บุ ค คล นิ ติ บุ ค คล หรื อ องค์ ก ร
ใด ๆ ที่ ด าเนิ น การผลิ ต สิ นค้ า หรื อ และบริ ก ารเพื่ อ
ผลตอบแทนในการลงทุนในรู ปของกาไร
จรรยาบรรณธุรกิจ
หมายถึ ง มาตรฐานการผลิต สิ น ค้ า และ
การให้ บริ ก าร เป้าหมายเพื่อ ผลตอบแทน
ตามคุณค่ าของการลงทุน โดยเป็ นธรรมต่ อ
ทุ ก ฝ่ าย กล่ าวคื อ ทั้ ง เจ้ าของกิ จ การ
ผู้บริ หาร ผู้ร่วมงาน ผู้บริ โภค ผู้รับบริ การ
รั ฐบาล และสั งคม ซึ่ งมีความสั มพัน ธ์ เชิ ง
เศรษฐกิจร่ วมกัน
จรรยาบรรณธุรกิจ
มิ ไ ด้ ห มายความเฉพาะความชอบ
ธรรมของตั ว ธุ ร กิ จ เท่ า นั้ น แต่ ห มาย
ร ว ม ถึ ง ก ล ไ ก ใ น ก า ร จั ด ก า ร กั บ
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง
องค์ ประกอบแต่ ละประการด้ วย ทั้งนี้
เพือ่ ประสิ ทธิผลสู งสุ ดของธุรกิจเอง
1.
2.
3.
4.
เพือ่ สร้ างความเป็ นธรรมในการแข่ งขัน
เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการผลิต
เพือ่ สร้ างความมัน่ ใจแก่ ผ้ ูบริโภค
เพือ่ รักษาสมดุลของสภาพแวดล้ อม
กฎหมายและจริ ยธรรม มีความหมายแตกต่ าง
กันอยู่หลายประการแต่ มเี ป้าหมายเดียวกัน
คือ
การจัดระเบียบสั งคมให้ สมาชิกทุกคนในสั งคม
มีความสุ ขอยู่อย่ างปกติสุข
1.
2.
3.
4.
5.
การบังคับใช้
เหตุแห่ งการเกิด
บทลงโทษ
การยกย่ องสรรเสริญ
เกณฑ์ ทใี่ ช้ ในการตัดสิ น
ภาพแสดงความแตกต่ างระหว่ างจริยธรรมและกฎหมาย
กฎหมาย
จริยธรรม
1. มีการบังคับใช้
1. ปฏิบตั ิดว้ ยความสมัครใจ
2. เกิดขึ้นอย่างเป็ นระบบ
2. เกิดขึ้นจากการสื บทอด
3. มีบทลงโทษที่ชดั เจน
3. บทลงโทษขึ้นอยูก่ บั สมาชิกในสังคม
4. ปฏิบตั ิตามจะได้รับการชื่นชม 4. ปฏิบตั ิตามจะได้รับการยกยิง่ สรรเสริ ญ
5. ตัดสิ นด้วยคาว่าผิดหรื อไม่ผดิ
5. ตัดสิ นด้วยคาว่า ควรหรื อไม่ควร
จริยธรรม
กับ
คุณธรรม
ระบบของกฎเกณฑ์ ใช้ ในการวิเคราะห์ ความประพฤติที่ผิ ด
หรือถูกของบุคคล จริยธรรมมีการเปลีย่ นแปลงและพัฒนามา
จากบุคคล
โดย จริยธรรมประกอบด้ วย 3 ด้ าน คือ
1. ความรู้ (Knowledge)
2. ความประพฤติ (Conduct)
3. ความรู้ สึก (Feeling)
กรอบความประพฤติ ความคิดที่สังคม หรือ บุคคล
ที่ มี ค วามเห็ น ร่ วมกั น ว่ า เป็ นสิ่ ง ที่ ดี มี ป ระโยชน์
มากกว่ าโทษ