การจัดการสารสนเทศดิจิทัลชุดวิชาตำรา มสธ. น.ส.ชลลดา หงส์งาม

Download Report

Transcript การจัดการสารสนเทศดิจิทัลชุดวิชาตำรา มสธ. น.ส.ชลลดา หงส์งาม

การจัดการสารสนเทศดิจทิ ลั ชุดวิชา ตารา มสธ.
Digital Information Management
for STOU Superseded Textbooks.
นางสาวชลลดา หงษ์ งาม
ศูนย์ เทคโนโลยีบรรณสารสนเทศ สานักบรรณสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
การสั มมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4
23 มกราคม 2557
ความสาคัญและความเป็ นมาของโครงการ
สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมธิราช ตระหนักถึงคุณค่ า
และความสาคัญของชุ ดวิชาหรื อตาราเรี ยนของ มสธ. ซึ่งเป็ นภูมิปัญญา มสธ. ที่มี
คุณค่ าทางวิชาการอย่ างมาก แม้ ไม่ ได้ ใช้ ในการเรียนการสอนในปัจจุบันแล้ วก็ตาม แต่
นับเป็ นตาราในระดับอุดมศึ กษาสาหรั บการเรี ยนทางไกล เป็ นนวัตกรรมแห่ งการ
เรี ยนรู้ ที่ เ กิ ด จากคณาจารย์ นั ก วิ ช าการและผู้ ทรงคุ ณ วุ ฒิ ใ นศาสตร์ ต่ างๆ
สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมธิราช จึงได้ พัฒนาคลัง
ปัญญา ตารา มสธ. เพือ่ ให้ สารสนเทศอันเกิดจากภูมิปัญญา มสธ. สามารถตอบสนอง
ความต้ องการของผู้ใช้ ได้ หลากหลายและยาวนานมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็ นแหล่ งบริ การ
เผยแพร่ และอนุ รักษ์ สารสนเทศ ภู มิปัญญาทางวิชาการของ มสธ. และเพื่อรองรั บ
การศึกษาค้ นคว้ าทางอินเตอร์ เน็ต
วัตถุประสงค์ ของโครงการ
1. เพือ่ พัฒนาคลังความรู้ภูมิปัญญา มสธ. ในด้ านการจัดเก็บ การค้ น การจัดการ
สารสนเทศดิจิทลั ที่เป็ นระบบ สะดวกและเข้ าถึงได้ ง่าย
2. เพือ่ อนุรักษ์ ภูมิปัญญาอันทรงคุณค่ าจากงานเขียนของคณาจารย์ นักวิชาการ
และผู้ทรงคุณวุฒิ มสธ. อย่ างยัง่ ยืน
การดาเนินงาน แบ่ งเป็ น 3 กลุ่มงาน
ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการพัฒนาคลังปัญญา ตารา มสธ.
ตารางกรอบระยะเวลาการดาเนินการแต่ ละขั้นตอน
ขั้นตอนการดาเนินการ
1. คัดเลือก รวบรวม รายชื่อเอกสารชุดวิชา
2. ตรวจความซ้ าซ้อนของรายชื่อชุดวิชา มสธ.
3. ส่ งเอกสารชุดวิชาไปแปลงให้อยูใ่ นรู ปดิจิทลั
4. ทารายการเมตะดาตา MODS กับ METS
5. พัฒนาระบบห้องสมุดดิจิทลั ด้วยโปรแกรม GSDL
6. ออกแบบและเผยแพร่ เว็บไซต์
7. เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์การใช้งานคลังปัญญา ตารา
มสธ.
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.
การสื บค้ นข้ อมูล
การสื บค้ นข้ อมูล สามารถทาได้ 3 ช่ องทาง คือ
1) สื บค้ นจากชื่อเรื่อง (Title)
2) สื บค้ นจากชื่อผู้แต่ ง/ผู้รับผิดชอบ(Creator)
3) สื บค้ นจากหัวเรื่อง (Subject)
ผลการสื บค้ นหน้ าแรก
ระบบจะแสดงจานวนและรายชื่อเอกสารชุ ดวิชาทีเ่ กีย่ วข้ องกับคาค้ น
ผลการสื บค้ นข้ อมูล
ผลการสื บค้ นข้ อมูล จะแสดงผลได้ 4 รูปแบบ คือ
1. การแสดงผลแบบสั้ น (Short Record)
2. การแสดงผลแบบยาว (View Record)
3. การแสดงผลในรูปรายการ METS (View METS Record)
4. การแสดงผลรูปเอกสารฉบับเต็ม (View Full Text PDF)
1. การแสดงผลแบบสั้ น (SHORT RECORD)
2. การแสดงผลแบบยาว (VIEW RECORD)
3. การแสดงผลในรู ปรายการ METS (VIEW METS RECORD)
4. การแสดงผลรู ปเอกสารฉบับเต็ม (VIEW FULL TEXT PDF)
สรุปผลการศึกษา และข้ อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษาทีไ่ ด้ จากการจัดการสารสนเทศดิจิทัล เป็ น 3 ประเด็น คือ
1. องค์ ความรู้ทไี่ ด้ รับจากการจัดการสารสนเทศดิจิทลั
2. ข้ อดี ข้ อจากัดของการจัดการสารสนเทศดิจิทัล
3. การตอบรับ (Feedback) ของผู้ใช้
1. องค์ ความรู้ ทไี่ ด้ รับจากการจัดการสารสนเทศดิจทิ ลั ชุดวิชา ตารา มสธ.
องค์ ความรู้ทไี่ ด้ รับ 3 ประการ ได้ แก่
1.1 การแปลงสารสนเทศ การแปลงสารสนเทศในรู ปแบบดัง่ เดิม คือ เอกสาร
ตีพิมพ์ ให้อยูใ่ นรู ปแบบสารสนเทศดิจิทลั (e-Book)
1.2 การทารายการเมทาดาทา จุดมุ่งหมายของการจัดทาเมทาดาทาเพื่อบอกถึง
คุณลักษณะและรายละเอียดของสารสนเทศเหล่านั้น
1.3 ห้ องสมุดดิจิทลั เป็ นห้องสมุดที่มีการจัดการและให้บริ การเนื้อหาของ
เอกสารการสอนชุดวิชา มสธ. อยูใ่ นรู ปแบบอิเล็กทรอนิกส์
2. ข้ อดี ข้ อจากัดของการจัดการสารสนเทศดิจทิ ลั ชุดวิชา ตารา มสธ.
2.1 ข้ อดี คือ การนาชุดวิชาทั้งเล่มและครบชุดมาแปลงเป็ นรู ปดิจิทลั
โดยแบ่งเนื้อหาออกตามบท จะสะดวกต่อการใช้งาน ได้ขอ้ มูลครบถ้วน และเป็ น
การยืดอายุการใช้งานของชุดวิชา มสธ. ให้ยาวนานยิง่ ขึ้น
2.2 ข้ อจากัด คือ การนาชุดวิชาทั้งเล่มและครบชุดมาแปลงเป็ นรู ปดิจิทลั
จาเป็ นต้องใช้พ้นื ที่ในการจัดเก็บจานวนมาก จึงมีปัญหาเรื่ องพื้นที่จดั เก็บข้อมูล
ไม่เพียงพอ
3. การตอบรับ FEEDBACK ของผู้ใช้
ช่ องทางในการรับ Feedback จากผู้ใช้
1) ติชมแนะนาผ่านทางบรรณารักษ์งานบริ การโดยตรง
2) ติชมแนะนาผ่านทางโทรศัพท์
3) ติชมแนะนาผ่านทางสื่ อสังคมออนไลน์ คือ Facebook สานักบรรณสารสนเทศ
*** สิ่ งทีจ่ ะพัฒนาต่ อไป
- การจัดทาตัวนับจานวนเก็บสถิติผเู ้ ข้าใช้เว็บไซต์ รวมทั้งสถิติการอ่านเอกสาร
ประโยชน์ ของการจัดการสารสนเทศดิจทิ ลั ชุดวิชา มสธ.
1. ก่อให้ เกิดการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการในการผลิตเอกสารการสอนชุ ดวิชา
แบบฝึ กปฏิบัติชุดวิชา ของมหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช ซึ่งเป็ นปัจจัยสาคัญ
ในด้ านการเรียนการสอน การวิจัย และการส่ งเสริมบริการห้ องสมุดมหาวิทยาลัย
2. ก่อให้ เกิดการแพร่ หลายขององค์ ความรู้ทเี่ กิดจากภูมปิ ัญญา มสธ. ทั้งภายใน
และภายนอกมหาวิทยาลัย ผ่ านระบบห้ องสมุดอัตโนมัติ