มฐ.เรียนร่วม - สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 3

Download Report

Transcript มฐ.เรียนร่วม - สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 3

มาตรฐานการเรียนร่ วม
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ.2555
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3
21 กันยายน 2555
1
ประกอบด้ วย 4 ด้ าน 4 มาตรฐาน
17 ตัวบ่ งชี้
ด้ านที่ 1 มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน มี 1 มาตรฐาน 1 ตัวบ่ งชี้
ด้ านที่ 2 มาตรฐานด้ านการจัดการเรียนการสอน มี 1 มาตรฐาน
8 ตัวบ่ งชี้
ด้ านที่ 3 มาตรฐานด้ านการบริหารจัดการเรียนร่ วม มี 1 มาตรฐาน
6 ตัวบ่ งชี้
ด้ านที่ 4 มาตรฐานด้ านการสร้ างสั งคมแห่ งการเรียนรู้ มี 1 มาตรฐาน
2 ตัวบ่ งชี้
2
ด้ านที่ 1 มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีผลการพัฒนาเต็มศักยภาพ
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีผลการพัฒนาเต็มศักยภาพตามที่กาหนดไว้ ใน
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized
Education Program: IEP)
คาอธิบาย ผู้เรียนทีเ่ รียนร่ วมพัฒนาเต็มศักยภาพ โดยได้ รับการ
ส่ งเสริมและพัฒนาให้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่
สอดคล้ องตามความต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา
3
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีผลการพัฒนาเต็มศักยภาพตามที่
กาหนดไว้ ในแผนการจัดการศึกษา เฉพาะบุคคล
(Individualized Education Program: IEP)
คาอธิบาย ผู้เรียนได้ รับการพัฒนาด้ านความรู้ ความสามารถ และ
ทักษะบรรลุตามวัตถุประสงค์ ทกี่ าหนดไว้ ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ประเด็นการพิจารณา ความรู้ ความสามารถ และทักษะของผู้เรียน
ตามจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมทีก่ าหนดไว้ ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
4
ระดับคุณภาพรายบุคคล
ระดับ
ผ่ าน
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ผู้เรียนมีผลการพัฒนาบรรลุทุกจุดประสงค์
เชิงพฤติกรรม ตามเกณฑ์ ที่กาหนดไว้ ใน
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ( IEP)
ไม่ ผ่าน
ผู้เรียนมีผลการพัฒนาไม่ บรรลุจุดประสงค์
เชิงพฤติกรรมในจุดประสงค์ ใดจุดประสงค์
หนึ่งตามเกณฑ์ ที่กาหนดไว้ ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล ( IEP)
5
ระดับคุณภาพรายสถานศึกษา
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ผู้เรียนตา่ กว่ าร้ อยละ 50 มีผลการประเมินผ่ านตามเกณฑ์
การประเมินเฉพาะบุคคล
ผู้เรียนร้ อยละ 50 - 59 มีผลการประเมินผ่ านตามเกณฑ์ การ
ประเมินเฉพาะบุคคล
ผู้เรียนร้ อยละ 60 – 69 มีผลการประเมินผ่ านตามเกณฑ์ การ
ประเมินเฉพาะบุคคล
ผู้เรียนร้ อยละ 70- 79 มีผลการประเมินผ่ านตามเกณฑ์ การ
ประเมินเฉพาะบุคคล
ผู้เรียนร้ อยละ 80 ขึน้ ไป มีผลการประเมินผ่ านตามเกณฑ์
การประเมินเฉพาะบุคคล
6
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการ
เครื่องมือ
มฐ1 ตบช1
แหล่งข้ อมูล
แบบบันทึกผลการ - แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
เอกสาร
พัฒนาคุณภาพ - แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)
ผู้เรียนตาม IEP - เอกสารผู้เรียนรายบุคคล เช่ น ผลงานนักเรียน
หลักฐาน
ร่ องรอยหรือ
แฟ้มสะสมผลงาน แบบฝึ กหัดต่ าง ๆ ใบงานต่ างๆ
เอกสารการวัดผล ประเมินผล , ภาพกิจกรรม
ข้ อมูลเชิง
ประจักษ์
เป็ นต้ น
- รายงานผลการพัฒนาผู้เรียน
2. การสั งเกต แบบบันทึกผล ผู้เรียน
พฤติกรรม
การสั งเกต
พฤติกรรมผู้เรียน
3. การสอบถาม แบบสอบถาม/ ผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง และผู้เกีย่ วข้ อง
/ สั มภาษณ์
สั มภาษณ์
1. การตรวจสอบ
7
แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตาม IEP
โรงเรียน………………..........................................…………………
มฐ1 ตบช1
…….….
สั งกัด..................................................................................................
..........................
ประเภท ระดับคุณภาพรายบุคคล
ที่
ชื่อ
ชั้น
ความพิการ
ผ่าน
ไม่ ผ่าน
รวม
ร้ อยละ
สรุ ประดับคุลงชืณ่อภาพสถานศึ
กษา
..............................................................ผู้ประเมิน
(.................................................. )
............./................../.....................
ลงชื่อ..............................................................ผู้ประเมิน
(.................................................. )
............./................../.....................
8
ด้ านที่ 2 มาตรฐานด้ านการจัดการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 2 ครู ปฏิบัตงิ านเรียนร่ วมอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
และเกิดประสิ ทธิผล
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 ครู มีความรู้ ความเข้ าใจ เจตคติทดี่ ตี ่ อการจัดการเรียน
ร่ วมและปฏิบัตติ ่ อผู้เรียนอย่ างเหมาะสม
ตัวบ่ งชี้ที่ 2 ครู เข้ ารับการฝึ กอบรมหรือพัฒนาให้ มที ักษะในการ
จัดการเรียนร่ วม
ตัวบ่ งชี้ที่ 3 ครู มีการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP)
9
ตัวบ่ งชี้ที่
ครู จดั ทาแผนการสอนเฉพาะบุคคล (Individual
Implementation Plan : IIP) ที่สอดคล้ องกับ IEP
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 ครู จดั หา ผลิตและใช้ เทคโนโลยี สิ่ งอานวยความสะดวก
สื่ อ บริการ และความช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษาใน การพัฒนา
ผู้เรียน ตามความต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ครู จดั การเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาผู้เรียนเฉพาะบุคคลอย่ าง
เหมาะสม
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ครู มีการวัดและประเมินผลทีห่ ลากหลายสอดคล้ องกับ
ผู้เรียนเฉพาะบุคคล
ตัวบ่ งชี้ที่ 8 ครู ใช้ กระบวนการวิจยั เพือ่ พัฒนาผู้เรียนเฉพาะบุคคล
4
10
คาอธิบายมาตรฐานและตัวบ่ งชี้
มาตรฐานที่ 2 ครู ปฏิบัตงิ านเรียนร่ วมอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
และเกิดประสิ ทธิผล
คาอธิบาย ครู มีความรู้ ความเข้ าใจและมีเจตคติทดี่ แี ละสามารถปฏิบัติ
ต่ อผู้เรียนได้ อย่ างเหมาะสมต่ อการจัดการเรียนร่ วม โดยผ่ าน
การฝึ กอบรมหรือพัฒนาให้ มีทกั ษะการจัดการเรียนร่ วม สามารถ
วิเคราะห์ ผู้เรียน จัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) จัดหา ผลิต และใช้ สิ่งอานวย
ความสะดวก สื่ อ บริการและความช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา
สามารถนาแผนไปสู่ การปฏิบัติ นาข้ อมูลจากการวัดและประเมินผล
ไปพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งใช้ กระบวนการวิจยั เพือ่ พัฒนาผู้เรียนได้
อย่ างเหมาะสมกับสภาพความต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา
ของผู้เรียน
11
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 ครู มคี วามรู้ ความเข้ าใจ เจตคติทดี่ ตี ่ อการจัดการ
เรียนร่ วมและปฏิบัตติ ่ อผู้เรียนอย่ างเหมาะสม
คาอธิบาย ครู ทุกคนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับหลักการและแนวคิด
ในการจัดการเรียนร่ วม ลักษณะและประเภทของผู้เรียนทีม่ ีความ
ต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา หลักสู ตรและการปรับหลักสู ตร
สาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP) กระบวนการจัดการเรี ยนการสอน การใช้ สิ่งอานวยความ
สะดวก สื่ อ บริการ และความช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา การวัด
และประเมินผลทีส่ อดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นพิเศษทาง
การศึกษาของผู้เรียนเฉพาะบุคคล
12
• ครู ทุกคนมีเจตคติที่ดตี ่ อการจัดการเรียนร่ วม โดยมีท่าทีหรือมี
ความรู้ สึกทีด่ แี ละยอมรับการจัดให้ คนพิการได้ เข้ าศึกษาในระบบ
การศึกษาทัว่ ไปทุกระดับและหลากหลายรู ปแบบ รวมถึง
สนับสนุนการจัดการศึกษาให้ สามารถรองรับการเรียนการสอน
สาหรับคนทุกกลุ่มรวมทั้งคนพิการ
• ครู ทุกคนปฏิบัตติ ่ อผู้เรียนอย่ างเหมาะสม โดยดูแลเอาใจใส่ ไม่
แสดงอาการรังเกียจ ดูหมิ่นเหยียดหยาม คานึงถึงสิ ทธิโอกาส
ความเสมอภาค ความเท่ าเทียมทางการศึกษาและศักดิ์ศรีของ
ความเป็ นมนุษย์
13
ประเด็นการพิจารณา
1. มีความรู้ ความเข้ าใจในการจัดการเรียนร่ วม
2. มีเจตคติที่ดตี ่ อการจัดการเรียนร่ วม
3. ปฏิบัตติ ่ อผู้เรียนอย่ างเหมาะสม
14
ระดับคุณภาพรายบุคคล
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1
ครู มีคุณลักษณะตามประเด็นการพิจารณาตามข้ อ 1
2
ครู ผ่านระดับคุณภาพ 1 และมีคุณลักษณะตาม
ประเด็นการพิจารณาข้ อ 2
3
ครู ผ่านระดับคุณภาพ 2 และมีคุณลักษณะตาม
ประเด็นการพิจารณาข้ อ 3
15
ระดับคุณภาพรายสถานศึกษา
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ครูต่ากว่ าร้ อยละ 50 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 50-59 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 60-69 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 70-79 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 80 ขึน้ ไป มีผลการประเมินระดับ
คุณภาพรายบุคคลในระดับ 2 ขึน้ ไป
16
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการ
เครื่องมือ
การตรวจเอกสาร แบบบันทึกรายการ
หลักฐาน
ร่ องรอย หรือ
ข้ อมูล
เชิงประจักษ์
1.
การสั มภาษณ์ / แบบบันทึกการ
การสอบถาม
สั มภาษณ์
/แบบบันทึกการ
สอบถาม
3. การสั งเกต
แบบสั งเกต
พฤติกรรม
พฤติกรรม
2.
มฐ 2 ตบช 1
แหล่ งข้ อมูล
- รายงานการประเมินตนเองของครู (SAR)
- รายงานผลการพัฒนาผู้เรียน
- ทะเบียนสิ่ งอานวยความสะดวก สื่ อ บริการและความ
ช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
- แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)
- แฟ้มสะสมผลงาน
- ภาพถ่ าย โล่ วุฒิบัตร เกียรติบัตร ผ่ านอบรม/พัฒนา/
การยกย่ องเชิดชู เกียรติ
- ผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรที่เกีย่ วข้ อง
- ครู นักเรียน
17
โรงเรียน
มฐ 2 ตบช 1
แบบประเมิ
น
ตนเองของครู
ร
ายบุ
ค
คล
........................................................................................................
............................
สั งกัด..................................................................................................
ผลการประเมิน เกณฑ์ การ
ที่ ....................................
ประเด็นการพิจารณา
มี
ไม่ มี ประเมิน
1 มีความรู้ ความเข้ าใจในการจัดการเรียนร่ วม
การผ่ านแต่ ละ
1.1 หลักการและแนวคิดในการจัดการเรียนร่ วม
1.2 ลักษณะและประเภทของผู้เรี ยนที่มีความต้ องการจาเป็ นพิเศษทาง
การศึกษา
1.3 หลักสู ตรและการปรับหลักสู ตรสาหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ
1.4 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
1.5 กระบวนการจัดการเรียนการสอน
1.6 การใช้ สิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ
และความช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา
1.7 การวัดและประเมินผลที่สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นพิเศษ
ทางการศึกษาของผู้เรียนเฉพาะบุคคล
2 มีเจตคติทดี่ ตี ่ อการจัดการเรียนร่ วม
2.1 มีท่าทีหรือมีความรู้ สึกทีด่ แี ละยอมรับการจัดให้ คนพิการได้ เข้ า
ศึกษาในระบบการศึกษาทัว่ ไปทุกระดับ และหลากหลายรู ปแบบ
2.2 สนับสนุนการจัดการศึกษาให้ สามารถรองรับการ
ประเด็นการ
พิจารณาต้ องมีผล
การประเมินตาม
ประเด็นย่ อย
ร้ อยละ 80 ขึน้ ไป
18
มฐ 2 ตบช 1
ที่
ประเด็นการพิจารณา
3
ปฏิบัตติ ่ อผู้เรียนอย่ างเหมาะสม
3.1 ดูแลเอาใจใส่ นักเรียนที่มีความต้ องการ
จาเป็ นพิเศษทางการศึกษา
3.2 ไม่ แสดงอาการรังเกียจ ดูหมิ่นเหยียด
หยาม
3.3 คานึงถึงสิ ทธิโอกาส ความเสมอภาค
ความเท่ าเทียมทางการศึกษาและศักดิ์ศรีของความ
เป็ นมนุษย์
ผลการประเมิน
มี
เกณฑ์ การประเมิน
ไม่ มี
รวม
สรุ ปผลการประเมินรายบุคคล
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
19
ตัวบ่ งชี้ที่ 2 ครู เข้ ารับการฝึ กอบรมหรือพัฒนาให้ มที กั ษะในการ
จัดการเรียนร่ วม
คาอธิบาย ครู ทุกคนเข้ ารับการประชุ ม ฝึ กอบรม สั มมนา แลกเปลีย่ น
เรียนรู้ เกีย่ วกับการจัดการเรียนร่ วม สาหรับผู้เรียนแต่ ละประเภท
ความพิการ รวมทั้งการศึกษาต่ อและหรือการศึกษาเพิม่ เติม
โดยหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องกับการจัดการศึกษาพิเศษ เช่ น
กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา /มัธยมศึกษา ศูนย์
การศึกษาพิเศษ มูลนิธิหรือหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องกับคนพิการ
สถานศึกษา โรงพยาบาล สถาบันอุดมศึกษา ฯลฯ
20
ประเด็นการพิจารณา
การศึกษาต่ อหรือการศึกษาเพิม่ เติม การประชุม อบรม สั มมนา
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ทเี่ กีย่ วกับการจัดการเรียนร่ วม จัดโดย
หน่ วยงานต้ นสั งกัดหรือหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ อง
21
ระดับคุณภาพรายบุคคล
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1
มีการศึกษาต่ อหรือการศึกษาเพิม่ เติม ประชุ ม อบรม สั มมนา
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ทีเ่ กีย่ วกับการจัดการเรียนร่ วม ซึ่งจัดโดยหน่ วยงาน
ต้ นสั งกัดหรือหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องไม่ น้อยกว่ า 6 ชั่วโมง ต่ อปี
2
มีการศึกษาต่ อหรือการศึกษาเพิม่ เติม ประชุ ม อบรม สั มมนา
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ทเี่ กีย่ วกับการจัดการเรียนร่ วม ซึ่งจัดโดยหน่ วยงาน
ต้ นสั งกัดหรือหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องไม่ น้อยกว่ า 12 ชั่วโมง ต่ อปี
3
มีการศึกษาต่ อหรือการศึกษาเพิม่ เติม ประชุ ม อบรม สั มมนา
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ทเี่ กีย่ วกับการจัดการเรียนร่ วม ซึ่งจัดโดยหน่ วยงาน
ต้ นสั งกัดหรือหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องไม่ น้อยกว่ า 18 ชั่วโมง ต่ อปี
22
ระดับ
1
2
3
4
5
ระดับคุณภาพรายสถานศึกษา
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ครูต่ากว่ าร้ อยละ 50 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 50-59 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 60-69 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 70-79 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 80 ขึน้ ไป มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
23
แบบบันทึกข้ อมูลการอบรมพัฒนารายบุคคล
มฐ 2 ตบช 2
ชื่อครู .........................................................โรงเรียน............................
ที่
เรื่องการอบรม
วันเวลา
จานวน
ชั่วโมง
เอกสาร
หลักฐาน
หน่ วยงานที่
ประกอบ
จัด
สรุ ประดับคุณภาพรายบุคคล (คิดจานวนชั่วโมงที่
ฝึ กอบรมใน รอบ 1 ปี การศึกษา)
รวม
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
24
แบบบันทึกข้ อมูลการอบรมพัฒนารายบุคคลรายสถานศึกษา
มฐ 2 ตบช 2
โรงเรียน……………………………………….….
สั งกัด……………………………………………
ระดับคุณภาพ(จานวนคน)
รายการ
1
2
3
การฝึ กอบรมหรือพัฒนาให้ มีทักษะในการจัดการเรียนร่ วม
รวม
ร้ อยละ
สรุ ประดับคุณภาพรายสถานศึกษา





ระดับคุณภาพ 1
ระดับคุณภาพ 2
ระดับคุณภาพ 3
ระดับคุณภาพ 4
ระดับคุณภาพ 5
25
ตัวบ่ งชี้ที่ 3 ครู มีการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
คาอธิบาย IEP หมายถึง แผนซึ่งกาหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่
สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นพิเศษของคนพิการ ตลอดจน
กาหนดเทคโนโลยี สิ่ งอานวยความสะดวก สื่ อ บริการและความ
ช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา
ครู ที่สอนนักเรียนเรียนร่ วมมีส่วนร่ วมในกระบวนการจัดทาแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง
หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ระดับ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2552 โดยวิเคราะห์ ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล
กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ น
พิเศษของผู้เรียน กาหนดเทคโนโลยี สิ่ งอานวยความสะดวก สื่ อ
บริการและความช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษาเฉพาะบุคคล
26
ตลอดจนนาแผนสู่ การปฏิบัติ ประเมินและนาผลการประเมินเสนอต่ อ
คณะกรรมการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลเพือ่ พิจารณา
ประเมิน ทบทวน และปรับแผนพร้ อมจัดทางานรายงานผลปี ละ 2 ครั้ง
ประเด็นการพิจารณา
1. ครู มส
ี ่ วนร่ วมในการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
2. IEP มีองค์ ประกอบ ตามที่กาหนดในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
3. กระบวนการจัดทา IEP ดาเนินงานตามที่กาหนดในประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ
4. มีการประเมิน ทบทวน และปรับแผนพร้ อมจัดทางานรายงานผลปี ละ
2 ครั้ง
27
ระดับคุณภาพรายบุคคล
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1
ครู มีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้ อ 1
และ ข้ อ 2
ครู ผ่านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 3
ครู ผ่านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 4
2
3
28
ระดับคุณภาพรายสถานศึกษา
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ครูต่ากว่ าร้ อยละ 50 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 50-59 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 60-69 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 70-79 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 80 ขึน้ ไป มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคลในระดับ 2 ขึน้ ไป
29
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการ
เครื่องมือ
การตรวจเอกสาร แบบบันทึกรายการ
หลักฐานร่ องรอย
หรือข้ อมูลเชิง
ประจักษ์
1.
2. การสั มภาษณ์
การสอบถาม
แบบบันทึกการสั มภาษณ์
แบบบันทึกการสอบถาม
มฐ 2 ตบช 3
แหล่ งข้ อมูล
-
ข้ อมูลผู้เรียนรายบุคคล
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
สมุดบันทึกการประชุม
คาสั่ งแต่ งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนการ
จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
- การบันทึกสรุปผลการประเมินแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
- ข้ อมูลการรับคูปองการศึกษา (ถ้ ามี)
- นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ผู้บริหาร
สถานศึกษา ผู้ที่เกีย่ วข้ อง
30
แบบประเมินการจัดทา IEP ของครูรายบุคคล
มฐ 2 ตบช 3
ชื่อ..............................................โรงเรียน...................................สั งกัด
................................................
ผลการประเมิน
เกณฑ์ การ
ที่
รายการการพิจารณา
ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ประเมิน
1 ครูมีส่วนร่ วมในการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
การผ่ านแต่ ละ
(IEP)
ประเด็นการ
2 IEP มีองค์ ประกอบ ตามที่กาหนดในประกาศ
พิจารณาต้ องมี
กระทรวงศึกษาธิการ
ผลการประเมิน
2.1 ข้ อมูลทัว่ ไป
ตามประเด็น
2.2 ข้ อมูลด้ านการแพทย์ หรือด้ านสุ ขภาพ
ย่อยร้ อยละ 80
2.3 ข้ อมูลด้ านการศึกษา
ขึน้ ไป
2.4 การกาหนดแนวทางการศึกษาและการวางแผนการจัดการศึกษา
พิเศษข้ อมูลทีจ่ าเป็ นทัว่ ไป
2.5 ความต้ องการด้ านสิ่งอานวยความสะดวก เทคโนโลยีสิ่งอานวย
ความสะดวก สื่อ บริการ ความช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา
2.6 คณะกรรมการจัดทาแผน
2.7 ความเห็นของบิดา มารดา ผู้ปกครองหรือผู้เรียน
2.8 ข้ อมูลอืน่ ๆทีจ่ าเป็ น
31
มฐ 2 ตบช 3
ที่
ผลการประเมิน
รายการการพิจารณา
ปฏิบัติ
เกณฑ์ การ
ไม่ ปฏิบัติ ประเมิน
3 กระบวนการจัดทา IEP ดาเนินงานตามที่กาหนดในประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ
3.1 ประเมินความสามารถของผู้เรียน
3.2 กาหนดเป้ าหมายระยะยาว
3.3 ประเมินความต้ องการจาเป็ นของผู้เรียน
3.4 กาหนดกระบวนการเรียนรู้
3.5 กาหนดรูปแบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการเรียนรู้
3.6 ได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการจัดทาแผน
และความยินยอมจากผู้ปกครอง
4 มีการประเมิน ทบทวน และปรับแผนพร้ อมจัดทางานรายงานผล
ปี ละ 2 ครั้ง
รวม
สรุปผลการประเมินรายบุคคล
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
ร้ อยละ
32
แบบสรุ ปการจัดทา IEP ของครู รายสถานศึกษา
โรงเรียน...........................................................สั งกัด
..................................................................
ที่
รายการ
1
ครู มีส่วนร่ วมในการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
2
IEP มีองค์ ประกอบ ตามที่กาหนดในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
3
กระบวนการจัดทา IEP ดาเนินงานตามที่กาหนดในประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ
มี ก ารประเมิ น ทบทวน และปรั บ แผนพร้ อมจั ด ท างานรายงานผล
ปี ละ 2 ครั้ง
รวม
4
มฐ 2 ตบช 3
ระดับคุณภาพ(จานวนคน)
1
2
3
ร้ อยละ
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
 ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 5
33
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 ครู จดั ทาแผนการสอนเฉพาะบุคคล (Individual
Implementation Plan: IIP) ที่สอดคล้ องกับแผนการ
จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
คาอธิบาย IIP หมายถึง แผนการสอนทีจ่ ดั ขึน้ เป็ นเฉพาะบุคคลสาหรับ
ผู้เรียนเพือ่ ให้ ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ และเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ ใน IEP
ประกอบด้ วย 1) ชื่อผู้เรียน 2) กลุ่มสาระการเรียนรู้ 3) จานวนคาบ 4)
ครั้งที่หรือวันเริ่มสอน 5) จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม 6) เนือ้ หา 7)
กระบวนการจัดการเรียนรู้ 8) สื่ อการจัดการเรียนรู้ 9) สิ่ งเสริมแรงทีใ่ ช้ 10)
การประเมินผล 11) การบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ /ข้ อเสนอแนะ
12) ความคิดเห็น/ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษา หรือผู้ทไี่ ด้ รับมอบ
มอบหมาย
34
ครู ทสี่ อนนักเรียนเรียนร่ วมมีการจัดทาแผนการสอนเฉพาะบุคคล
(IIP) สาหรับผู้เรียนเรียนร่ วมเป็ นรายชั่วโมงหรือรายสั ปดาห์
โดยนาเป้าหมายระยะยาวและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมใน
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล มาวิเคราะห์ เพือ่ กาหนด
จุดประสงค์ ย่อย ๆ ทีต่ ้ องการพัฒนาให้ ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ เชิง
พฤติกรรมและเป้าหมายระยะยาวทีร่ ะบุไว้ ใน IEP กาหนด
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่ อและอุปกรณ์ แหล่ งเรียนรู้
สิ่ ง
เสริมแรง วิธีการ/เครื่องมือในการวัดและประเมินผู้เรียน ด้ วย
วิธีการที่หลากหลาย
35
ประเด็นการพิจารณา
1. มีแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)
2. มีองค์ ประกอบตามทีก่ าหนด
3. มีการกาหนดจุดประสงค์ ย่อย ๆ ทีต่ ้ องการพัฒนาให้ ผ้เู รียนบรรลุ
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมและเป้าหมายระยะยาวทีร่ ะบุไว้ใน
IEP
4. มีการกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน สื่ อและอุปกรณ์ แหล่ ง
เรียนรู้ สิ่ งเสริมแรง และวิธีการ/เครื่องมือในการวัดและประเมิน
ผู้เรียนด้ วยวิธีการทีห่ ลากหลาย
36
ระดับคุณภาพรายบุคคล
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1 ครู มีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณาในข้ อ 1
และหรือ ข้ อ 2
2
ครู ผ่านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณา ข้ อ 3
3
ครู ผ่านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณา ข้ อ 4
37
ระดับคุณภาพรายสถานศึกษา
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ครู ตา่ กว่ าร้ อยละ 50 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครู ร้อยละ 50-59 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครู ร้อยละ 60-69 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครู ร้อยละ 70-79 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครู ร้อยละ 80 ขึน้ ไป มีผลการประเมินระดับ
รายบุคคลในระดับ 2 ขึน้ ไป
38
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการ
เครื่องมือ
1. การตรวจเอกสาร แบบบันทึกรายการ
หลักฐาน
ร่ องรอย หรือข้ อมูล
เชิงประจักษ์
2. การสั มภาษณ์
การสอบถาม
แบบบันทึกการ
สั มภาษณ์
แบบบันทึกการ
สอบถาม
มฐ 2 ตบช 4
แหล่ งข้ อมูล
- ข้ อมูลผู้เรียนรายบุคคล
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IIP)
- ผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียน
- สมุดบันทึกการประชุ ม
- คาสั่ งแต่ งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
- การบันทึกสรุ ปผลการประเมินแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคล (IEP)
- ข้ อมูลการรับคูปองการศึกษา (ถ้ ามี)
- นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ที่
เกีย่ วข้ อง
39
แบบประเมินการจัดทาแผนเฉพาะบุคคล (IIP)
มฐ 2 ตบช 4
ทีส่ อดคล้ องกับแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ของครู รายบุคคล
ชื่อ..............................................โรงเรียน...................................สั งกัด
................................................
ความสอดคล้ องกับ
แผนการจัดการศึกษา เกณฑ์ การ
ที่
ประเด็นการตรวจสอบ
เฉพาะบุคคล (IEP) ประเมิน
1 มีแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)
2 มีองค์ ประกอบตามที่กาหนด
1) ชื่อผู้เรียน
2) กลุ่มสาระการเรียนรู้
3) จานวนคาบ
4) ครั้งที่หรือวันเริ่มสอน
5) จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
6) เนือ้ หา
7) กระบวนการจัดการเรียนรู้
8) สื่ อการจัดการเรียนรู้
9) สิ่ งเสริมแรงที่ใช้
10) การประเมินผล
11) การบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ข้ อเสนอแนะ
สอดคล้อง ไม่ สอดคล้อง
การผ่ าน
แต่ ละประเด็น
การพิจารณา
ต้ องมีผลการ
ประเมินตาม
ประเด็นย่ อย
ร้ อยละ 80 ขึน้
ไป
40
มฐ 2 ตบช 4
ความสอดคล้ องกับแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
สอดคล้ อง
ไม่ สอดคล้ อง
ที่
ประเด็นการตรวจสอบ
3
มีการกาหนดจุดประสงค์ ย่อยๆ ที่ต้องการพัฒนา
ให้ ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
และเป้ าหมายระยะยาวที่ระบุไว้ ใน IEP
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
4.1 มีการกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน
4.2 สื่ อและอุปกรณ์ แหล่ งเรียนรู้
4.3 สิ่ งเสริมแรง
4.4 วิธีการ/เครื่องมือในการวัดและประเมิน
ผู้เรียนด้ วยวิธีการที่หลากหลาย
รวม
4
เกณฑ์ การ
ประเมิน
ร้ อยละ
สรุปผลการประเมินรายบุคคล
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
41
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 ครู จัดหา ผลิตและใช้ เทคโนโลยี สิ่ งอานวยความ
สะดวก สื่ อ บริการ และความช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา ใน
การพัฒนาผู้เรียนตามความต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา
คาอธิบาย ครู ทสี่ อนนักเรียนเรียนร่ วมมีการจัดหาเทคโนโลยี สิ่ ง
อานวยความสะดวก สื่ อ บริการ และความช่ วยเหลืออืน่ ใดทาง
การศึกษา มีการประยุกต์ ใช้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
พัฒนาผู้เรียนให้ สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นพิเศษของผู้เรียน
เฉพาะบุคคล มีการพัฒนานวัตกรรมเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน
42
ประเด็นการพิจารณา
1. มีการจัดหาและหรือผลิต เทคโนโลยี สิ่ งอานวยความ
สะดวก สื่ อ บริการ และความช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา
2. มีการใช้ /ประยุกต์ ใช้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
พัฒนาผู้เรียนให้ สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นพิเศษของ
ผู้เรียนเฉพาะบุคคล
3. มีการพัฒนานวัตกรรมเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน และ
เผยแพร่ ขยายผลเป็ นต้ นแบบให้ ผู้อนื่ นาไปใช้ ในการพัฒนา
ผู้เรียน
43
ระดับคุณภาพรายบุคคล
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1
ครู มีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้ อ 1
2
ครู ผ่านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็น การ
พิจารณา ข้ อ 2
3
ครู ผ่านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็น การ
พิจารณา ข้ อ 3
44
ระดับคุณภาพรายสถานศึกษา
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1
ครูต่ากว่ าร้ อยละ 50 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 50-59 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 60-69 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 70-79 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 80 ขึน้ ไป มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคลในระดับ 2 ขึน้ ไป
2
3
4
5
45
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการ
เครื่องมือ
1. การตรวจ
แบบบันทึกรายการ
เอกสาร หลักฐาน
ร่ องรอย หรือ
ข้ อมูลเชิง
ประจักษ์
2. การสั มภาษณ์ แบบบันทึกการสั มภาษณ์
การสอบถาม
แบบบันทึกการสอบถาม
มฐ 2 ตบช 5
แหล่ งข้ อมูล
- ทะเบียนการจัดหา/ผลิต สิ่ งอานวยความ
สะดวก สื่ อ เทคโนโลยี ฯ
- บันทึกผลการใช้ สิ่ งอานวยความสะดวก
สื่ อ เทคโนโลยี
- ข้ อมูลผู้เรียนรายบุคคล
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP)ฯ
- คาสั่ งแต่ งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนการ
จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
- การบันทึกสรุปผลการประเมินแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
- ข้ อมูลการรับคูปองการศึกษา (ถ้ ามี)
- นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ผู้บริหาร
46
สถานศึกษา ผู้ที่เกีย่ วข้ อง
แบบประเมินการจัดหา/ผลิตและใช้ เทคโนโลยีฯ รายบุคคล
ที่
ประเด็นการพิจารณา
1
มีการจัดหาและหรือผลิต
1.1 เทคโนโลยี
1.2 สิ่งอานวยความสะดวก
1.3 สื่อ
1.4 บริการและความช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา
2
มีการใช้ /ประยุกต์ ใช้ ในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนพัฒนาผู้เรียนให้ สอดคล้องกับความต้ องการจาเป็ น
พิเศษของผู้เรียนเฉพาะบุคคล
มี ก ารพั ฒ นานวั ต กรรมเพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนและ
เผยแพร่ ขยายผลเป็ นต้ น แบบให้ ผู้อื่นนาไปใช้ ใ นการพัฒ นา
ผู้เรียน
สรุปผลการประเมินรายบุคคล
3
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
มฐ 2 ตบช 5
ผลการพิจารณา
เกณฑ์ การประเมิน
ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบตั ิ
การผ่านแต่ ละ
ประเด็นการ
พิจารณาต้ องมีผล
การประเมินตาม
ประเด็นย่ อย
ร้ อยละ 80 ขึน้
ไป
47
แบบสรุ ปผลการจัดหา/ผลิตและใช้ เทคโนโลยีฯของครู รายสถานศึกษา
โรงเรียน.............................................................สั งกัด
..........................................................
ที่
ประเด็นการพิจารณา
มฐ 2 ตบช 5
ระดับคุณภาพ
(จานวนคน)
1
2
3
1 มีการจัดหาและหรือผลิต เทคโนโลยี สิ่ งอานวยความสะดวก สื่ อ บริการ และความ
ช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา
2 มีการใช้ /ประยุกต์ ใช้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนพัฒนาผู้เรียน
ให้ สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นพิเศษของผู้เรียนเฉพาะบุคคล
3 มีการพัฒนานวัตกรรมเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน และเผยแพร่ ขยายผล
เป็ นต้ นแบบให้ ผู้อนื่ นาไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียน
รวม
ร้ อยละ
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
 ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 5
48
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ครู จัดการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาผู้เรียนเฉพาะบุคคล
อย่ างเหมาะสม
คาอธิบาย ครู ทสี่ อนนักเรียนเรียนร่ วมมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วย
วิธีการทีห่ ลากหลาย มุ่งให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อย่ างแท้ จริง ใช้ สื่อ
อุปกรณ์ ทเี่ หมาะสม พัฒนาผู้เรียนรายบุคคลครบตามจุดประสงค์ ที่
กาหนดไว้ ในแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) และมีการบันทึก
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ นาไปปรับปรุงแผนการจัดการ
เรียนการสอนในครั้งต่ อไป
49
ประเด็นการพิจารณา
1. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยวิธีการทีห่ ลากหลาย เลือกใช้ สื่อ
อุปกรณ์ ทเี่ หมาะสม
2. มีการจัดการเรียนรู้ ครบตามจุดประสงค์ ทกี่ าหนดไว้ ใน IIP
3. มีการบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ นาไปพัฒนา
ผู้เรียน และหรือปรับปรุงแผนการจัดการเรียนการสอน
50
ระดับคุณภาพรายบุคคล
ระดับ
1
2
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ครู มีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจาณา ข้ อ 1
ครู ผ่านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 2
3
ครู ผ่านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 3
51
ระดับคุณภาพรายสถานศึกษา
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1 ครูต่ากว่ าร้ อยละ 50 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
2 ครูร้อยละ 50-59 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
3 ครูร้อยละ 60-69 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
4 ครูร้อยละ 70-79 มีผลการประเมินระดับคุณภาพรายบุคคล
ในระดับ 2 ขึน้ ไป
5 ครูร้อยละ 80 ขึน้ ไป มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคลในระดับ 2 ขึน้ ไป
52
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการ
เครื่องมือ
1. การตรวจเอกสาร แบบบันทึกรายการ
หลักฐานร่ องรอย
หรือข้ อมูลเชิง
ประจักษ์
2. การสั มภาษณ์
แบบบันทึก
การสอบถาม
การสั มภาษณ์
แบบบันทึก
การสอบถาม
3. การสั งเกต
พฤติกรรมการจัด
กิจกรรมการเรียน
การสอน
มฐ 2 ตบช 6
แหล่ งข้ อมูล
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IIP)
- นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้ที่เกีย่ วข้ อง
-
ห้ องเรียน
ครู
ผู้เรียน
แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)
สื่ อ อุปกรณ์ และวิธีการวัดผลที่หลากหลาย
53
แบบประเมินการจัดการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาผู้เรียนเฉพาะบุคคลของครูรายบุคคล
ชื่อ.........................................................โรงเรียน..............................ง...สั งกัด.....
ที่
ประเด็นการพิจารณา
ผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ ผ่าน
ความคิดเห็น
เพิม่ เติม
1 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่
หลากหลาย เลือกใช้ สื่อ อุปกรณ์ ทเี่ หมาะสม
2 การจัดการเรียนรู้ ครบตามจุดประสงค์ ที่
กาหนดไว้ ใน IIP
3 มีการบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เพือ่ นาไปพัฒนาผู้เรียน และหรือปรับปรุ ง
แผนการจัดการเรียนการสอน
สรุปผลการประเมินรายบุคคล
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
54
แบบสรุปผลการการจัดการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาผู้เรียนเฉพาะบุคคลของครูรายสถานศึกษา
โรงเรียน................................................................สั งกัด
.....................................................................
ที่
ประเด็นการพิจารณา
ระดับคุณภาพ(จานวน
คน)
1
2 3
1 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยวิธีการทีห่ ลากหลาย เลือกใช้ สื่อ อุปกรณ์
ทีเ่ หมาะสม
2 มีการจัดการเรียนรู้ครบตามจุดประสงค์ ทกี่ าหนดไว้ ใน IIP
3 มีการบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพือ่ นาไปพัฒนาผู้เรียน และหรือ
ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนการสอน
รวม
ร้ อยละ
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1  ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 2  ระดับคุณภาพ 5
 ระดับคุณภาพ 3
55
ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ครู มีการวัดและประเมินผลทีห่ ลากหลายสอดคล้ องกับ
ผู้เรียนเฉพาะบุคคล
คาอธิบาย ครู ที่สอนนักเรียนเรียนร่ วมมีการวัดและประเมินผล โดยใช้
เครื่องมือ/วิธีการ ในการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ประเมินและบันทึกผลที่
ได้ จากการวัดและประเมิน ทั้งก่ อนเรียน ระหว่ างเรียนและหลังเรียน
ตลอดจนการช่ วยเหลือและอานวยความสะดวกด้ านการวัดและ
ประเมินผล (Assessment Accommodations) ที่
สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นของผู้เรียนรายบุคคล เช่ น ปรับ
เครื่องมือ วิธีการสอบ เวลา และการบริหารจัดการ รวมทั้งมีการให้ ข้อมูล
ย้ อนกลับเกีย่ วกับผลการเรียน ความก้ าวหน้ า จุดเด่ น จุดที่ต้องปรับปรุง
เพือ่ วางแผนพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้ แก่ ผู้เรียนเฉพาะบุคคล
และใช้ เป็ นข้ อมูลในการตัดสิ นผลการเรียน
56
ประเด็นการพิจารณา
1. ใช้ เครื่องมือ/วิธีการวัดและประเมินผล ที่หลากหลาย ทั้งก่ อนเรียน
ระหว่ างเรียนและหลังเรียน
2. มีการช่ วยเหลือและอานวยความสะดวกด้ านการวัดและประเมินผล
(Assessment Accommodations) และ
สอดคล้ องกับผู้เรียนเฉพาะบุคคลตามทีก่ าหนดไว้ ใน IIP
3. มีการให้ ข้อมูลย้ อนกลับเกีย่ วกับผลการเรียน ความก้ าวหน้ า จุดเด่ น
จุดทีต่ ้ องปรับปรุ ง และใช้ เป็ นข้ อมูลในการตัดสิ นผลการเรียน
4. ใช้ ผลการประเมินเพือ่ วางแผนพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ให้ แก่ ผู้เรียนเฉพาะบุคคล
57
ระดับคุณภาพรายบุคคล
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1
มีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณาข้ อ 1 และ ข้ อ 2
2
ครู ผ่านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณาข้ อ 3
3
ครู ผ่านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณาข้ อ 4
58
ระดับคุณภาพรายสถานศึกษา
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ครูต่ากว่ าร้ อยละ 50 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 50-59 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 60-69 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 70-79 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 80 ขึน้ ไป มีผลการประเมินระดับ
คุณภาพรายบุคคลในระดับ 2 ขึน้ ไป
59
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการ
เครื่องมือ
1. การตรวจ แบบบันทึกรายการ
เอกสาร
หลักฐาน
ร่ องรอย หรือ
ข้ อมูลเชิง
ประจักษ์
2. การ
สั มภาษณ์
การสอบถาม
แบบบันทึกการ
สั มภาษณ์
แบบบันทึกการ
สอบถาม
มฐ 2 ตบช 7
แหล่ งข้ อมูล
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP)
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IIP)
- ผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียน
- บันทึกหลังการสอน
- แบบบันทึกผลคะแนน
- เครื่องมือวัดและประเมินผล
- นักเรียน ครู ผู้ปกครอง
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
60
แบบประเมินการวัดและประเมินผลทีห่ ลากหลายสอดคล้ อง
กับผู้เรียนเฉพาะบุคคลของครู รายบุคคล
มฐ 2 ตบช 7
ชื่อ..............................................โรงเรียน...................................สั งกัด
................................................
ที่
ประเด็นการพิจารณา
1 ใช้ เครื่องมือ/วิธีการวัดและประเมินผล ทีห่ ลากหลาย ทั้งก่ อน
เรียน ระหว่ างเรียนและหลังเรียน
2 มีการช่ วยเหลือและอานวยความสะดวกด้ านการวัดและ
ประเมินผล (Assessment
Accommodations) และสอดคล้องกับผู้เรียนเฉพาะ
บุคคลตามทีก่ าหนดไว้ ใน IIP
3 มีการให้ ข้อมูลย้ อนกลับเกีย่ วกับ
ผลการเรียน ความก้าวหน้ า จุดเด่ น
จุดทีต่ ้ องปรับปรุง และใช้ เป็ นข้ อมูล
ในการตัดสินผลการเรียน
4 ใช้ ผลการประเมินเพือ่ วางแผนพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ให้ แก่ผ้เู รียนเฉพาะบุคคล
ผลการพิจารณา
ปฏิบัติ
ไม่ ปฏิบัติ
เกณฑ์ การ
ประเมิน
สรุ ปผลการประเมินรายบุคคล
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
61
แบบประเมินการวัดและประเมินผลทีห่ ลากหลายสอดคล้ อง
กับผู้เรียนเฉพาะบุคคลของครู รายสถานศึกษา
มฐ 2 ตบช 7
โรงเรียน..........................................................................สั งกัด.............
ประเด็นการพิจารณา
ครู มกี ารวัดและประเมินผลที่
หลากหลายสอดคล้ องกับผู้เรียน
เฉพาะบุคคล
ระดับคุณภาพ
(จานวนคน)
1
2
3
หมายเหตุ
รวม
ร้ อยละ
สรุ ประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
 ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 5
62
ตัวบ่ งชี้ที่ 8 ครูใช้ กระบวนการวิจยั เพือ่ พัฒนาผู้เรียนเฉพาะ
บุคคล
คาอธิบาย ครู ทสี่ อนนักเรียนเรียนร่ วมมีการนาข้ อมูลทีไ่ ด้ จากการ
ประเมินผู้เรียนเฉพาะบุคคล ไปใช้ ในการพัฒนาการเรียนการสอน
อย่ างเป็ นระบบ ตั้งแต่ การหาสาเหตุของปัญหา การกาหนดแนวทาง
ในการแก้ ปัญหา การทดลองใช้ สื่อ นวัตกรรมในการพัฒนาและการ
แก้ ปัญหาหรือการพัฒนา รวมทั้งการสรุปและรายงานการวิจยั อย่ าง
ง่ ายหรือเต็มรู ปแบบ
63
ประเด็นการพิจารณา
1. ครู นาผลการประเมินผู้เรียนเฉพาะบุคคลมาวิเคราะห์ สภาพ
ปัญหาและจุดทีต่ ้ องการพัฒนา
2. ครู มีการพัฒนาและใช้ สื่อ นวัตกรรมในการพัฒนาผู้เรียน
3. ครู จดั ทารายงานผลการพัฒนาผู้เรียน
4. ใช้ ผลการวิจยั เพือ่ ปรับปรุ งการเรียนการสอนและเผยแพร่
64
ระดับคุณภาพรายบุคคล
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1 มีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณาข้ อ 1 และ
ข้ อ 2
2 ครู ผ่านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณา
ข้ อ 3
3 ครู ผ่านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณา
ข้ อ 4
65
ระดับคุณภาพรายสถานศึกษา
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ครูต่ากว่ าร้ อยละ 50 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 50-59 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 60-69 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 70-79 มีผลการประเมินระดับคุณภาพ
รายบุคคล ในระดับ 2 ขึน้ ไป
ครูร้อยละ 80 ขึน้ ไป มีผลการประเมินระดับ
คุณภาพรายบุคคลในระดับ 2 ขึน้ ไป
66
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการ
1. การตรวจ
เอกสาร
หลักฐาน
ร่ องรอย หรือ
ข้ อมูลเชิง
ประจักษ์
เครื่องมือ
แบบบันทึกรายการ
2. การสั มภาษณ์ แบบบันทึกการ
การสอบถาม
สั มภาษณ์
แบบบันทึกการ
สอบถาม
มฐ 2 ตบช 8
แหล่ งข้ อมูล
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP)
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IIP)
- ผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียน
- บันทึกหลังการสอน
- แบบบันทึกผลคะแนน
- เครื่องมือวัดและประเมินผล
- รายงานการวิจัย
- นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ผู้บริหาร
สถานศึกษา ผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
67
แบบประเมินการใช้ กระบวนการวิจัยฯ เพือ่ พัฒนา
ผู้เรียนเฉพาะบุคคลของครู รายบุคคล
มฐ 2 ตบช 8
ชื่อ..............................................โรงเรียน...................................สั งกัด
................................................
ผลการพิจารณา
เกณฑ์ การ
ที่
ประเด็นการพิจารณา
ปฏิบตั ิ
ไม่
ประเมิน
ปฏิบตั ิ
1 ครูนาผลการประเมินผู้เรียน
เฉพาะบุคคลมาวิเคราะห์
สภาพปัญหาและจุดทีต่ ้ องการพัฒนา
2 ครูมกี ารพัฒนาและใช้ สื่อ นวัตกรรมในการพัฒนาผู้เรียน
3 ครูจัดทารายงานผลการพัฒนาผู้เรียน
4 ใช้ ผลการวิจัยเพือ่ ปรับปรุงการเรียนการสอนและเผยแพร่
สรุปผลการประเมินรายบุคคล
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
68
แบบประเมินการใช้ กระบวนการวิจัย
มฐ 2 ตบช 8
เพือ่ พัฒนาผู้เรียนเฉพาะบุคคลของครู รายสถานศึกษา
โรงเรียน.................................................................สั งกัด......................
ประเด็นการพิจารณา
ครูใช้ กระบวนการวิจัยเพือ่ พัฒนาผู้เรียน
เฉพาะบุคคล
รวม
ร้ อยละ
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
 ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 5
1
ระดับคุณภาพ
(จานวนคน)
2
3
หมายเหตุ
69
ด้ านที่ 3 มาตรฐานด้ านการบริหารจัดการเรียนร่ วม
มาตรฐานที่ 3 ผู้บริหารบริหารจัดการเรียนร่ วมอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
และเกิดประสิ ทธิผล
คาอธิบาย ผู้บริหารมีความรู้ ความเข้ าใจ เจตคติทดี่ ี และมีวสิ ั ยทัศน์
ในการบริหารจัดการเรียนร่ วมตามโครงสร้ างซีท (SEAT
Framework) โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน (SBM) ให้ บรรลุ
เป้าหมายตามทีก่ าหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการ มีการจัด
กระบวนการเปลีย่ นผ่ าน (Transition) และยกย่ องเชิดชู
เกียรติบุคคล องค์ กรทีม่ ีส่วนร่ วมด้ านการจัดการเรียนร่ วม
70
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 ผู้บริหารมีความรู้ ความเข้ าใจ เจตคติทดี่ ี และมีวสิ ั ยทัศน์ ในการ
บริหารจัดการเรียนร่ วม
คาอธิบาย ผู้บริหารมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับหลักการและแนวคิดในการ
จัดการเรียนร่ วม การบริหารหลักสู ตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผู้บริหารมีเจตคติทดี่ ตี ่ อการจัดการเรียนร่ วม โดยมีการส่ งเสริม สนับสนุน ให้
ผู้เรียนทีม่ ีความต้ องการจาเป็ นพิเศษทุกคนได้ รับโอกาสทางการศึกษาอย่ าง
เสมอภาคและเท่ าเทียม
ผู้บริหารมีวสิ ั ยทัศน์ ในการกาหนดทิศทางของการพัฒนาการจัดการเรียนร่ วม
ของสถานศึกษาในอนาคต ทีส่ อดคล้ องกับบริบทของสถานศึกษาและชุ มชน
บนพืน้ ฐานของการวิเคราะห์ สั งเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศต่ างๆ เพือ่ นามาใช้
ในการวางแผน มีภาวะผู้นาในการริเริ่ม นาเทคนิควิธีการใหม่ ๆ มาใช้ ในการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทีม่ ีความต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา
71
ประเด็นการพิจารณา
1. มีความรู้ ความเข้ าใจ ในการบริหารจัดการเรียนร่ วม
2. มีเจตคติทดี่ ตี ่ อการจัดการเรียนร่ วม
3. มีการกาหนดทิศทางของการพัฒนาการจัดการเรียนร่ วม
4. มีการวางแผนเพือ่ บรรลุตามทิศทางทีก่ าหนดไว้ โดยการ
วิเคราะห์ สั งเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
5. มีภาวะผู้นาในการริเริ่มนาเทคนิควิธีการใหม่ ๆ มาใช้ ในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน
72
ระดับคุณภาพ
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1
2
ผู้บริหารมีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้ อ 1
ผู้บริหารผ่ านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณา ข้ อ 2
3
ผู้บริหารผ่ านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณา ข้ อ 3
4
ผู้บริหารผ่ านระดับ 3 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 4
ผู้บริหารผ่ านระดับ 4 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 5
5
73
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่ องรอย หรือ
ข้ อมูลเชิงประจักษ์
2. การสั มภาษณ์ การสอบถาม
3. การสั งเกต
มฐ 3 ตบช 1
แหล่ งข้ อมูล
- แผนปฏิบตั ิการ/โครงการ/งาน/กิจกรรม
- บันทึกประชุ ม สมุดนิเทศ สมุดเยีย่ มโรงเรียน
คาสั่ ง
- รายงานการโครงการ/งาน/กิจกรรม
- รายงานประจาปี
- รูปภาพ
- แฟ้ มสะสมผลงานของครู /ผู้บริหาร
- แฟ้มประกาศนียบัตร/รางวัลต่ างๆ
ฯลฯ
ผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และผู้เกีย่ วข้ อง
พฤติกรรมการของผู้บริหาร
74
แบบประเมินด้ านความรู้ ความเข้ าใจ เจตคติทดี่ ี และมีวสิ ั ยทัศน์
ในการบริหารจัดการเรียนร่ วมของผู้บริหารสถานศึกษา
มฐ 3 ตบช 1
โรงเรียน........................................................สั งกัด..................................
ที่
ประเด็นการพิจารณา
ผลการปฏิบัติ
มี
ไม่ มี
เอกสาร
หลักฐาน
ร่ องรอย
1
2
3
4
มีความรู้ ความเข้ าใจ ในการบริหารจัดการเรียนร่ วม
มีเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนร่ วม
มีการกาหนดทิศทางของการพัฒนาการจัดการเรียนร่ วม
มีการวางแผนเพื่อบรรลุตามทิศทางที่กาหนดไว้ โดยการ
วิเคราะห์ สั งเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศต่ างๆ ที่เกีย่ วข้ อง
5 มีภาวะผู้นาในการริเริ่มนาเทคนิควิธีการใหม่ ๆ มาใช้ ในการ
ความคิ
เห็นเพิ
เติม ้ เรียน
พัฒดนาคุ
ณม่ภาพผู
...............................................................................................................................
...............................................................
...............................................................................................................................
...............................................................
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1  ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 2  ระดับคุณภาพ 5
75
ตัวบ่ งชี้ที่ 2 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการเรียนร่ วมตามโครงสร้ างซีท
(SEAT Framework)
คาอธิบาย ผู้บริหารมีการบริหารจัดการเรียนร่ วมตามโครงสร้ างซีท
(SEAT Framework) โดยบริหารจัดการด้ านผู้เรียน
(Student : S) ด้ านสภาพแวดล้อม (Environment : E)
ด้ านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (Activity : A) และด้ าน
เครื่องมือ (Tools :T)
76
ประเด็นการพิจารณา
1. มีการเตรียมความพร้ อมผู้เรียนทีม่ ีความต้ องการจาเป็ นพิเศษ
ทางการศึกษา และผู้เรียนทัว่ ไป (S)
2. มีการจัดสภาพแวดล้ อมทางกายภาพและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ อง (E)
3. มีการบริหารหลักสู ตร การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ
บุคคล (IEP) การตรวจสอบทางการศึกษา เทคนิคการสอน การ
รายงานความก้ าวหน้ าของนักเรียน การจัดกิจกรรมการสอน
นอกห้ องเรียนและชุมชน การประกันคุณภาพ การรับนักเรียน
พิการหรือที่มีความบกพร่ องเข้ าเรียน การจัดตารางเรียนการ
ประสานความร่ วมมือ การนิเทศติดตามประเมินผล และ
ปรับปรุ งงาน (A)
77
4. มีการกาหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ งบประมาณ ระบบ
การบริหารจัดการกฎกระทรวงเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก
(AT) สิ่ งอานวยความสะดวก สื่ อ บริการ ตารา ความช่ วยเหลือ
อืน่ ใดทางการศึกษา ครู การศึกษาพิเศษและ นักวิชาชีพอืน่ (T)
5. มีผลการดาเนินงานตามโครงสร้ างซีทเป็ นที่ประจักษ์ ระดับเขต
พืน้ ที่การศึกษาขึน้ ไป และหรือ มีการใช้ กระบวนการบริ หารอืน่ ๆ
ในการพัฒนาการจัดการเรียนร่ วม
78
ระดับคุณภาพ
ระดับ
1
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ผู้บริหารมีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้ อ 1-4
2
ผู้บริหารผ่ านระดับ 1 และมีรายงาน ผลการดาเนินงาน
3
ผู้บริหารผ่ านระดับ 2 และมีการนาเสนอผลงานทางวิชาการ
ด้ านการจัดการเรียนร่ วม
4
ผู้บริหารผ่ านระดับ 3 และมีผลงานดีเด่ น ระดับเขตพืน้ ที่
การศึกษาหรือจังหวัด
5
ผู้บริหารผ่ านระดับ 4 และมีผลงานดีเด่ น ระดับภาคหรือ
ระดับชาติ
79
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
มฐ 3 ตบช 2
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. การตรวจเอกสาร หลักฐาน
ร่ องรอย หรือข้ อมูล
เชิงประจักษ์
แหล่ งข้ อมูล
- แผนปฏิบัตกิ าร/โครงการ/งาน/กิจกรรม
- บันทึกประชุ ม สมุดนิเทศ สมุดเยีย่ มโรงเรียน
คาสั่ ง
- รายงานการโครงการ/งาน/กิจกรรม
- รายงานประจาปี
- รู ปภาพ
- แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียน/ครู /ผู้บริหาร
- แฟ้มประกาศนียบัตร/รางวัลต่ างๆ
ฯลฯ
2. การสั มภาษณ์ การสอบถาม นักเรียน ครู ผู้บริหาร และผู้เกีย่ วข้ อง
3. การสั งเกต
พฤติกรรมการสอนของนักเรียน ครู ผู้บริหาร
80
แบบประเมินด้ านการบริหารจัดการเรียนร่ วมตามโครงสร้ างซีท
(SEAT Framework) ของผู้บริหารสถานศึกษา
ที่
1
2
3
มฐ 3 ตบช 2
โรงเรียน ....................................................สั งกัด
........................................................
ผลการปฏิบัติ
เอกสารหลักฐาน
ประเด็นการพิจารณา
ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ
ร่ องรอย
มีการเตรียมความพร้ อมผู้เรียนที่มีความต้ องการจาเป็ น
พิเศษทางการศึกษา และผู้เรียนทั่วไป (S)
มีการจัดสภาพแวดล้ อมทางกายภาพและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง
(E)
มีการบริหารหลักสู ตร การจัดทาแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคล (IEP) การตรวจสอบทางการศึกษา เทคนิค
การสอน การรายงานความก้ าวหน้ าของนักเรียน การจัด
กิจกรรมการสอนนอกห้ องเรียนและชุมชน การประกัน
คุณภาพ การรับนักเรียนพิการหรือที่มีความบกพร่ องเข้ า
เรียน การจัดตารางเรียน การประสานความร่ วมมือ การ
นิเทศติดตามประเมินผลและปรับปรุ งงาน (A)
81
มฐ 3 ตบช 2
ที่
ประเด็นการพิจารณา
4
5
มีการกาหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ งบประมาณระบบการ
บริหารจัดการกฎกระทรวงเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก
(AT) สิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ ตารา ความ
ช่ วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา ครูการศึกษาพิเศษและนักวิชาชีพ
อืน่ (T)
มีรายงานผลการดาเนินงานตามโครงสร้ างซีท (SEAT)
6
มีการนาเสนอผลงานทางวิชาการ
ผลการปฏิบัติ
ปฏิบัติ
ไม่ ปฏิบัติ
เอกสารหลักฐาน
ร่ องรอย
6.1 มีการนาเสนอผลงานทางวิชาการด้ านการเรียนร่ วม
6.2 มีการนาเสนอผลงานทางวิชาการด้ านการเรียนร่ วมและ
ได้ รับรางวัลดีเด่ นระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาหรือจังหวัด
6.3 มีการนาเสนอผลงานทางวิชาการด้ านการเรียนร่ วมและ
ดเห็ลนดีเเพิ
เติมบภาคหรือระดับชาติ
ได้ความคิ
รับรางวั
ด่ นม่ ระดั
.................................................................................................................................................
.............................................................................
.................................................................................................................................................
.............................................................................
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 5
82
ตัวบ่ งชี้ที่ 3 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการเรียนร่ วมโดยใช้ โรงเรียน
เป็ นฐาน (School-based management : SBM)
คาอธิบาย ผู้บริหารมีการบริหารจัดการเรียนร่ วม โดยใช้ หลักการ
บริหาร
1) หลักการกระจายอานาจ 2) หลักการมีส่วนร่ วม 3) หลักการคืน
อานาจจัดการศึกษาให้ ประชาชน 4) หลักการบริหารตนเอง
5) หลักการตรวจสอบและถ่ วงดุล
83
ประเด็นการพิจารณา
1. มีโครงสร้ างการบริหารจัดการเรียนร่ วม โดยมอบหมายงาน ความ
รับผิดชอบแก่ ผ้ ูเกีย่ วข้ อง และกาหนดบทบาทหน้ าทีข่ อง ผู้มีส่วน
ร่ วมอย่ างชัดเจน
2. ใช้ หลักการบริหารแบบมีส่วนร่ วม โดยเปิ ดโอกาสให้ ผู้เกีย่ วข้ องทุก
ฝ่ ายประกอบด้ วย ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา ชุมชน และหน่ วยงานอืน่ ได้ รับรู้ และให้ ความ
คิดเห็นและข้ อเสนอแนะ รวมทั้งเป็ นแบบอย่ าง ทีด่ ี สามารถให้
คาแนะนา ชี้แนะแก่ ผู้บริหารสถานศึกษาอืน่ ๆ ได้
84
3. มีระบบการบริหารจัดการเรียนร่ วมทีส่ ่ งผลต่ อการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนทีม่ ีความต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา ตาม
บริบทของสถานศึกษา
4.มีการกากับ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการเรียนร่ วม
ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
5. มีการนาผลการประเมินมาใช้ ในการปรับปรุง และพัฒนางาน
อย่ างต่ อเนื่อง ยัง่ ยืน
85
ระดับคุณภาพ
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ผู้บริหารมีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้ อ 1
ผู้บริหารผ่ านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 2
ผู้บริหารผ่ านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 3
ผู้บริหารผ่ านระดับ 3 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 4
ผู้บริหารผ่ านระดับ 4 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 5
86
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. การตรวจเอกสาร
หลักฐาน
ร่ องรอย หรือข้ อมูล
เชิงประจักษ์
2. การสั มภาษณ์
การสอบถาม
3. การสั งเกต
มฐ 3 ตบช 3
แหล่ งข้ อมูล
- แผนผังโครงสร้ างการบริหารจัดการเรียนร่ วม
- คาสั่ งแต่ งตั้งคณะกรรมการ
- สมุดนิเทศ สมุดตรวจเยีย่ ม ผลการประเมิน
- สรุปรายงานงาน/โครงการ
- รู ปภาพ ฯลฯ
นักเรียน ครู ผู้บริหาร และผู้เกีย่ วข้ อง
พฤติกรรมของครู ผู้บริหาร และคณะกรรมการ
87
แบบประเมินด้ านการบริหารจัดการเรียนร่ วมโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
(SBM) ของผู้บริ หารสถานศึกษา
มฐ 3 ตบช 3
โรงเรียน........................................................สั งกัด
.................................................
ที่
ประเด็นการพิจารณา
1 มี โ ครงสร้ างการบริ ห ารจั ด การเรี ย นร่ วม โดย
มอบหมายงานความรั บ ผิ ด ชอบแก่ ผู้ เกี่ ย วข้ อง
และกาหนดบทบาทหน้ าทีผ่ ู้มีส่วนร่ วมอย่ างชัดเจน
2 ใช้ หลักการบริหารแบบมีส่วนร่ วม โดยเปิ ดโอกาสให้
ผู้ เกี่ ย วข้ องทุ ก ฝ่ ายประกอบด้ วย ครู ผู้ เรี ยน
ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึ กษา ชุ มชน และ
หน่ วยงานอื่ น ได้ รั บ รู้ และให้ ความคิ ด เห็ น และ
ข้ อเสนอแนะ รวมทั้งเป็ นแบบอย่ างที่ดี สามารถให้
คาแนะนา ชี้แนะแก่ ผ้ ูบริหารสถานศึกษาอืน่ ๆ ได้
ผลการปฏิบัติ
ปฏิบตั ิ
ไม่ ปฏิบตั ิ
เอกสารหลักฐาน
ร่ องรอย
88
มฐ 3 ตบช 3
ที่
ประเด็นการพิจารณา
3 มีระบบการบริ หารจัดการเรี ยนร่ วมที่ส่ง ผลต่ อ
การพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นที่ มี ค วามต้ อ งการ
จ าเป็ นพิ เ ศษทางการศึ ก ษา ตามบริ บ ทของ
สถานศึกษา
4 มีการกากับ ติดตามและประเมินผลการบริ ห าร
การจั ด การเรี ย นร่ วมทั้ ง ภายในและภายนอก
สถานศึกษา
5 มีก ารน าผลการประเมิน มาใช้ ใ นการปรั บ ปรุ ง
และพั
ฒนางานอย่
ความคิ
ดเห็นเพิม่ างต่
เติมอเนื่อง ยัง่ ยืน
ผลการปฏิบัติ
ปฏิบตั ิ
ไม่ ปฏิบตั ิ
เอกสารหลักฐาน
ร่ องรอย
..........................................................................................................................
.................................................................
..........................................................................................................................
.................................................................
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 5
89
ตัวบ่ งชี้ที่ 4 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการเรียนร่ วมให้ บรรลุ
เป้าหมายตามทีก่ าหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการจัดการเรียนร่ วม
คาอธิบาย ผูบ้ ริ หารสามารถบริ หารจัดการเรี ยนร่ วมให้บรรลุ
เป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบตั ิการ โดยให้ผเู ้ กี่ยวข้อง
ทุกฝ่ ายมีส่วนร่ วมในการวางแผน กาหนดเป้ าหมาย ร่ วม
รับผิดชอบการดาเนินงานตามบทบาทหน้าที่ มีการนิเทศ ติดตาม
กากับ ประเมินผลการดาเนินงาน และรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
ตามแผนปฏิบตั ิการจัดการเรี ยนร่ วม
90
ประเด็นการพิจารณา
1. ผู้บริหารและผู้ที่เกีย่ วข้ องมีส่วนร่ วมในการวางแผน กาหนดเป้าหมายใน
แผนงาน/โครงการ
2. ผู้บริหารและผู้ที่เกีย่ วข้ องร่ วมรับผิดชอบดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ
3. ผู้บริหารและผู้ที่เกีย่ วข้ องมีการนิเทศ ติดตาม กากับ ประเมินผลการ
ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการจัดการเรี ยนร่ วม
4. ผู้บริหารและผู้ที่เกีย่ วข้ องนาผลการดาเนินงานมาปรับปรุ ง พัฒนาการ
จัดการเรียนร่ วม
5. สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน เผยแพร่ และประชาสั มพันธ์ ต่อ
สาธารณชน
91
ระดับคุณภาพ
ระดั
บ
1
2
3
คาอธิ บายระดับคุณภาพ
ผูบ้ ริ หารสามารถบริ หารจัดการเรี ยนร่ วมตามประเด็นการพิจารณา
ข้อ 1-5 และบรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ น้อยกว่าร้อยละ 50 ของ
จานวนโครงการ/กิจกรรม ที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบตั ิการจัดการเรี ยน
ร่ วม
ผูบ้ ริ หารมีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้อ 1-5 และ
บรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ ร้อยละ 50-59 ของจานวนโครงการ/
กิจกรรม ที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบตั ิการจัดการเรี ยนร่ วม
ผูบ้ ริ หารมีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้อ 1-5 และ
92
ระดั
บ
คาอธิ บายระดับคุณภาพ
4
ผูบ้ ริ หารมีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา
ข้อ 1-5 และบรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ ร้อยละ
70-79 ของจานวนโครงการ/กิจกรรม ที่กาหนดไว้
ในแผนปฏิบตั ิการจัดการเรี ยนร่ วม
ผูบ้ ริ หารมีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา
ข้อ 1-5 และบรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ ร้อยละ
80 ขึ้นไป ของจานวนโครงการ/กิจกรรม ที่กาหนด
5
93
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. การตรวจเอกสาร หลักฐาน
ร่ องรอย
การปฏิบตั ิงาน หรือข้ อมูลเชิง
ประจักษ์
2. การสอบถาม
การสั มภาษณ์
3. การสั งเกต
มฐ 3 ตบช 4
แหล่ งข้ อมูล
- แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
- แผนปฏิบตั ิการประจาปี โครงการ/กิจกรรม
- รายงานโครงการฯ
- รายงานประจาปี ของโรงเรียน
- รายงานการประเมินคุณภาพภายในโดยหน่ วยงานต้ นสั งกัด
- รายงานการประเมินคุณภาพโดยหน่ วยงานภายนอก
- ฯลฯ
ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา ผู้แทนชุ มชน และหน่ วยงานอืน่
พฤติกรรมผู้บริหาร
94
แบบประเมินด้ านการบริหารจัดการเรียนร่ วมให้ บรรลุเป้ าหมายตามที่
ที่
มฐ 3 ตบช 4
กาหนดไว้ ในแผนปฏิบัตกิ ารจัดการเรียนร่ วมของผู้บริหารสถานศึกษา
โรงเรียน ....................................................สั งกัด
..........................................
ผลการปฏิบัติ
เอกสารหลักฐาน
ประเด็นการพิจารณา
1 ผู้บริหารและผู้ทเี่ กีย่ วข้ องมีส่วนร่ วมในการ
วางแผน กาหนดเป้าหมายในแผนงาน/โครงการ
2 ผู้บริหารและผู้ทเี่ กีย่ วข้ องร่ วมรับผิดชอบ
ดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการ
3 ผู้บริหารและผู้ทเี่ กีย่ วข้ องมีการนิเทศ ติดตาม
กากับ ประเมินผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติ
การจัดการเรียนร่ วม
4 ผู้บริหารและผู้ทเี่ กีย่ วข้ องนาผลการดาเนินงาน
มาปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนร่ วม
5 สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน เผยแพร่ และ
ประชาสั มพันธ์ ต่อสาธารณชน
ปฏิบตั ิ
ไม่ ปฏิบัติ
ร่ องรอย
95
ที่
ประเด็นการพิจารณา
6 ผลการประเมินโครงการ/กิจกรรมที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัตกิ าร
จัดการเรียนร่ วม
6.1 บรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ น้ อยกว่าร้ อยละ 50 ของจานวน
โครงการ/กิจกรรมที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัตกิ ารจัดการเรียนร่ วม
6.2 บรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ ร้ อยละ 50-59 ของจานวน
โครงการ/กิจกรรมที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัตกิ ารจัดการเรียนร่ วม
6.3 บรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ ร้ อยละ 60-69 ของจานวน
โครงการ/กิจกรรมที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัตกิ ารจัดการเรียนร่ วม
6.4 บรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ ร้ อยละ 70-79 ของจานวน
โครงการ/กิจกรรมที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัตกิ ารจัดการเรียนร่ วม
6.5 บรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ ร้ อยละ 80 ขึน้ ไป ของจานวน
โครงการ/กิ
จกรรมที
ความคิ
ดเห็นเพิ
ม่ เติม ่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัตกิ ารจัดการเรียนร่ วม
ผลการปฏิบต
ั ิ
ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ
เอกสารหลักฐาน
ร่ องรอย
................................................................................................................
.............
.........................................................................................................
......................................................
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 4
96
ตัวบ่ งชี้ที่ 5 สถานศึกษามีกระบวนการเปลีย่ นผ่ าน (Transition)
คาอธิบาย สถานศึกษามีกระบวนการส่ งต่ อและเปลีย่ นผ่ าน มีการจัดทา
แผนการเปลีย่ นผ่ าน โดยการสารวจ จัดทา และจัดเก็บข้ อมูลของผู้เรียนที่
มีความต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา จัดเตรียมผู้เรียนให้ มีความ
พร้ อมรวมทั้งประสานงานภาคีเครือข่ าย ให้ ผู้เรียนได้ รับการบริการด้ าน
การศึกษา การแพทย์ การสั งคมสงเคราะห์ และการอาชีพ เพือ่ ลดข้ อจากัด
ให้ น้อยทีส่ ุ ด และได้ รับโอกาสในการพัฒนาตามศักยภาพ ทั้งการเรียนต่ อ
และประกอบอาชีพ
97
ประเด็นการพิจารณา
1. มีการรวบรวมข้ อมูลสารสนเทศผู้เรียนทีม่ ีความต้ องการจาเป็ น
พิเศษทางการศึกษา เพือ่ การส่ งต่ อและเปลีย่ นผ่ านทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา
2. มีการจัดทาแผนการส่ งต่ อและเปลีย่ นผ่ าน
3. มีการสร้ างความเข้ าใจระหว่ างผู้ส่งและผู้รับและจัดเตรียม
ผู้เรียนทีม่ ีความต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษาก่ อนการ
ส่ งต่ อหรือเปลีย่ นผ่ าน
4. มีการดาเนินการส่ งต่ อและเปลีย
่ นผ่ าน
5. มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลและปรั บปรุ งการดาเนินงาน
98
ระดับคุณภาพ
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
ผู้บริหารมีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้ อ 1
ผู้บริหารผ่ านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 2
ผู้บริหารผ่ านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 3
ผู้บริหารผ่ านระดับ 3 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 4
ผู้บริหารผ่ านระดับ 4 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 5
99
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. การตรวจเอกสาร หลักฐาน
ร่ องรอย หรือข้ อมูล
เชิงประจักษ์
2. การสั มภาษณ์ การสอบถาม
มฐ 3 ตบช 5
แหล่ งข้ อมูล
- ข้ อมูลสารสนเทศเฉพาะบุคคลของผู้เรียน
- ข้ อมูลภาคีเครือข่ ายด้ านการศึกษา ด้ าน
การแพทย์ การสั งคมสงเคราะห์ และด้ าน
อาชีพ
- บันทึกประชุ ม/คาสั่ ง
- รู ปภาพ
- โครงการ/งาน/กิจกรรม
- รายงานการจัดโครงการ/งาน/กิจกรรม
- ฯลฯ
นักเรียน ครู ผู้บริหาร และผู้เกีย่ วข้ อง
100
ที่
1
2
3
แบบประเมินกระบวนการเปลีย่ นผ่าน (Transition) ของผู้บริหารสถานศึกษา
โรงเรียน ....................................................สั งกัด
..........................................
ผลการปฏิบัติ
เอกสารหลักฐาน
ประเด็นการพิจารณา
ปฏิบัติ
ไม่ ปฏิบัติ
ร่ องรอย
การรวบรวมข้ อมูลสารสนเทศผู้เรียนที่มีความต้ องการจาเป็ นพิเศษ
ทางการศึกษาเพือ่ การส่ งต่ อและเปลีย่ นผ่านทั้งภายในและภายนอก
สถานศึกษา
มีการจัดทาแผนการส่ งต่ อและเปลีย่ นผ่ าน
มีการจัดเตรียมผู้เรียนที่มีความต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา ให้
มีความพร้ อมด้ านการศึกษา ด้ านการแพทย์ การสังคมสงเคราะห์
และด้ านอาชีพ
4 สร้ างความเข้ าใจ ระหว่างผู้ส่งและผู้รับเพือ่ การส่ งต่ อและการเปลีย่ น
ผ่าน
5 มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงการดาเนินงาน
ความคิดเห็นเพิม่ เติม
......................................................................................................................
...........................................................
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 4
101
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 5
ตัวบ่ งชี้ที่ 6 มีการส่ งเสริม สนับสนุน ยกย่ องเชิดชู เกียรติบุคคลและองค์ กร
ที่มสี ่ วนร่ วม ด้ านการจัดการเรียนร่ วม
คาอธิบาย สถานศึกษามีการส่ งเสริม สนับสนุน ให้ ขวัญกาลังใจ ยกย่ องเชิด
ชู เกียรติบุคคลและองค์ กรที่มสี ่ วนร่ วมด้ านการจัดการเรียนร่ วม ใน
รู ปแบบต่ างๆ เช่ น ยกย่ องชมเชย ประกาศเกียรติคุณ มอบโล่ รางวัล
แก่ บุคคลและองค์ กรที่มสี ่ วนร่ วมด้ านการจัดการเรียนร่ วมทั้งภายใน
และภายนอกสถานศึกษาอย่ างแพร่ หลาย
ประเด็นการพิจารณา
การให้ ขวัญและกาลังใจแก่ บุคคลและองค์ กรที่มสี ่ วนร่ วมด้ านการจัดการ
เรียนร่ วมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาในรู ปแบบต่ างๆ
102
ระดับคุณภาพ
ระดับ
คาอธิบายระดับคุณภาพ
1
บุคคลและองค์ กร ทีม่ ีส่วนร่ วมด้ านการจัดการเรียนร่ วมต่ากว่าร้ อยละ 50
ได้ รับการส่ งเสริม สนับสนุน ยกย่ อง เชิดชู เกียรติ ในรู ปแบบต่ างๆ
บุคคลและองค์ กร ทีม่ ีส่วนร่ วมด้ านการจัดการเรียนร่ วมร้ อยละ 50-59
ได้ รับการส่ งเสริม สนับสนุนยกย่ อง เชิดชู เกียรติ ในรู ปแบบต่ างๆ
บุคคลและองค์ กร ทีม่ ีส่วนร่ วมด้ านการจัดการเรียนร่ วมร้ อยละ 60-69 ได้ รับ
การส่ งเสริม สนับสนุนยกย่ อง เชิดชู เกียรติ ในรู ปแบบต่ างๆ
บุคคลและองค์ กร ทีม่ ีส่วนร่ วมด้ านการจัดการเรียนร่ วมร้ อยละ 70-79
ได้ รับการส่ งเสริม สนับสนุนยกย่ อง เชิดชู เกียรติ ในรู ปแบบต่ างๆ
บุคคลและองค์ กร ทีม่ ีส่วนร่ วมด้ านการจัดการเรียนร่ วมร้ อยละ 80 ขึน้ ไป
ได้ รับส่ งเสริม สนับสนุนการยกย่ อง เชิดชู เกียรติ ในรู ปแบบต่ างๆ
2
3
4
5
103
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล/แหล่ งข้ อมูล มฐ 3 ตบช 6
วิธีการเก็บรวบรวม
แหล่งข้อมูล
ข้อมูล
- ข้อมูลสถิติบุคคลและองค์กรที่มีส่วนร่ วม
1. การตรวจเอกสาร
ด้
า
นการเรี
ย
นร่
ว
มได้
ร
ั
บ
ขวั
ญ
และก
าลั
ง
ใจ
หลักฐาน
- เกียรติบตั ร/วุฒิบตั ร/หนังสื อขอบคุณ
ร่ องรอย หรื อข้อมูล - งาน/โครงการ/กิจกรรม
เชิงประจักษ์
- รู ปภาพ
- บันทึกการประชุม/คาสัง่
- สรุ ปรายงานงาน/โครงการ/กิจกรรม
ฯลฯ
104
แบบประเมินการส่ งเสริม สนับสนุน ยกย่ องเชิดชู เกียรติบุคคลและองค์ กรที่
มีส่วนร่ วมของผู้บริหารสถานศึกษา
โรงเรียน ....................................................สั งกัด
..........................................
การยกย่ องเชิดชู เกียรติ
ที่
บุคคล/องค์ กร/หน่ วยงาน
ที่ให้ การส่ งเสริมสนับสนุน
ไม่ ดาเนินการ
ดาเนินการ
เอกสารหลักฐาน
ร่ องรอย
รวม
รวมร้ อยละ
ความคิดเห็นเพิม่ เติม
......................................................................................................................
..................................................ง..........
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 5
105
 ระดับคุณภาพ 3
ด้ านที่ 4 มาตรฐานด้ านการสร้ างสั งคมแห่ งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 4สถานศึกษามีการสร้ าง ส่ งเสริม สนับสนุนให้ สถานศึกษา
เป็ นสั งคมแห่ งการเรียนรู้ ด้ านการจัดการเรียนร่ วม
คาอธิบาย สถานศึกษามีการกาหนดวิธีการหรือขั้นตอนการดาเนินงาน
ส่ งเสริม ช่ วยเหลือ สนับสนุนให้ มกี ารพัฒนาแหล่ งเรียนรู้ ด้านการ
จัดการเรียนร่ วม มีกระบวนการที่เกือ้ หนุนในการจัดการเรียนร่ วม ให้
ผู้เรียน บุคลากรในสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครองและผู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ อง
เกิดการเรียนรู้ โดยผ่ าน สื่ อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่ งการเรียนรู้
องค์ ความรู้ ต่างๆ จนสามารถสร้ างความรู้ ทักษะ มีระบบการจัดการ
ความรู้ มีการถ่ ายทอดความรู้ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกัน ทั้งบุคลากรใน
สถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครองและผู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ อง
106
ตัวบ่ งชี้ที่ 1 พัฒนาแหล่ งเรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนร่ วมในโรงเรียน ให้
ผู้เรียนและครอบครัวสามารถเข้ าถึงและใช้ ประโยชน์ ได้
คาอธิบาย สถานศึกษามีการวางแผนและพัฒนาแหล่ งเรียนรู้ ด้านการ
จัดการเรียนร่ วม และให้ การสนับสนุนส่ งเสริมให้ ผ้ ูเรียน ผู้ปกครอง
ชุมชน ครู และบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ อง แสวงหาความรู้ และเรียนรู้ โดย
ผ่ านแหล่ งเรียนรู้ ด้วยตนเองตามอัธยาศัย และสามารถนาความรู้ ไป
ใช้ ประโยชน์ ได้ อย่ างเหมาะสม
107
ประเด็นพิจารณา
1. มีการจัดทาแผนงาน/โครงการ การพัฒนาแหล่ งเรียนรู้ ด้านการ
จัดการเรียนร่ วมในโรงเรียน โดยศึกษาวิเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศ
แหล่ งเรียนรู้ ท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา
2. มีการดาเนินการพัฒนาแหล่ งเรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนร่ วม
3. มีการสนับสนุนส่ งเสริมให้ ผู้เรียนและครอบครัว แสวงหาความรู้ และ
เรียนรู้ โดยผ่ านแหล่ งเรียนรู้ ด้วยตนเองตามอัธยาศัย สามารถนา
ความรู้ ไปใช้ ประโยชน์ ได้ อย่ างเหมาะสม
4. มีการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานการพัฒนาและการใช้
แหล่ งเรียนรู้
5. มีการสรุป รายงานผล เผยแพร่ และประชาสั มพันธ์
108
ระดับคุณภาพ
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
สถานศึกษามีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้ อ 1
สถานศึกษาผ่ านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 2
สถานศึกษาผ่ านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 3
สถานศึกษาผ่ านระดับ 3 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 4
สถานศึกษาผ่ านระดับ 4 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 5
109
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลมฐ 4 ตบช 1
วิธีการ
1. การตรวจเอกสาร
หลักฐาน ร่ องรอย
การปฏิบัตงิ าน
หรือข้ อมูลเชิง
ประจักษ์
2. การสอบถาม /
การสัมภาษณ์
เครื่องมือ
แหล่ งข้ อมูล
แบบบันทึก - แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
- แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี โครงการ/กิจกรรม
- ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศ
- เอกสารรายงานการนิเทศติดตามผลการดาเนินงาน บันทึกรายงานการประชุ ม
- รายงานสรุปผลการประเมินโครงการหรือ
รายงานผลการปฏิบัติงาน
- เอกสารแสดงขั้นตอนการดาเนินงานพัฒนา
แหล่งเรียนรู้
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม ฐานข้ อมูล
แหล่งเรียนรู้ ทะเบียนการใช้ แหล่งเรียนรู้
- เอกสารหลักฐานอืน่ ๆ เช่ น ภาพถ่ าย แผ่นพับ
แถบวีดที ศั น์
- ป้ ายนิเทศการจัดกิจกรรมต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
- ฯลฯ
แบบสอบถาม /
ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
แบบสัมภาษณ์
และผู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ อง
110
แบบประเมินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการเรียนร่ วม
ของผู้บริหารสถานศึกษา
มฐ 4 ตบช 1
โรงเรียน ....................................................สั งกัด
..........................................
ที่
ประเด็นการพิจารณา
ผลการปฏิบัติ
เอกสารหลักฐาน
ร่ องรอย
ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ
1 มีการจัดทาแผนงาน/โครงการ การพัฒนาแหล่ งเรียนรู้
ด้ านการจัดการเรียนร่ วมในโรงเรียน โดยศึกษาวิเคราะห์ ข้อมูล
สารสนเทศแหล่ งเรียนรู้ ท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา
2 มีการดาเนินการพัฒนาแหล่ งเรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนร่ วม
3 มีการสนับสนุนส่ งเสริมให้ ผู้เรียนและครอบครัว แสวงหา
ความรู้ และเรียนรู้ โดยผ่ านแหล่ งเรียนรู้ ด้วยตนเองตาม
อัธยาศัย สามารถนาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์ ได้ อย่ างเหมาะสม
4 มีการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานการพัฒนาและ
การใช้ แหล่ งเรียนรู้
5 มีการสรุป รายงานผล เผยแพร่ และประชาสั มพันธ์
111
มฐ 4 ตบช 1
ความคิดเห็นเพิม่ เติม
…….………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….....
……………………………...........................................................................................................
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
 ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 5
112
ตัวบ่ งชี้ที่ 2 มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนร่ วมระหว่ าง
บุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่ างสถานศึกษากับครอบครัว
ชุมชน และองค์ กรทีเ่ กีย่ วข้ อง
คาอธิบาย ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้
ที่มีส่วนเกีย่ วข้ องกับสถานศึกษา มีการแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ ด้านการ
จัดการเรียนร่ วมผ่ านกิจกรรม สื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่ ง
เรียนรู้ องค์ ความรู้ ต่างๆ จนสามารถสร้ างความรู้ ทักษะ มีระบบ
การจัดการความรู้ มีการถ่ ายทอดความรู้ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกัน
ทั้งบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่ างสถานศึกษากับครอบครัว
ชุมชน และองค์ กรทีเ่ กีย่ วข้ อง
113
ประเด็นการพิจารณา
1. มีการกาหนดแนวทางการส่ งเสริม สนับสนุนให้ มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ด้าน
การจัดการเรียนร่ วมและมีการระบุความรู้ ทจี่ าเป็ น (Knowledge Mapping)
2. มีการดาเนินการตามแนวทางทีก่ าหนด กลัน่ กรองความรู้ ทจี่ าเป็ น (Knowledge
Mapping) มาแบ่ งปันความรู้ ให้ กบั บุคลากรภายในและภายนอกสถานศึกษา
ระหว่ างสถานศึกษากับครอบครัว กับชุ มชนและองค์ กรทีเ่ กีย่ วข้ อง
3. มีระบบการจัดการความรู้ ถ่ ายทอดความรู้ และแลกเปลีย่ นเรียนรู้
4. มีการดาเนินการกากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ ด้ านการจัดการเรียนร่ วม ระหว่ างบุคลากรภายในและภายนอก
สถานศึกษา
5. มีการนาผลการดาเนินงานการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนร่ วมไป
ปรับปรุงพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง มีการสรุปรายงานผลการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ด้าน
การจัดการเรียนร่ วม และมีการเผยแพร่ ประชาสั มพันธ์
114
ระดับคุณภาพ
ระดับ
1
2
3
4
5
คาอธิบายระดับคุณภาพ
สถานศึกษามีการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา ข้ อ 1
สถานศึกษาผ่ านระดับ 1 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณา ข้ อ 2
สถานศึกษาผ่ านระดับ 2 และมีการดาเนินงานตามประเด็นการ
พิจารณา ข้ อ 3
สถานศึกษาผ่ านระดับ 3 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 4
สถานศึกษาผ่ านระดับ 4 และมีการดาเนินงานตามประเด็น
การพิจารณา ข้ อ 5
115
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลมฐ 4 ตบช 2
วิธีการ
เครื่องมือ
1. การตรวจเอกสาร แบบบันทึก
หลักฐานร่ องรอย
การปฏิบัติงาน หรือ
ข้ อมูลเชิงประจักษ์
2. การสอบถาม
การสั มภาษณ์
แหล่ งข้ อมูล
- แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
- แผนปฏิบัติการประจาปี โครงการ/กิจกรรม
- ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศ
- เอกสารรายงานการนิเทศติดตามผลการดาเนินงาน
- หนังสื อเชิญบุคคลหรือหน่ วยงานภายนอก
- รายงานการประชุม
- รายงานสรุ ปผลการประเมินโครงการหรือรายงานผลการปฏิบัติงาน
- ภาพถ่ ายกิจกรรมต่ าง ๆ ที่เกีย่ วกับการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
- เอกสารการเผยแพร่ ความรู้ เช่ น แผ่ นพับ แผ่ นปลิว
วารสาร แผ่ นพับ แถบวีดีทัศน์
- ป้ ายนิเทศการจัดกิจกรรมต่ างๆ ที่เกีย่ วข้ อง
- ฯลฯ
แบบสอบถาม ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ครู ผู้เรียน
แบบสั มภาษณ์ ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกีย่ วข้ อง
116
แบบประเมินการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ด้านการจัดการเรียนร่ วม
ที่
โรงเรียน ....................................................สั งกัด
..........................................
ผลการปฏิบัติ
ประเด็นการพิจารณา
ปฏิบัติ
ไม่ ปฏิบัติ
มฐ 4 ตบช 2
เอกสารหลักฐาน
ร่ องรอย
1 มีการกาหนดแนวทางการส่ งเสริมสนับสนุนให้ มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
ด้ านการจัดการเรียนร่ วมและมีการระบุความรู้ ที่จาเป็ น(Knowledge
Mapping)
2 มีการดาเนินการตามแนวทางที่กาหนด กลัน่ กรองความรู้ที่จาเป็ น
(Knowledge Mapping) มาแบ่ งปันความรู้ให้ กบั บุคลากรภายในและ
ภายนอกสถานศึกษาระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว กับชุมชนและ
องค์กรที่เกีย่ วข้ อง
3 มีระบบการจัดการความรู้ ถ่ ายทอดความรู้ และแลกเปลีย่ นเรียนรู้
4 มีการดาเนินการกากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานการ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ด้านการจัดการเรียนร่ วม ระหว่างบุคลากรภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา
5 มีการนาผลการดาเนินงานการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ด้านการจัดการเรียน
ร่ วมไปปรับปรุงพัฒนาอย่ างต่ อเนื่องมีการสรุปรายงานผลการ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ด้านการจัดการเรียนร่ วมและมีการเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์
117
มฐ 4 ตบช 2
ความคิดเห็นเพิม่ เติม
…….…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………….........................................................................………………………
สรุประดับคุณภาพรายสถานศึกษา
 ระดับคุณภาพ 1
 ระดับคุณภาพ 2
 ระดับคุณภาพ 3
 ระดับคุณภาพ 4
 ระดับคุณภาพ 5
118
การแปลความหมายของคะแนนระดับคุณภาพ
กรณี 3 ระดับ
ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง
ระดับ 2 หมายถึง พอใช้
ระดับ 3 หมายถึง ดี
119
กรณี 5 ระดับ
ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง
ระดับ 2 หมายถึง พอใช้
ระดับ 3 หมายถึง ดี
ระดับ 4 หมายถึง ดีมาก
ระดับ 5 หมายถึง ดีเยีย่ ม
120
การประเมินมาตรฐานการเรียนร่วม
เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนร่วม
และจัดระบบประกันคุณภาพสถานศึกษา
ร่วมกับมาตรฐาน สพฐ./สมศ.
สวัสดี