เธ เธฃเธฐเธšเธงเธ™เธ เธฒเธฃเน€เธฃเธตเธขเธ™เธฃเนˆเธง

Download Report

Transcript เธ เธฃเธฐเธšเธงเธ™เธ เธฒเธฃเน€เธฃเธตเธขเธ™เธฃเนˆเธง

นโยบายการจัดการเรียนร่ วม
ตามแนวปฏิรูปการศึกษา สาหรับคนพิการใน
ทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561)
ดร.สุจนิ ดา ผ่ องอักษร
ที่ปรึกษาด้ านการศึกษาพิเศษและผู้ด้อยโอกาส
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
13-15 มิถุนายน 2554
หลักการ
•
•
•
•
กฎหมายและนโยบาย
การจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
หลักการจัดการศึกษา ตามหลักการสิทธิมนุษยชน : 4A
นโยบายการปฏิรูปการศึกษาสาหรับคนพิการใน
ทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561)
กฎหมายและนโยบาย
รั ฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
 พ.ร.บ. การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2546
 พ.ร.บ. ส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550
 พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสาหรั บคนพิการ พ.ศ.2551
 นโยบายของรั ฐบาลปั จจุบัน ด้ านนโยบายการศึกษา
 กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการให้ คนพิการมีสิทธิได้ รับสิ่ง
อานวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่ วยเหลืออื่นใดทาง
การศึกษา

ประเด็นสาคัญตาม พรบ. การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ
(พ.ศ. 2551)
สิทธิทางการศึกษา ขจัดการเลือกปฏิบัติ
 การศึกษาทางเลือก (รวมการจัดการเรียนรวม Inclusive
Ed.: IE)
 การให้ บริการระยะแรกเริ่ม ตัง้ แต่ อายุ 0-3 ปี (Early
Intervention: EI)
 ต้ องจัดทา IEP ให้ กับเด็กที่มีความต้ องการจาเป็ นพิเศษ
ซึ่งขึน้ กับการประเมินเด็ก
 จัดงบประมาณเพื่อการศึกษาพิเศษ, ครู, AT, งานวิจัย

มาตรา 5
ระบุว่า คนพิการมีสิทธิทางการศึกษาดังนี ้
1) ได้ รับการศึกษาโดยไม่ เสียค่ าใช้ จ่าย ตัง้ แต่ แรกเกิดหรื อพบ
ความพิการจนตลอดชีวิต พร้ อมทัง้ ได้ รับเทคโนโลยี สิ่งอานวย
ความสะดวก สื่อ บริการและความช่ วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
2) เลือกบริการทางการศึกษาสถานศึกษา ระบบและรู ปแบบ
การศึกษา โดยคานึงถึงความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและ
ความต้ องการจาเป็ นพิเศษของบุคคลนัน้
3) ได้ รับการศึกษาที่มีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา
รวมทัง้ การจัดหลักสูตร กระบวนการเรี ยนรู้ การทดสอบทาง
การศึกษาที่เหมาะสมสอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นพิเศษ
ของคนพิการแต่ ละประเภทและบุคคล
มาตรา 8 ให้ สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทาแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคลโดยให้ สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นพิเศษของ
คนพิการ และต้ องมี การปรั บปรุ ง แผนการจัดการศึ กษาเฉพาะ
บุ ค คลอย่ า งน้ อยปี ละหนึ่ ง ครั ้ง ตามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารที่
กาหนดในประกาศกระทรวง
• สถานศึกษาใดปฏิเสธไม่ รับคนพิการเข้ าศึกษา ให้ ถือ
เป็ นการเลือกปฏิบัตโิ ดยไม่ เป็ นธรรมตามกฎหมาย
• ให้ สถานศึกษาหรื อหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องสนั บสนุน
ผู้ดูแลคนพิการและประสานความร่ วมมือจากชุมชน
หรื อนักวิชาชีพเพื่อให้ คนพิการได้ รับการศึกษาทุก
ระดับ หรื อบริการทางการศึกษาที่สอดคล้ องกับความ
ต้ องการจาเป็ นพิเศษของคนพิการ
นโยบายรั ฐบาล
• โครงการเด็กพิการเรียนฟรีตงั ้ แต่ ชัน้ ก่ อนประถมศึกษา
จนถึงปริญญาตรี เพิ่มจานวนนักเรียนพิการระดับ
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานในสังกัดสานักบริหารงานการศึกษา
พิเศษ สพฐ. จาก ๑๙,๙๑๔ คน เป็ น ๒๐,๙๘๑ คน เรียน
ต่ อระดับปริญญาตรีสูงขึน้ เป็ น ๔,๕๖๒ คน มีโรงเรี ยน
เรียนร่ วม ๑๕,๕๓๐ โรงเรียน
• โรงเรียนดีประจาตาบล
การจัดการเรียนร่ วม
กรอบแนวคิดในการทางาน
 การบริ หารจัดการเรี ยนร่ วมโดยใช้ โครงสร้ าง SEAT
 การบริ หารจัดการโดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน (SBM)
ระบบการบริหารจัดการเรียนร่ วมที่ดี
การบริหารโดย
ใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
SBM
•หลักการกระจายอานาจ
•หลักการมีส่วนร่ วม
•หลักการคืนอานาจจัดการศึกษา
ให้ ประชาชน
•หลักการบริหารตนเอง
•หลักการตรวจสอบและถ่ วงดุล
การบริหารจัดการเรียนร่ วม
โดยใช้ โครงสร้ าง SEAT
SEAT
S: Student
E: Environment
A: Activities
T: Tools
การบริหารจัดการเรี ยนร่ วมโดยใช้ โครงสร้ างซีท
เตรี ยมความพร้ อมนักเรี ยนพิการหรื อที่มีความ
บกพร่อง
S - Students
กายภาพ
E - Environment
เตรี ยมความพร้ อมนักเรี ยนทัว่ ไป
บุคคลที่เกี่ยวข้ อง
การบริหารจัดการหลักสูตร
นโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ
การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
การตรวจสอบทางการศึกษา
SEAT
งบประมาณ
ระบบการบริหารจัดการ
เทคนิคการสอน
กฎกระทรวง
การรายงานความก้ าวหน้ าของนักเรี ยน
เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก (AT)
การจัดกิจกรรมการสอนนอกห้ องเรี ยนและชุมชน
สิ่งอานวยความสะดวก
การประกันคุณภาพ
A - Activities
T - Tools
สื่อ
การรับนักเรี ยนพิการหรื อที่มีความบกพร่องเข้ าเรี ยน
บริการ
การจัดตารางเรี ยน
ตารา
การประสานความร่วมมือ
ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ปรับปรุงงาน
ครูการศึกษาพิเศษและนักวิชาชีพอื่น
นโยบายปฏิรูปการศึกษาสาหรั บคนพิการ
ในทศวรรษที่สอง พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑
ภายใต้ วิสัยทัศน์ “คนพิการได้ รับการศึกษาตลอดชีวิตอย่ างมีคุณภาพ
ทั่วถึง และเสมอภาค”
ประกอบด้ วย นโยบาย ๔ ข้ อ คือ
๑) คนพิการได้ รับการได้ รับการศึกษาอย่ างทั่วถึงและเสมอภาค
๒) คนพิการได้ รับการศึกษาอย่ างมีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของแต่ ละประเภทความพิการในทุกระบบและรูปแบบ
การศึกษา
๓) การมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ
๔) พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ
-
ประเด็นเพิ่มประสิทธิภาพ
การปฏิรูปต้ องมีการเปลี่ยนแปลง
• จากนโยบายปฎิรูป 4 ด้ าน ( โอกาส คุณภาพและมาตรฐาน การ
บริหารจัดการและการมีส่วนร่ วม) 7 ยุทธศาตร์ / 30 มาตรการ
• จัดทาแผนพัฒนาคนพิการ (พ.ศ. 2554-2559)
• จัดทาแผนการจัดการเรี ยนร่ วม (พ.ศ. 2554-2559) คิดโดย
สถานศึกษา สพท. ศูนย์ การศึกษาพิเศษ สพฐ.
• การจัดกลุ่มเครือข่ ายประสิทธิภาพ (มีตวั อย่ าง Best Practice)
• บทบาทหน้ าที่และการบูรณาการการทางานในพืน้ ที่
ตัวชีว้ ัดตามหลักการสิทธิมนุษยชน
Availability
Accessibility
4A
Adaptability
Acceptability
ทาให้ แน่ ใจว่ าเด็กจะได้ รับโอกาสทางการศึกษา
• ขยายโอกาสทางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานและบริการทาง
การศึกษาอย่ างทั่วถึง
• ระบบการศึกษากาหนดหลายแบบและเตรียมโอกาส
ทางการเรียน สาหรับเด็กทุกคน
• การให้ ความช่ วยเหลือและดูแลเด็กพิการในระยะแรกเริ่ม
• เด็กทุกคนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมทางสังคม
ทาให้ แน่ ใจว่ าเด็กจะสามารถเข้ าถึงการศึกษา
และใช้ ประโยชน์ ได้
• การจัดให้ เรียนในสภาพแวดล้ อมที่มีขีดจากัดน้ อยที่สุด
• การสนับสนุนสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการและ
ความช่ วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
• ปรับปรุ งการจัดบริการทางการศึกษา สอดคล้ องกับความ
ต้ องการจาเป็ นพิเศษทางการศึกษา
ทาให้ แน่ ใจว่ าการศึกษาต้ องมีการปรั บเปลี่ยน
ให้ เหมาะกับผู้เรี ยน
• หลักสูตร การเรี ยนการสอน การสอบ
• การปรั บให้ เอือ้ ต่ อผู้เรี ยน (Accommodation)
• การออกแบบเพื่อทุกคน (Universal designs)
ทาให้ แน่ ใจว่ าได้ จัดการศึกษาอย่ างมีคุณภาพ
•
•
•
•
•
การประกันคุณภาพนักเรี ยนตาม IEP
จัดทามาตรฐานการเรี ยนร่ วม
การปรั บปรุ งการบริหารจัดการ
การฝึ กอบรม/พัฒนาครู (Teacher Training)
การเปลี่ยนผ่ าน (transition) เน้ นการเตรี ยมเด็ก
เพื่อสู่สังคม ทัง้ ด้ านอาชีพเพื่อพึ่งตนเองได้
สามารถดารงชีวิตอิสระ มีคุณภาพชีวิตที่ดี
• การทางานร่ วมมือกันในลักษณะสหวิชาชีพ
มุ่งสู่การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
การจัดให้ เด็กพิการเข้ าเรียนในชัน้ เรียนปกติ
โดยได้ รับการพัฒนาศักยภาพและมีส่วนร่ วมในกิจกรรม
ของสถานศึกษาและสังคมอย่ างสมบูรณ์
การจัดการเรียนรวม
1) นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และได้ รับประโยชน์ จากการศึกษา
2) สถานศึกษาปรับเปลี่ยนตามความต้ องการจาเป็ นของเด็กทุกคน
มากกว่ าปรับเปลี่ยนตามความต้ องการของสถานศึกษา
3) ความแตกต่ างของนักเรียนแต่ ละคนคือแหล่ งทรัพยากรที่มีค่าใน
ชุมชนและความหลากหลายไม่ ใช่ ปัญหา
4) ความต้ องการที่มีความหลากหลาย จึงทาให้ เป้าหมายของการ
พัฒนานักเรียนต้ องกาหนดแบบกว้ างและยืดหยุ่นเพื่อให้ เด็ก
ตอบสนองได้ โดยไม่ แยกเด็กออกจากชัน้ เรียน ซึ่งต้ องมีวางแผน
และการสนับสนุนการดาเนินงานอย่ างเหมาะสมทุกด้ าน
การมีส่วนร่ วม
แบ่ งได้ เป็ นระดับจากน้ อยไปหามาก ดังนี ้
1) การแลกเปลี่ยนข้ อมูลความรู้ซ่ งึ กันและกัน
2) ให้ คาปรึกษาแนะนา
3) การเข้ ามาลงมือทาร่ วมกัน (Involve)
4) Collaboration เป็ นการสร้ างความร่ วมมือแบบเป็ นภาคี
5) Empowerment เป็ นการทางานร่ วมกันโดยมีบทบาทหน้ าที่ชัดเจน
มีความรับผิดชอบและประสบความสาเร็จ และล้ มเหลวร่ วมกัน
ถ้ าเรามียุทธศาสตร์ ท่ เี หมาะสม ก็จะเกิดการยอมรั บและมีคนเข้ า
มามีส่วนร่ วมมากขึน้ และจะทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่
ดีมากขึน้
จัดระบบการเปลี่ยนผ่ าน (transition)
-มีทมี จัดทา IEP ร่ วมกันพิจารณาตามความ
ต้ องการจาเป็ นพิเศษของนักเรียนแต่ ละคน
-ส่ วนที่ปรับเปลี่ยน โดยอิงหลักสูตร ตามมาตรฐาน
และตัวชีว้ ัดปกติ
-ส่ วนที่กาหนดเฉพาะตามวัตถุประสงค์ ใน IEP
-ใช้ ระบบการเปลี่ยนผ่ าน โดยทีมร่ วมกันพิจารณา
การเลื่อนชัน้ ช่ วงชัน้ ระดับชัน้ และการจบ
การศึกษา
Transition
เพื่อช่ วยให้ เด็กพิการ Transition จากระดับมัธยมต้ นไปสู่มัธยมปลาย
ซึ่งยุทธศาสตร์ ท่ พ
ี บว่ าประสบผลสาเร็จมากที่สุด คือ
1. เตรียมความสามารถ (competency) ในด้ าน
1) ทักษะทางวิชาการ เช่ น การอ่ าน คณิตศาสตร์ การเขียนและ
การแก้ ปัญหา (problem solving)
2) ทักษะการอยู่ร่วม/ดารงชีวิตในสังคม เช่ นการจัดการการเงิน
การเข้ าอยู่ในชุมชน
3) ทักษะทางอาชีพ เช่ นการฝึ กอาชีพ การหางาน
4) ทักษะการรู้จักตนเอง และการกาหนดเป้าหมายต่ อไป
2. จัดให้ มีส่วนร่ วมในการศึกษาด้ านอาชีพในชัน้ เรียนระหว่ าง 2 ปี
สุดท้ ายของการศึกษาในโรงเรียนมัธยม (high school)
3. จัดให้ มีส่วนร่ วมในการใช้ ประสบการณ์ การทางานในชุมชน
ระหว่ าง 2 ปี สุดท้ ายในโรงเรียนมัธยม (high school)
4. ประสานและมีส่วนร่ วมในการวางแผนเปลี่ยนผ่ านจากผู้ส่งต่อ
และผู้รับการส่ งต่ อ
5. จัดทาแผนการเปลี่ยนผ่ านก่ อนจบสู่การเรียนต่ อหรือประกอบ
อาชีพหรือพึ่งตนเองได้ ในสังคม
6 เน้ นการสอนที่ต่อเนื่องในด้ านวิชาการ อาชีพและสังคม ด้ านการ
ดารงตนในสังคมหลังจบการศึกษา (Benz, Lindstrom & yovanft,
2000)
การพัฒนาคุณภาพนักเรี ยนที่มีความบกพร่ อง
ทางการเรี ยนรู้ : LD (62,360,556 ล้ าน)
LD คือใคร
จะพัฒนาเขาอย่ างไร
และต้ องตรวจสอบว่ าเขาพัฒนา
จริงหรือไม่ เพียงใด
คานิยามตามแบบคัดกรอง แนบท้ าย
กฎกระทรวง
1. ดูฉลาด หรือปกติในด้ านอื่นๆ ยกเว้ นด้ านการ
เรียน
2. มีปัญหาทางการเรียนในด้ านใดด้ านหนึ่งหรือ
มากกว่ า 1 ด้ าน ในด้ านการอ่ าน การเขียน และ
หรือการคิดคานวณ
27
3. ความบกพร่ อง ไม่ ได้ เกิดจากความผิดปกติ
ทางการเห็น การได้ ยนิ สติปัญญา หรือออทิ
สติก หรือจากการถูกละทิง้ ละเลย หรือความ
ด้ อยโอกาสอื่นๆ
28
ขัน้ ตอนประกอบด้ วย 7 ระยะ
(บางระยะสามารถดาเนินการพร้ อมกันได้ )
1. การคัดกรองเด็ก
ทีส่ งสั ย
2.การวินิจฉัย
3. การจัดทา IEP
7. การ Bench Mark
6. การวิจัย
5.การแก้ปัญหา
ทีพ่ บร่ วม
4. การช่ วยเหลือและ
พัฒนานวัตกรรม
ระยะที่1.การคัดกรอง
1 ใช้ แบบคัดกรองแนบท้ ายกฎกระทรวงฯ
2 ใช้ KUS-SI Rating scales (เฉพาะ LD)
KUS-SI Rating Scales
คัดกรองเด็กระดับประถมศึกษาปี ที่ 1-6
อายุ 6 - 13 ปี 11 เดือน ใน 3 ด้ าน คือ
 สมาธิสัน้ (ซน วู่วาม ขาดสมาธิ)
 มีปัญหาทางการเรียนรู้ (การอ่ าน
การเขียน และการคิดคานวณ)
 ออทิสติก
ระยะที่ 2.การวินิจฉัย
2.1 การวัดเชาวน์ปัญญา (เชาวน์เล็ก)
2.2 การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
ผลการคัดกรอง
แบบประเมิน แบบคัดกรองต่ างๆ
มีปัญหา
มาก
ปั ญหา
ปานกลาง
ปั ญหา
น้ อย
ไม่ มีปัญหา
กลุ่มที่เข้ าเกณฑ์
กลุ่มที่ไม่ เข้ าเกณฑ์
การวัดเชาว์ ปัญญา โดย
-การวินิจฉัย โดยแพทย์ นักจิดวิทยา
-การใช้ เครื่องมือวัดความสามารถทางเชาวน์ ปัญญา
(เชาว์ เล็ก) ของกรมสุขภาพจิต
การจัดจาแนกระดับเชาวน์ ปัญญา
(ICD10/DSM III)
ไอคิว
130 ขึน้ ไป
120-129
110-119
90-109
80-89
70-79
ต่ากว่ า 70
ระดับเชาวน์ ปัญญา
อัจฉริยะ (Very Superior)
ฉลาดมาก(Superior)
ค่ อนข้ างฉลาด(Bright Normal)
ปานกลาง(Average)
ปั ญญาทึบ(Dull Normal)
คาบเส้ นปั ญญาอ่ อน (Borderline)
ปั ญญาอ่ อน(Mental Retardation)
2.2 การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(Achievement
Test)
-แบบทดสอบมาตรฐาน
-แบบทดสอบที่ครู สร้ างขึน้
-ผลการเรี ยน ผลการปฏิบัติ
-แบบฝึ กหัด ผลงานเด็ก แฟ้มสะสมงาน
-การบ้ าน
ฯลฯ
ตัวอย่ าง การวินิจฉัยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เขียนตามแบบ บางตัวกลับทิศทาง เขียนอักษรคล้ ายกันผิด
เขียนไม่ เป็ นตัวอักษรหรื อคา
เขียนตกหล่ น เขียนเกิน
ปั ญหามิตสิ ัมพันธ์ ผสมคา
จาองค์ ประกอบของคาไม่ ได้
1.ปั ญหาการเขียนควบกลา้
2. ปั ญหาเขียนกลับทิศทาง และ ???
กลับทิศทาง เขียนตกหล่ น จาพยัญชนะ และสระคล้ ายคลึงกันไม่ ได้
เขียนตัวสะกดไม่ ตรงตามมาตรา
•
สับสนในการเขียนตัวหนังสือที่คล้ ายกัน
สรุ ป การประเมินว่ ามีนักเรียนมีความ
ต้ องการได้ รับบริการการศึกษาพิเศษ
หรือไม่ และการจัดทา IEP
เกณฑ์ ท่ ใี ช้ ประกอบการตัดสินใจว่ า
เด็กมีปัญหาทางการเรียนรู้หรือไม่
• มีความไม่ สอดคล้ องกันอย่ างมากระหว่ างผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนกับระดับสติปัญญาที่แท้ จริงของเด็กใน
ด้ านใดด้ านหนึ่ง หรื อมากกว่ าหนึ่งด้ าน (การอ่ าน
การเขียน การคิดคานวณ)
• อาจไม่ ได้ รับการประเมินเป็ นเด็กที่มีปัญหาทางการ
เรี ยนรู้ ถ้ าความไม่ สอดคล้ องดังกล่ าวเป็ นผลมาจาก
ความบกพร่ องหรื อความด้ อยโอกาสด้ านต่ างๆ
ไอคิวสูง
LD Students
120
100
80
ผลการเรี ยนต่า
60
40
20
0
เชาวน์ ปัญญา
ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
เด็ก LD ประสบผลสาเร็จในการเรียนได้ หรือไม่
• มี 15-20 % ของประชากรที่มีปัญหาทางการเรี ยนรู้
• 70-80% ในเด็กที่ได้ รับบริการทางการศึกษาพิเศษ
พบว่ ามีปัญหาทางการอ่ าน
• งานวิจัยพบว่ า นักเรียนที่เป็ น Dyslexia ถ้ าได้ รับการฝึ ก
อ่ านคาแบบ Phonological อย่ างมีประสิทธิภาพในชัน้
อนุบาลและประถมปี ที่ 1 เมื่อโตขึน้ จะมีปัญหาทางการ
อ่ านน้ อยกว่ า เด็กที่ไม่ ได้ รับการช่ วยเหลือจนถึงชัน้
ประถมปี ที่ 3 อย่ างมีนัยสาคัญ
• 74% ของเด็กที่อ่านไม่ ได้ ในชัน้ ประถมปี ที่ 3 จะยังคง
อ่ านไม่ ได้ ในชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ซึ่งการเรี ยนปกติเขา
ควรอ่ านได้ ดีเท่ ากับเด็กวัยเดียวกัน
• สอนเด็ก LD ให้ อ่านได้ โดยจัดให้ รับรู้ข้อมูลจากระบบ
ผสมผสานประสาทสัมผัส และเทคนิควิธีการทางภาษาที่
เหมาะสม พบว่ าสามารถช่ วยเด็กโตให้ อ่านได้
• ระดับมัธยม สอนโดยมีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอน/สอบ จัดสิ่ง
อานวยความสะดวก และมีผ้ ูช่วยเหลือ
• มีทงั ้ การแก้ ไขความบกพร่ อง และส่ งเสริมจุดแข็งหรือความสนใจ
• ด้ วยการวินิจฉัยที่ถูกต้ อง การสอนที่เหมาะสม การทางานหนัก
และการสนับสนุนจากครอบครั ว ครู เพื่อนและคนอื่นๆ แต่ ละ
คนสามารถประสบผลสาเร็จในโรงเรียนและการทางานเมื่อโตขึน้
ระยะที่ 3 การจัดทา IEP
พระราชบัญญัตกิ ารจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ
พ.ศ. 2551
มาตรา ๘
• ให้ สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทาแผนการ
จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
• โดยให้ สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ น
พิเศษของคนพิการ และต้ องมีการปรับปรุ ง
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
ร้ ู จกั IEP
แผนซึ่งกาหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้ อง
กับความต้ องการจาเป็ นพิเศษของคนพิการ ตลอดจน
กาหนดเทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริ การ
และความช่ วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาเฉพาะบุคคล
ทาไมต้ องทา IEP
• เพื่อประกันความเหมาะสมในการจัดการศึกษาให้ แก่ เด็ก
พิการ ซึ่งจะต้ องจัดตามความต้ องการจาเป็ นพิเศษทาง
การศึกษาของเด็กแต่ ละบุคคล
• เพื่อประกันว่ าได้ มีการจัดบริ การทางการศึกษาพิเศษและ
บริการอื่นตามที่ระบุไว้ ใน IEP จริง
• เพื่อเป็ นแนวทางในการดาเนินการควบคุมและติดตามผล
การให้ บริการ
• เป็ น แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ที่เขียน
ขึน้ เป็ นลายลักษณ์ อักษรสาหรั บนักเรี ยนพิการแต่
ละคน
• โดยคณะจัดทา IEP ของนักเรี ยนแต่ ละคนนัน้ ๆ
ประกอบด้ วยบุคคลที่ให้ บริการนักเรี ยนจากหลาย
สาขาวิชาชีพ โดยมีลักษณะเป็ นสหวิทยาการ
(Tran disciplinary)
• เป็ นเครื่ องมือ สาหรั บกระบวนการตรวจสอบ
(Assessment) และกระบวนการเรี ยนการสอนของ
นักเรี ยนพิการ
• เป็ น แผนกาหนดแนวทางการจัดการศึกษา ที่
สอดคล้ องกับความต้ องการจาเป็ นพิเศษ (Special
Needs) ของนักเรี ยนพิการแต่ ละบุคคล
• รวมถึงการกาหนดสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ
บริการ และความช่ วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
สาหรั บนักเรี ยนเป็ นเฉพาะบุคคล
องค์ ประกอบของแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(๑) ข้ อมูลทั่วไป เช่ น วัน เดือน ปี เกิด ประเภทความพิการ ชื่อตัว ชื่อสกุล
และที่อยู่ของผู้เรี ยน บิดา มารดา ผู้ปกครอง เป็ นต้ น
(๒) ข้ อมูลด้ านการแพทย์ หรื อด้ านสุขภาพ
(๓) ข้ อมูลด้ านการศึกษา
(๔) การกาหนดแนวทางการศึกษาและการวางแผนการจัดการศึกษาพิเศษ
(๕) ความต้ องการด้ านสิ่งอานวยความสะดวก เทคโนโลยีส่ งิ อานวยความ
สะดวก สื่อ บริการ และความช่ วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
(๖) คณะกรรมการจัดทาแผน
(๗) ความเห็นของบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรื อผู้เรี ยน
(๘) ข้ อมูลอื่นๆ ที่จาเป็ น
กระบวนการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(๑) จัดประเมินระดับความสามารถและความต้ องการจาเป็ นพิเศษของ
ผู้เรี ยนเป็ นรายบุคคล
(๒) กาหนดเป้าหมายระยะยาว ๑ ปี เป้าหมายระยะสัน้ หรื อจุดประสงค์
เชิงพฤติกรรม
(๓) ประเมินความต้ องการจาเป็ นของผู้เรี ยนเป็ นรายบุคคล ในด้ านสิ่ง
อานวยความสะดวก เทคโนโลยีส่ งิ อานวยความสะดวก สื่อ บริการและ
ความช่ วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
(๔) กาหนดกระบวนการเรี ยนรู้ และปั จจัยที่มีความต้ องการจาเป็ นทางการ
ศึกษา
(๕) กาหนดรู ปแบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ ของ
ผู้เรี ยน
ให้ สถานศึกษาแต่ งตัง้ คณะกรรมการจัดทา
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
สาหรับผู้เรียนแต่ ละคนโดยมีกรรมการไม่ น้อยกว่ า ๓ คน ซึ่ง
ประกอบด้ วย
(๑) ผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้แทน
(๒) บิดา หรือมารดา หรือผู้ปกครอง หรือผู้ดแู ลคนพิการ
(๓) ครูประจาชัน้ หรือครูแนะแนว หรือครูการศึกษาพิเศษ หรือครูท่ ี
รับผิดชอบงานด้ านการศึกษาพิเศษที่ผ้ ูบริหารสถานศึกษามอบหมาย
เป็ นกรรมการและเลขานุการ
ในกรณีท่ สี ถานศึกษาใดมีนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้ านความพิการ
สถานศึกษานัน้ อาจแต่ งตัง้ ให้ นักวิชาการดังกล่ าวเข้ าร่ วมเป็ น
กรรมการเพิ่มเติมด้ วยก็ได้
ระยะที่ 4 การแสวงหาและพัฒนานวัตกรรม
Multisensory
• จัดให้ เรี ยนรู้ โดยผ่ านประสาทรั บความรู้ สึก
สองอย่ างหรื อมากกว่ าในเวลาพร้ อมกัน ได้ แก่
• การเห็น การได้ ยนิ การเคลื่อนไหว การสัมผัส
• ใช้ กระดาษที่มีสีสดใส (a bright construction paper)
ทาบบนข้ อความที่จะอ่ านเพื่อช่ วยให้ นักเรี ยน
สามารถจดจ่ ออยู่กับข้ อความที่อ่าน
•
กระดาษทาเป็ นหน้ าต่ างการอ่ าน (reading window)
ติดคา ประโยค หรือข้ อความ
ติดคา ประโยค หรือข้ อความ
ติดคา ประโยค หรือข้ อความ
ติดคา ประโยค หรือข้ อความ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
•
•
•
•
โปรแกรมเดาคาศัพท์
โปรแกรมอักษรลิขิต
โปรแกรมตรวจคาผิด
การใช้ อักษร/คา/ข้ อความ เน้ น ขนาด สี เสียง สัมผัส
การเคลื่อนไหว
• การใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยการอ่ าน โดยเฉพาะเรื่อง
หน่ วยของเสียง ในคาต่ างๆ
• การตรวจสอบคาตอบ
ใช้ สี/สัญญาณไฟ/สัมผัส
ช่ วยการรับรู้ทศิ ทางในการเขียนตัวอักษร
การจัดหมวดหมู่คา
เพื่อช่ วยฝึ กเขียนคาและประโยค
Touch Math—Examples
•
Taken from: www.touchmath.com
การบวกโดยการนับจุดบนตัวเลข
1+3=4
6+2=8
การฝึ กจับคูภ่ าพและตัวเลข
บอล
ลูกบอล
เตะลูกบอล
ฉันเตะลูกบอล
เพื่อนของฉันเตะลูกบอล
ระยะที่ 5 การแก้ ปัญหาอื่นที่พบร่ วม
แก้ ไขปั ญหาทางอารมณ์
• แก้ ไขปั ญหาทางอารมณ์ ท่ เี กิดร่ วมด้ วย เช่ น โรคซึมเศร้ า
หรือวิตกกังวล
• ช่ วยให้ เด็กมีความนับถือตนเอง (self-esteem)
• แก้ ไขความสัมพันธ์ ในครอบครัว ครอบครัวของเด็กที่มี
ความตึงเครียดเนื่องมาจากการเรียนของเด็กและพ่ อแม่
มักไม่ เข้ าใจปั ญหาที่เด็กมี การอธิบายพ่ อแม่ ให้ มีความ
เข้ าใจที่ถูกต้ องและเปลี่ยนทัศนคติจากการตาหนิเด็กมา
เป็ นการช่ วยเหลือเด็กเป็ นสิ่งสาคัญ
ขาดความเชื่อมั่น การยอมรั บตนเอง
* ไม่ พยายามทาสิ่งใหม่
* กลัวความล้ มเหลว
* ขีอ้ าย เก็บตัว
* โกรธ ก้ าวร้ าว
* เบื่อการอ่ าน
* เบื่อการเรียน
ระยะที่ 6 การวิจัย
แสดงวงจรการวิจัยปฎิบัตกิ ารในชัน้ เรี ยน
ในแต่ ละรอบของการวิจัย
รวม 2 รอบ
การวิจัยปฎิบตั กิ ารในชัน้ เรียน
1. เริ่มจาการสารวจสภาพปั จจุบันเพื่อให้ เข้ าใจปั ญหา
และวางแผน (Plan) ด้ วยการจัดทายุทธศาสตร์
ช่ วยเหลือนักเรี ยนที่บกพร่ องทางการเรี ยนรู้
2. ลงมือช่ วยเหลือ (Action) โดยมีเทคนิควิธีการ และ
หรื อสื่อการเรี ยนรู้ ท่ สี ามารถนามาใช้ แก้ ปัญหานักเรี ยน
ที่บกพร่ องทางการเรี ยนรู้
3. ในระหว่ างรอบเวลาที่ช่วยเหลือให้ สังเกตว่ ามีการ
แก้ ปัญหาที่ตรงกับสภาพปั ญหาที่แท้ จริงของผู้เรี ยน
โดยรวบรวมข้ อมูลจากหลายแหล่ ง (Observe)
จุดด้ อยของการวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่ างเดี่ยว
•
•
•
•
•
•
การสรุ ปกลับไปสู่ประชากร
ไม่ ใช้ สถิตทิ ดสอบนัยสาคัญ
ไม่ เหมาะที่จะนาไปใช้ ในการศึกษาสาเหตุของพฤติกรรม
ไม่ มีกลุ่มควบคุมให้ เปรี ยบเทียบ
อาจมีปัญหาเกี่ยวกับความเที่ยงตรง
อาจควบคุมตัวแปรแทรกซ้ อนได้ ยาก
4. เสนอผลการปฎิบัตงิ าน และสะท้ อนผลการ
พัฒนานักเรี ยนและหรื อนวัตกรรมที่นามาใช้ ใน
การช่ วยเหลือ และสามารถนาผลไปใช้ ซา้
(Reflect)
5. ปฎิบัตกิ ารต่ อเนื่องจนทาให้ เข้ าใจปั ญหาเพียงพอ
และมีนวัตกรรมที่สามารถแก้ ปัญหาของนักเรี ยน
ให้ บรรลุผลได้ รวมถึงมีการปรั บปรุ งพัฒนางาน
ต่ อเนื่อง (Revise)
แบบที่ 1. การทดลองกลุ่มเดียวมีการวัด
ก่ อนและหลังใช้ นวัตกรรม
(One Group Pretest Posttest Design)
เขียนเป็ นแผนภูมไิ ด้ ดังนี ้
O1 X O2
O1 หมายถึง การวัดตัวแปรตามก่ อนใช้ นวัตกรรม
X หมายถึง การใช้ นวัตกรรม
O2 หมายถึง การวัดตัวแปรตามหลังใช้ นวัตกรรม
30
27
25
20
15
18
10
11
5
7
แม่ กก
17
10
แม่ กบ
รวม
0
ก่อ นเรี ยน
หลั งเรี ยน
จากแผนรูปภาพแสดงว่ า คะแนนก่อนเรียน หลังเรียน และคะแนนรวม
ของการสอนอ่านคาทีส่ ะกดด้ วยตัวสะกด แม่ กก และ แม่ กบ สู งขึน้
แบบที่ 2. ทดลองกลุ่มเดียวมีการวัดก่ อนและหลังการใช้
นวัตกรรมหลายครัง้
(A longitudinal Time Design)
เขียนเป็ นแผนภูมิได้ ดังนี ้
O1 O2 O3 O4 X
O5 O 6 O7 O8
O1 – O4 หมายถึงการวัดตัวแปรตามก่ อนใช้ นวัตกรรม
โดยมี่ช่วงเวลาห่ างเท่ า ๆ กัน เรียกว่ า Baseline
X
หมายถึงการใช้ นวัตกรรม
O5– O8 หมายถึงการวัดตัวแปรตามหลังใช้ นวัตกรรม โดยมี
ช่ วงเวลาห่ างเท่ า ๆ กันเหมือนการวัดก่ อนใช้
แบบทื่ 3 การทดลองกลุ่มเดี่ยว
Single Subject Research Designs
single-case experimental designs
• เป็ นการจัดทดลองเป็ น 2 ระยะคือ เมื่อ
ไม่ ได้ ให้ นวัตกรรมกับการให้ นวัตกรรม
และพฤติกรรมจะถูกวัดระหว่ างที่มีการให้
และไม่ ให้ นวัตกรรม (Gay & Airasian,
2003, page 383)
จุดเด่ นของการวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่ างเดี่ยว
•
•
•
•
•
•
ใช้ กลุ่มตัวอย่ างน้ อย
ไม่ เสียเวลา
แปลผลง่ าย
มีความยืดหยุ่นสูง
มีขัน้ ตอนง่ าย ๆ ไม่ ซับซ้ อน
เหมาะที่จะนามาใช้ ทางการศึกษาพิเศษ
จุดด้ อยของการวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่ างเดี่ยว
• การสรุ ปกลับไปสู่ประชากร
• ไม่ ใช้ สถิตทิ ดสอบนัยสาคัญ
• ไม่ เหมาะที่จะนาไปใช้ ในการศึกษาสาเหตุของ
พฤติกรรม
• ไม่ มีกลุ่มควบคุมให้ เปรี ยบเทียบ
• อาจมีปัญหาเกี่ยวกับความเที่ยงตรง
• อาจควบคุมตัวแปรแทรกซ้ อนได้ ยาก
รูปแบบที่นิยมใช้ มี 2 ลักษณะ คือ
ก AB
ข ABAB (reversal design)
โดยที่
A หมายถึง Baseline (สภาพปกติหรื อ Control)
B หมายถึง Treatment (การใช้ นวัตกรรม)
ประกอบด้ วย
• เส้ นฐาน (Baseline)
• การจัดกระทา (Intervention or
Treatment)
A – B Design
• เป็ นการทดลองแบ่ งเป็ น 2 ช่ วง คือ เส้ นฐาน
(Baseline) และวิธีการจัดกระทา (Intervention)
ลักษณะเดียวกันกับการวิจัยเชิงทดลองประเภท
quasi – experimental design
ระยะที่ 7 การ Bench Mark
Bench Mark
-ช่ วยปรับปรุ งประสิทธิภาพขององค์ กรได้
-เพื่อที่จะค้ นหาผู้ท่ ปี ฏิบตั ไิ ด้ ดที ่ สี ุด
• Where are we?
• Who is the best?
• How do they do it?
• How can we do it better?
ตัวอย่ างงานวิจัยปฎิบัตกิ าร
จากการดาเนินการค้ นหานักเรี ยน LD ผลปรากฏ ดังนี ้
ปั ญหา
คาที่ถกู
จแกัน
แจกัน
รโงเรี ยน
โรงเรี ยน
คแน
แคน
คโมไฟ
โคมไฟ
สื่อพัฒนาการเขียนคาที่มีพยัญชนะต้ นสลับที่กับ
สระแอและสระโอ จานวน 10 ชิน้ ดังนี ้
ชุดสื่ อ “คอมพิวเตอร์ พาเพลิน”
ชุดสื่ อ “กระเป๋ าตั้งโต๊ ะ”
ชุดสื่อ “กระดานหรรษา”
ชุดสื่อ “กระดานมหัศจรรย์ ”
แบบฝึ กการพัฒนาการเขียนคา มี 14 แบบฝึ ก
สื่อ “บัตรพยัญชนะ”
สื่อ “บัตรสระแอ”
สื่อ “บัตรสระโอ”
สื่อ “กระดาษลอกลาย”
สื่อ “บัตรคา”
สื่อ “บัตรภาพ”
ผลการสารวจจานวนนักเรียนที่บกพร่ อง
จาแนกตามประเภทความพิการ
การเห็น
การได้ ยนิ
สติปัญญา
ร่ างกาย
LD
การพูดและภาษา
พฤติกรรม
ออทิสติก
พิการซ้ อน
สารวจ ณ วันที10 มิถุนายน 2553 จานวน 16745 โรงเรี ยน จานวน 213,000 คน
แนวคิดสาคัญ
• วิธีการจัดการศึกษาที่ได้ ผลดีท่ สี ุด คือการป้องกันก่ อนที่
ปั ญหาจะเกิด
• แต่ หากไม่ สามารถป้องกันได้ ควรหาทางแก้ ไขปั ญหาก่ อนที่
ปั ญหานัน้ จะมีความ รุ นแรงมากขึน้
• “การช่ วยเหลือตัง้ แต่ ระยะแรกเริ่ม (Early Interventions)” มี
หลักฐานยืนยันว่ า เด็กที่มีความต้ องการจาเป็ นพิเศษไม่ ว่า
ประเภทใด หากได้ รับความช่ วยเหลือตัง้ แต่ อายุยังน้ อย เขา
จะยิ่งมีพฒ
ั นาการที่ดีขนึ ้ (Bruder, 2010)
• แต่ ปัญหาที่เกิดขึน้ ในห้ องเรียนปั จจุบันนี ้ คือ นักเรียน
จานวนไม่ น้อยมีความบกพร่ องเพียงเล็กน้ อย ปั ญหา
ดังกล่ าวจึงไม่ สามารถเห็นได้ ในระดับประถมศึกษา
ครูผ้ ูสอนที่ไม่ ได้ มีความเชี่ยวชาญด้ านเด็กที่มีความต้ องการ
พิเศษจึงไม่ สามารถสังเกตเห็นความแตกต่ างและให้ การ
ช่ วยเหลือได้ อย่ างทันท่ วงที
• ดังนัน้ หากรอให้ เกิดความชัดเจนในการคัดกรองเด็กว่ าต้ อง
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่ าชัน้ เรียนปกติ 2 ชัน้ เรียน
จึงอาจทาให้ สายเกินแก้ (wait to fail)
โมเดลการตอบสนองของผู
้
เ
รี
ย
นต่
อ
การสอน
:
RTI
ภาพความต่ อเนื่องของการสอนนักเรียนกลุ่มเสี่ยง (at risk)
ปรับจาก: “What is School-Wide PBS?” Technical Assistance Center on Positive Behavioral Interventions and Supports.
Accessed at http://pbis.org/schoolwide.htm
จุดเปลี่ยน นโยบาย LD
• ให้ ใช้ แบบคัดกรองของ ศธ. และ KUS-SI
• การประเมินใช้ 2 โมเดลทางเลือก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
เรียนรู้ สาหรับเด็กทุกคน รวมเด็ก LD คือ
1. การประเมินความไม่ สอดคล้ องกันระหว่ างระดับเชาว์
ปั ญญา (IQ) กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Acheavement)
2. ใช้ วธิ ีการตามแนวคิดของการตอบสนองต่ อการสอน
: RTI
โครงการโรงเรียนแกนนาจัดการเรียนร่ วม
ระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับบุคคลออทิสติก
• การเปิ ดห้ องเรี ยนคู่ขนานกับเด็กทั่วไป 1 ห้ องเรี ยน ต้ องมีครู จานวน 2
คน ต่ อนักเรี ยนออทิสติกระดับรุ นแรง/มาก 3 – 6 คน
• ปั จจุบันจัด 74 จังหวัด 104 สพป. 6 สพม. 157 โรงเรี ยน 176 ห้ องเรี ยน
ครู 330 คน นักเรี ยน 1361 คน
• บุคลากรส่ วนหนึ่งเป็ นครู ผ้ ูช่วย พนักงานราชการและครู อัตราจ้ าง
• จัดงบประมาณสนับสนุนสื่อประจาห้ องเรี ยนคู่ขนาน (คอมพิวเตอร์ 1
เครื่ อง, 90 เครื่ อง)
• จัดสื่อประจาห้ องเรี ยนๆ ละ 10,000 บาท
• ปรั บปรุ งเอกสารความรู้ , เอกสารประกอบหลักสูตร
• พัฒนาบุคลากร
• จัดทาแผนยุทธ์ ศาสตร์
แนวปฏิบัติในการประเมินผล
นักเรียนพิการเรียนร่ วม
กระบวนการตรวจสอบประเมินทางการศึกษา
1. การคัดแยกและบ่ งชีล้ ักษณะเฉพาะของผู้เรียน
(Screening and Identification)
2. การตรวจวินิจฉัยความบกพร่ อง (Diagnosis)
3. จัดการศึกษาที่เหมาะสมกับผู้เรียน (Education
Placement and Instructional Planning)
4. ติดตามประเมินความก้ าวหน้ าของนักเรียน (Progress
Monitoring)
กระบวนการตรวจสอบประเมินทางการศึกษา
IEP, IIP
นาสู่การสอนในชัน้ เรียน
การปรับเปลี่ยนการสอนและการประเมินผล
การช่ วยเหลือและอานวยความสะดวก
(Accommodations)
• การช่ วยเหลือและอานวยความสะดวก
เป็ นการส่ งเสริม สนับสนุนให้ ผ้ ูเรียนพิการหรือ
บกพร่ อง สามารถเข้ าถึงการเรียนการสอนหรือ
การสอบ แต่ ต้องไม่ เกิดการได้ เปรียบผู้เรี ยน
ทั่วไป
• ต้ องมีการบันทึกไว้ ในแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคล (Individualized Education
Program: IEP)
การช่วยเหลือและอานวยความสะดวก
(Accommodations)
• การเรี ยนการสอน
• การประเมินผล
การช่ วยเหลือและอานวยความสะดวก
(ACCOMMODATIONS)
ผู้เรียนพิการ
หรือบกพร่ อง
-ช่ วยให้ บรรลุมาตรฐาน
เช่ นเดียวกันกับผู้เรี ยนทั่วไป
การช่ วยเหลือและอานวยความสะดวก
(ACCOMMODATIONS)
ผู้เรียนพิการ
หรือบกพร่ อง
การพัฒนาเต็มศักยภาพ
เชื่อมโยงกับ
IEP ของเด็กแต่ ละคน
ปรับการประเมินอย่ างไร

จัดอุปกรณ์
ปรับเวลา
ปรับเครื่องมือประเมิน
กาหนดเกณฑ์
ให้ เหมาะสมกับศักยภาพ
ปรับวิธีการ
ปรับสภาพแวดล้ อม
การปรั บความช่ วยเหลือและสิ่งอานวยความสะดวก
•
•
•
•
รู ปแบบของข้ อสอบ (Presentation)
การจัดสภาพแวดล้ อม(Setting)
วิธีการตอบข้ อสอบ(Response)
การกาหนดเวลาสอบ/ ตารางสอบ (Timing/
Scheduling)
แบบทดสอบ
แบบของคาสั่ง
ใช้ อักษรเบรลล์
แบ่ งข้ อสอบเป็ นตอนๆ
อักษรตัวใหญ่
จัดจานวนข้ อ
ใช้ สีตัวอักษร/เทป
ปรั บวิธีทดสอบ
ปฏิบัติ
สังเกต
ผลงาน
ตอบปากเปล่ า
สัมภาษณ์
แบบฝึ กหัด
อ่ านข้ อสอบให้ /ช่ วยเขียนคาตอบ
แฟ้มพัฒนางาน
สภาพแวดล้ อม
ที่น่ ัง
ความพร้ อม
แสงสว่ าง
เสียง
แยกสอบในที่เงียบ
เวลา
ไม่ จากัดเวลา
สอบแล้ วพัก แล้ วสอบใหม่
เพิ่มเวลา
จัดลดจานวนข้ อสอบ
แบ่ งทาข้ อสอบเป็ นตอนๆ และสอบจนครบ
กาหนดเกณฑ์ การให้ คะแนนใหม่
ให้ เหมาะสมกับศักยภาพผู้เรี ยน
-ปรั บเปลี่ยนโดยอิงหลักสูตร
-กาหนดตามวัตถุประสงค์ ใน IEP
แนวทางในอนาคต
• การเรี ยนในชัน้ เรี ยนปกติ (ระดับอนุบาล ประถม มัธยม)
• การคัดกรองเด็กที่สงสัยและการวินิจฉัย
• การช่ วยเหลือทันทีท่ พ
ี บทุกคน (ชัน้ เรี ยนปกติ/เพิ่มการ
ช่ วยเหลือ)
• เน้ นการตอบสนองของผู้เรี ยน และช่ วยเหลือกลุ่มเสี่ยงทันทีท่ มี ี
สิ่งบ่ งชีค้ วามบกพร่ อง
• ไม่ ใช่ ทาเพียงครั ง้ เดียว แต่ มีการคัดกรองและเพิ่มการช่ วย
เหลือหลายระดับ ก่ อนที่จะสายเกินแก้
• หากไม่ ได้ ผล จึงประเมินความต้ องการจาเป็ นพิเศษเฉพาะ
บุคคล
กรณีเด็กพิการรุนแรง : IEP ของเด็กแต่ ละคน
ไม่ สามารถเรียนสาระการเรียนรู้ /รายวิชาใด
 ให้ ประเมินผลตามจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมที่
กาหนดไว้ ใน แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)
 โดยเป็ นการประเมินเฉพาะบุคคล
 ไม่ ต้องเปรี ยบเทียบกับเด็กปกติ

กรณีเด็กพิการเรียนร่ วมกับเด็กทั่วไป
ในสาระการเรียนรู้ /รายวิชาใด
ให้ ใช้ เกณฑ์ ประเมินผลในสาระการเรี ยนรู้ นัน้ ๆ
ตามปกติ
 ต้ องพิจารณาปรั บวิธีการสอบ กาหนดเวลาในการ
สอบ อุปกรณ์ และสิ่งจาเป็ นอื่นๆ ให้ เหมาะสม
 โดยต้ องพิจารณาเป็ นเฉพาะบุคคล
 ในรายวิชาที่ปรั บเปลี่ยนจะต้ องมีการสอนที่
สอดคล้ องในชัน้ เรี ยน

สรุ ป
เมื่อผู้เรียนบกพร่ องและแตกต่ างเป็ นรายบุคคล
จึงต้ องให้ ความช่ วยเหลือ (Accommodation)
โดยต้ องมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
ปรั บเปลี่ยนอย่ างเหมาะสม และสอดคล้ อง
กับความต้ องการจาเป็ นพิเศษเฉพาะบุคคล
เพื่อเด็กเรี ยนรู้ ได้ เต็มศักยภาพ
[email protected]
สวัสดี