การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

Download Report

Transcript การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

การพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ พนื้ ฐาน
ด้ วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CIPPA MODEL
The result of The Development of Learning achievement in Basic
Science by The Knowledge Management Model as CIPPA Model
โดย นางสาววิลาวรรณ์ วงศ์ ขตั ยิ ์
รหัสนักศึกษา 542132032
สาขาวิชาการจัดการความรู้
วิทยาศาสตร์ มีบทบาทสาคัญยิง่ ในสังคมโลกยุคปั จจุบนั และอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์
เกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคน
ทั้งในการดารงชีวติ ประจาวันและในงานอาชีพต่างๆ
เครื่ องมือเครื่ องใช้ตลอดจนผลผลิตต่างๆ ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและในการ
ทางาน ล้วนเป็ นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์ และ
ศาสตร์อื่นๆ ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ช่วยให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างมาก ซึ่ ง
วิทยาศาสตร์ทาให้คนได้พฒั นาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็ นเหตุเป็ นผล คิดสร้างสรรค์ คิด
วิเคราะห์วิจารณ์ มีทกั ษะที่สาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถแก้ไขปั ญหา
อย่างเป็ นระบบ
สามารถตัดสิ นใจโดยใช้ขอ้ มูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่
ตรวจสอบได้
วิทยาศาสตร์ เป็ นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่ ึ งเป็ นสังคมแห่งความรู้
(knowledge based society) เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ กลไกธรรมชาติและเทคโนโลยี
ที่มนุษย์สร้างสรรค์ข้ ึน และนาความรู ้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ มีคุณธรรม
(กรมวิชาการ. 2544: 18 อ้างถึงในรชาดา บัวไพร.2552)
ในการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ ผเู้ รี ยนควรได้รับการพัฒนาและ
สร้างความเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์เป็ นทั้งความรู้และกระบวนการสื บ
เสาะหาความรู้ ผูเ้ รี ยนทุกคนควรได้รับการกระตุน้ ส่ งเสริ มให้สนใจ
และกระตือรื อร้นที่จะเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ มีความมุ่งมัน่ ที่จะศึกษา
ค้นคว้าสื บเสาะหาความรู้เพื่อรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ผลนาไปสู่
คาตอบของคาถาม สามารถตัดสิ นใจด้วยการใช้ขอ้ มูลอย่างมีเหตุผล
สามารถสื่ อสารคาถามคาตอบ ข้อมูลและสิ่ งที่คน้ พบจากการเรี ยนรู้
ให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้(อาภรณ์ ล้อสังวาลย์.2545)
ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี ยนรู้และสื่ อสารซึ่ งจะ
ส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจ สามารถเชื่อมโยงองค์ประกอบทั้งหมด
แบบองค์รวม
สร้างความรู้เป็ นของตนเองเพื่อให้ผเู้ รี ยนมี
ความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์สิ่งต่างๆโดยอาศัย
ความรู้วิทยาศาสตร์ จินตนาการและศาสตร์ อื่นๆร่ วมด้วยสามารถ
ตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผล สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต(อาภรณ์ ล้อสังวาลย์.2545)
การจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์สาหรับหลักสูตรการอาชีวศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ที่เน้น
กระบวนการไปสู่การสร้างองค์ความรู ้เพื่อให้การศึกษาวิทยาศาสตร์บรรลุผล
ตามที่มุ่งหวังไว้(อาภรณ์ ล้อสังวาลย์.2545)
ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐานของกลุ่ม
นักเรี ยนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพในปัจจุบนั นั้น พบว่านักเรี ยนยังขาด
ความสนใจในการเรี ยน ไม่มีความกระตือรื อร้นในการเรี ยน นักเรี ยนมองไม่
เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาที่เรี ยน และเมื่อทาการทดสอบเก็บคะแนนในแต่
ละบทเรี ยนแล้วนักเรี ยนส่ วนใหญ่ได้คะแนนน้อยและสอบไม่ผา่ นตามเกณฑ์ที่
กาหนดไว้
ใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนที่หลากหลาย อาทิเช่น การจัดการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือ(Cooperative
Learning)หรื อแบบมีส่วนร่ วมโดยเป็ นการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถต่างกันได้ร่วมมือกัน
ทางานกลุ่ม(อาภรณ์
ใจเที่ยง.2553:124)การจัดการเรี ยนรู ้แบบบรรยาย
อธิบาย ซึ่งเป็ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ครู ผสู ้ อนบอกเล่า อธิบาย เนื้อหา
หรื อเรื่ องราวต่างๆให้แก่ผเู ้ รี ยนโดยที่ผสู ้ อนเป็ นฝ่ ายเตรี ยมการศึกษาค้นคว้า
เนื้อเรื่ องมาแล้วเป็ นอย่างดี ผูเ้ รี ยนเป็ นฝ่ ายมารับผลการศึกษาค้นคว้าเท่านั้นซึ่ง
โดยทัว่ ไปมักจะเป็ นการสื่ อความหมายทางเดียว คือ จากผูส้ อนไปสู่ ผเู ้ รี ยน
โดยผูเ้ รี ยนจะมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนการสอนน้อย เพียงแต่ฟัง จด
บันทึก หรื อซักถามเป็ นบางครั้งเท่านั้น(อาภรณ์ ใจเที่ยง.2553:141)
ช่วยกันค้นคว้าหรื อทากิจกรรมที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็ จ(อาภรณ์
ใจเที่ยง.2553:153)การจัดการเรี ยนรู ้แบบแก้ปัญหา เป็ นการจัดกิจกรรมที่ให้
ผูเ้ รี ยนคิดแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Method)ซึ่ง
เป็ นวิธีการแก้ปัญหาที่มีข้นั ตอน มีเหตุผล มีการรวบรวมข้อมูล มีการ
ทดลอง วิเคราะห์ขอ้ มูล และสรุ ปผล(อาภรณ์ ใจเที่ยง.2553:156)จากการ
ใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นทาให้พบว่าผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนในรายวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐานยังอยูใ่ นระดับที่ไม่น่าพอใจ
รวมถึงนักเรี ยนวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยามีความแตกต่างกัน
นักเรี ยนมีท้ งั นักเรี ยนปกติ นักเรี ยนชนเผ่า
เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มหรื อบางคนเข้าร่ วมกลุ่มแต่ไม่มีการ
แสดงความคิดเห็น การติดต่อสื่ อสารระหว่างนักเรี ยนในกลุ่มยังไม่ดี
และยังไม่ประสบความสาเร็ จเท่าที่ควร
ดังนั้นผูว้ จิ ยั จึงคิดที่จะหา
วิธีการการจัดการเรี ยน การสอนที่ช่วยทาให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้
ได้ดีข้ ึน
ซึ่งเป็ นหลักในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่างๆให้แก่ผเู ้ รี ยน การจัด
กระบวนการเรี ยนการสอนตามหลัก CIPPA นี้สามารถใช้วิธีการและ
กระบวนการที่หลากหลาย ได้มีการนาไปทดลองใช้แล้วได้ผลดี ประกอบด้วย
ขั้นตอนการดาเนินการ 7 ขั้นตอนดังนี้
(ทิศนา แขมมณี .2552:86-88)
ขั้นที่ 1 การทบทวนความรู ้เดิม
ขั้นนี้เป็ นการดึงความรู ้เดิมของผูเ้ รี ยนในเรื่ องที่จะเรี ยนเพื่อช่วยให้
ผูเ้ รี ยนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู ้ใหม่กบั ความรู ้เดิมของตนซึ่งผูส้ อน
อาจใช้วิธีการอย่างหลากหลาย
ขั้นนี้เป็ นการแสวงหาข้อมูลความรู ้ใหม่ของผูเ้ รี ยนจากแหล่งข้อมูล
หรื อแหล่งความรู ้ต่างๆซึ่งครู อาจจัดเตรี ยมมาให้กบั ผูเ้ รี ยนหรื อให้คาแนะนา
เกี่ยวกับแหล่งข้อมูลต่างๆเพื่อให้ผเู ้ รี ยนไปแสวงหาก็ได้
ขั้นที่ 3 การศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล ความรู ้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู ้ใหม่กบั
ความรู ้เดิม
ขั้นนี้เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนจะต้องศึกษาและทาความเข้าใจกับข้อมูล ความรู ้
ที่หามาได้ ผูเ้ รี ยนจะต้องสร้างความหมายของข้อมูล ประสบการณ์ใหม่ๆโดยใช้
กระบวนการต่างๆด้วยตนเอง เช่น ใช้กระบวนการคิดและกระบวนการกลุ่มใน
การอภิปรายและสรุ ปความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้นๆซึ่งจาเป็ นต้องอาศัยความรู ้
เดิม
ขั้นนี้เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนอาศัยกลุ่มเป็ นเครื่ องมือในการตรวจสอบความรู ้
ความเข้าใจของตน รวมทั้งขยายความรู ้ความเข้าใจของตนให้กว้างขึ้นซึ่งจะช่วย
ให้ผเู ้ รี ยนได้แบ่งปันความรู ความเข้าใจของตนแก่ผอู ้ ื่น
ขั้นที่ 5 การสรุ ปจัดระเบียบความรู ้และวิเคราะห์กระบวนการเรี ยนรู ้
ขั้นนี้เป็ นขั้นของการสรุ ปความรู ้ที่ได้รับทั้งหมดทั้งความรู ้เดิมและ
ความรู ้ใหม่และจัดสิ่ งที่เรี ยนให้เป็ นระบบระเบียบเพื่อช่วยให้ผเู ้ รี ยนจดจาสิ่ งที่
เรี ยนรู ้ได้ง่ายรวมทั้งวิเคราะห์การเรี ยนรู ้ท้ งั หลายที่เกิดขึ้น
จะเป็ นขั้นที่ช่วยให้ผเู ้ รี ยน ได้มีโอกาสแสดงผลงานการสร้างความรู ้ของ
ตนให้ผอู ้ ื่นรับรู ้เป็ นการช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้ตรวจสอบความเข้าใจของตนและช่วย
ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนใช้ความคิดสร้างสรรค์
ขั้นที่ 7 การประยุกต์ใช้ความรู ้
ขั้นนี้เป็ นขั้นของการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกฝนการนาความรู ้ความ
เข้าใจของตนไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่หลากหลายเพือ่ เพิ่มความชานาญ
ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหาและความจาในเรื่ องนั้นๆ
หมายถึง รู ปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้มีส่วน
ร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยการฝึ กคิด
ฝึ กค้นคว้ารวบรวมข้อมูลและ
สร้างสรรค์ความรู ้ดว้ ยตนเอง ตลอดจนฝึ กตนเองให้มีวินยั และรับผิดชอบในการ
ทางาน (ทิศนา แขมณี . 2542 : 14-15 อ้างถึงในกัสมัสห์ อาแด.2548)
C ย่อมาจาก construct คือ การให้ผเู ้ รี ยนสร้างองค์ความรู ้ดว้ ยตนเอง โดย
การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ทาความเข้าใจ คิดวิเคราะห์ แปลความ ตีความ สร้าง
ความหมาย สังเคราะห์ขอ้ มูล และสรุ ปเป็ นข้อความรู ้
คือ การให้ผเู ้ รี ยนได้มีปฏิสมั พันธ์ต่อกัน แลกเปลี่ยน และเรี ยนรู ้
ข้อมูล ความคิด ประสบการณ์ซ่ ึงกันและกัน
P ย่อมาจาก participation คือ การให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมทั้งในด้านร่ างกาย
อารมณ์ ปัญญาและสังคม ในการเรี ยนรู ้ให้มากที่สุด
P ย่อมาจาก process and product คือ การให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้กระบวนการ
และมีผลงานจากการเรี ยนรู ้
A ย่อมาจาก application คือ การให้ผเู ้ รี ยนนาความรู ้ที่ได้ไปประยุกต์หรื อ
ใช้ในชีวิตประจาวัน
1. แนวคิดการสร้างสรรค์ความรู้ (Constructivism)
2. แนวคิดเรื่ องกระบวนการกลุ่มและการเรี ยนแบบร่ วมมือ
(Group process and Corporative Learning)
3. แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรี ยนรู้ (Learning
Readiness)
4. แนวคิดเกี่ยวกับการเรี ยนรู้กระบวนการ (Process Learning)
5. แนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนการเรี ยนรู้ (Transfer of
Learning)
ผูว้ จิ ยั เห็นว่ารู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ CIPPA MODEL มีความแตกต่าง
จากรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ที่ใช้จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนในปั จจุบนั คือ เป็ น
รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นนักเรี ยนเป็ นผูก้ ระทากิจกรรม ได้ฝึกทักษะการอภิปราย
แสดงความคิดเห็น การศึกษาค้นคว้า การแลกเปลี่ยนความรู ้กบั เพื่อน การสรุ ปความรู้ที่
ได้รับการสร้างสรรค์ผลงานของตนเองจากความรู้ความเข้าใจและนาความรู้ไปใช้
แก้ปัญหาและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้และถ้านามาใช้กบั นักเรี ยนที่มีความหลาย
หลาย แตกต่างกันนั้นน่าจะช่วยให้นกั เรี ยนเข้าใจในสิ่ งที่เรี ยน สามารถอธิบาย ชี้แจง
ตอบคาถามได้ดี นอกจากนี้ยงั ได้พฒั นาทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์
การทางานเป็ นกลุ่ม การสื่ อสาร รวมทั้งเกิดความใฝ่ รู ้ดว้ ยหลังการจัดกิจกรรมการ
เรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบ CIPPA MODEL
ผลสัมฤทธิ์ ทางด้านการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์ พ้นื ฐานของนักเรี ยนอยูใ่ น
เกณฑ์ต่าทั้งนี้ถา้ วิเคราะห์จากสภาพปั จจุบนั พบว่าสาเหตุมาจากปั จจัยต่าง ๆ พอสรุ ปได้
ดังนี้คือ 1) ด้านตัวครู พบว่า การจัดการเรี ยนรู ้ของครู ยงั ไม่สอดคล้องกับกระบวนการ
เรี ยนรู้ของนักเรี ยน มุ่งเน้นสอนเนื้อหามากกว่ากระบวนการคิด ขาดเทคนิควิธีในการจัด
กิจกรรมการเรี ยนการสอน อันได้แก่ การเตรี ยมการสอน การเลือกใช้สื่อการสอน เลือกวิธี
สอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพการเรี ยนการสอน 2) ด้านตัวผูเ้ รี ยน พบว่า นักเรี ยน
ยังขาดความสนใจในกิจกรรมการเรี ยนการสอน มีความกระตือรื อร้นน้อย มองไม่เห็น
ความสัมพันธ์ของเนื้อหา ขาดทักษะการคิด และทักษะกระบวนการกลุ่มส่ งผลให้นกั เรี ยน
ส่ วนมากมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่า 3) ด้านตัวหลักสู ตร เนื้อหาบางส่ วนซับซ้อนยากแก่
การเข้าใจ(รชาดา บัวไพร.2552:ระบบออนไลน์)นอกจากนี้ยงั มีปัญหาทางการ
ปกติและนักเรี ยนชนเผ่า จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นผูว้ ิจยั จึงมีความ
สนใจที่จะศึกษาและพัฒนาโดยมุ่งไปที่ตวั นักเรี ยนว่านักเรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐานอยูใ่ นเกณฑ์ต่านั้นถ้ามีการนารู ปแบบ
การจัดการความรู ้แบบ CIPPA MODEL ถ้ามีการนารู ปแบบการจัดการ
เรี ยนรู ้แบบ CIPPA MODEL มาใช้กบั วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา
แล้วจะส่ งผลให้นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
อยูใ่ นเกณฑ์ที่สูงขึ้นได้
การวิจยั เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
ด้วยรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ CIPPA Model ในครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อ
เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐานของนักเรี ยน
ก่อนและหลังเรี ยนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ CIPPA Model และ
เพื่อพัฒนานักเรี ยนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐานอยู่
ในเกณฑ์ที่สูงขึ้นหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ CIPPA Model
1.แนวคิดเกี่ยวกับหลักการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
2.แนวคิดการจัดการความรู ้
3.แนวคิดการจัดการความรู ้ในการเรี ยนการสอนตามหลักสูตร
อาชีวศึกษา
4.แนวคิดการจัดการเรี ยนการสอนตามแนวปฏิรูปการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยน
เป็ นสาคัญ
5.แนวคิดหลักการจัดการเรี ยนรู ้แบบโมเดลซิปปา
6.แนวทางการจัดการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์
สรุปงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการจัดการเรียนรู้ CIPPA MODEL
รชาดา บัวไพร(2552:ระบบออนไลน์ ) ศึกษาการจัดการเรี ยนการสอน
โดยใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนแบบโมเดลซิปปาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ยนและเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรี ยนมัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 1 โรงเรี ยน
สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา 1 ห้องเรี ยนจานวน 54 คน พบว่า
ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบซิปปา
โมเดล หลังเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ
ค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติทางวิทยาศาสตร์หลังเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิทยาศาสตร์และเจตคติทาง
วิทยาศาสตร์โดยใช้การสอนรู ปแบบซิปปาร่ วมกับเทคนิคการใช้คาถามของ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดเขาวงก์ 1 ห้อง 30 คนพบว่า
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิทยาศาสตร์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสูง
กว่าก่อนเรี ยนและระดับเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรี ยนอยูใ่ นระดับดี
ศึกษาการสร้างชุดการเรี ยนการสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้
แบบ CIPPA MODEL เรื่ อง ความสัมพันธ์ระหว่างรู ปเรขาคณิ ต 2 มิติและ 3
มิติ สาหรับนักเรี ยนมัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 1 โรงเรี ยนสตรี ยะลา จังหวัดยะลา
จานวน 40 คน พบว่า ชุดการเรี ยนการสอนโดยใช้รูปแบบ CIPPA MODEL
ที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้นมีประสิ ทธิภาพของชุดการเรี ยนการสอนE1/E2
ร้อยละ
84.64/74.58 ซึ่งสู งกว่าเกณฑ์ 70/70 ที่กาหนดไว้และความสนใจในวิชา
คณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนหลังจากที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้ดว้ ยชุดการเรี ยนการ
สอนสูงกว่าความสนใจก่อนได้รับการจัดการเรี ยนรู ้ดว้ ยชุดการสอนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05
ศึกษาการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรี ยนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 5ที่จดั การเรี ยนรู ้แบบโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL)กับวิธี
สอนแบบปกติ โรงเรี ยนอนุบาลแสวงหา 48 คนพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ยนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่
ระดับ.05 ความคิดสร้างสรรค์ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกัน
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และการจัดการเรี ยนรู ้แบบ MODEL
CIPPA มีผลทาให้นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนดีข้ ึน
ศึกษาวิจยั ปฏิบตั ิการพัฒนากิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่ อง โลกและการเปลี่ยนแปลงโดยรู ปแบบ CIPPA MODEL
นักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนที โอ เอ วิทยา 1 ห้องเรี ยน พบว่า
ผลสัมฤทธิ์โดยใช้ CIPPA MODEL เรื่ องโลกและการเปลี่ยนแปลงมีคะแนน
ผลสัมฤทธิ์คิดเป็ นร้อยละ 82.84 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ร้อยละ 75 และ
จานวนนักเรี ยนที่ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 95.83 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ร้อยละ 75
ศึกษาผลของการสอนโดยใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนซิปปาที่เน้น
กระบวนการเรี ยนรู ้ทางภาษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนและเจตคติต่อการ
เรี ยนภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบางบัว(เพ่งตั้ง
ตรงจิตรวิทยาคาร) จานวน 70 คน พบว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
ภาษาอังกฤษที่ได้รับการสอนแบบ CIPPA MODEL สูงกว่านักเรี ยนที่ได้รับการ
สอนตามปกติอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 คะแนนเจตคติต่อการเรี ยน
ภาษาอังกฤษของนักเรี ยนที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการเรี ยนการสอน
CIPPA MODEL เน้นกระบวนการเรี ยนรู ้ทางภาษาสูงกว่านักเรี ยนที่ได้รับการ
สอนตามปกติอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ.05
ศึกษาการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนและทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรี ยนการ
สอนแบบ CIPPA MODEL กับแบบปติ โรงเรี ยนวัดหน้าเขา จานวน 60 คน
พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิทยาศาสตร์ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาที่
ได้รับการจัดการเรี ยนการสอนแบบ CIPPA MODEL สูงกว่าแบบปกติ ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในภาพรวมของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่
ได้รับการจัดการเรี ยนการสอนแบบ CIPPA MODEL สูงกว่าแบบปกติ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนและค่านิยมทางวิทยาศาสตร์ดา้ นการมี
เหตุผลของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี่ ที่ 2 ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ตาม
รู ปแบบ CIPPA โรงเรี ยนธรรมโชติศึกษา จานวน 40 คนพบว่านักเรี ยนที่
เรี ยนด้วยกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบ CIPPA มีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ยนวิทยาศาสตร์หลังเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่
ระดับ.01 นักเรี ยนที่เรี ยนด้วยกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบ CIPPA
มีค่านิยมทางวิทยาศาสตร์ดา้ นการมีเหตุผลหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.01
ศึกษาการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
ภาษาไทยโดยรู ปแบบการสอน CIPPA กับการสอนปกติของนักเรี ยนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนอนุบาลประจันตคาม อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี
2 ห้อง 72 คนพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาภาษาไทยของนักเรี ยนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 2 หลังได้รับการสอนโดยรู ปแบบการสอน CIPPA MODEL
มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนปกติอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่
ระดับ.05
ศึกษาการพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยใช้การสอนแบบ CIPPA
MODEL ประกอบแบบฝึ กทักษะเรื่ อง สมบัติของสารและการจาแนกเพื่อ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ช้ นั มัธยมศึกษา
ปี ที่ 1 โรงเรี ยนเทศบาล 2 (คลองจิหลาด) จังหวัดกระบี่ จานวน 30 คนพบว่า
รู ปแบบการสอน CIPPA MODEL มีประสิ ทธิภาพเท่ากับ75.00/80.91 สูงกว่า
เกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ นักเรี ยนมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสูงกว่า
ก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
โรงเรี ยนเทศบาล 2 (คลองจิหลาด) มีความพึงพอใจต่อรู ปแบบการเรี ยนการสอน
โดยใช้การสอนแบบ CIPPA MODEL ประกอบโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00
ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้รูปแบบ CIPPA ใน
วิชาฟิ สิ กส์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว โพนทอง อ.นาทรายทอง นครหลวงเวียงจันทน์ จานวน 54 คน
พบว่ารู ปแบบ CIPPA ทาให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจในเนื้อหาวิชาที่เรี ยน นักเรี ยนให้ความ
สนใจในการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนมากยิง่ ขึ้น เกิดความสนุกสนาน
นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้กระบวนการกลุ่มรวมทั้งเกิดปฏิสมั พันธ์ระหว่างนักเรี ยนกับ
นักเรี ยน นักเรี ยนกับครู และนักเรี ยนกับสิ่ งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งทาให้นกั เรี ยนได้
มีการเคลื่อนไหวร่ างกาย
นาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆได้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนร้อยละ 64.81 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
วิชาฟิ สิ กส์เรื่ อง งานและพลังงานผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ ร้อยละ 60 ของ
คะแนนเต็ม
ศึกษาการพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นนักเรี ยนเป็ นสาคัญรายวิชา
คณิ ตศาสตร์เพิ่มเติมนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง สมการกาลัง 2 ตัวแปร
เดียวโดยใช้รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) โรงเรี ยนชุมแพ
ศึกษา อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น จานวน 45 คน พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
วิชาคณิ ตศาสตร์มีผลสัมฤทธิ์ผา่ นเกณฑ์ที่กาหนดคิดเป็ นร้อยละ 87.11 ความ
คิดเห็นของนักเรี ยนต่อการใช้รูปแบบการสอน MODEL CIPPA ในภาพรวม
อยูใ่ นระดับมากที่สุด
ศึกษาผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ระบบจานวนเต็ม
โดยใช้กิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามตัวแบบซิปปา(CIPPA MODEL)สาหรับนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จานวน 31 คนพบว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสู ง
กว่าเกณฑ์ความรอบรู ้ที่กาหนดไว้ร้อยละ 80 มีค่าเฉลี่ย 24.76 จากคะแนนเต็ม
30 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 82.37 มีนกั เรี ยนผ่านเกณฑ์ 28 คน จากนักเรี ยน 31
คน คิดเป็ นร้อยละ 90.32
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์และทักษะการเชือ่ มโยง
ทางคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ด้านวิธีการจัดการเรี ยนรู ้
แบบซิปปา (CIPPA MODEL) โรงเรี ยนวิเศษไชยชาญ ตันติวิทยาภูมิ จานวน
105 คน พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์หลังการจัดการเรี ยนรู ้
CIPPA MODEL มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรี ยนดีข้ ึน คิดเป็ นร้อยละ 70 ทักษะการ
เชื่อมโยงทางคณิ ตศาสตร์ของกลุ่มทดลองจัดการเรี ยนรู ้แบบ CIPPAมีคะแนน
เฉลี่ยหลังเรี ยนคิดเป็ นร้อยละ 75
ศึกษาการพัฒนาผลการเรี ยนรู ้ เรื่ อง ระบบร่ างกายมนุษย์ของนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ด้วยรู ปแบบ CIPPA โรงเรี ยนเมืองพัทยา 8
(พัทธยานุกลู ) อ.บางละมุง จ.ชลบุรี จานวน 34 คน พบว่าแผนการจัดการเรี ยนรู ้
CIPPA MODEL มีประสิ ทธิภาพ 86.80/81.40 ผลการเรี ยนรู ้ก่อนและหลัง
เรี ยน CIPPA แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ.05 โดยหลังเรี ยนสูงกว่าก่อน
เรี ยน ความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 เห็นด้วยต่อการจัดกิจกรรม
CIPPA MODEL อยูใ่ นระดับเห็นด้วยมาก
4.1เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐานก่อนและหลังเรี ยนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ CIPPA Model
4.2เพื่อพัฒนานักเรี ยนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐานอยูใ่ นเกณฑ์ที่สูงขึ้นหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้
CIPPA
Model
5.1นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐานอยูใ่ น
เกณฑ์ที่สูงขึ้น
5.2นักเรี ยนเกิดทักษะกระบวนการในการคิด และสร้างองค์ความรู ้
ด้วยตนเองได้ดีข้ ึนรวมทั้งมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์
5.3เป็ นแนวทางในการแก้ปัญหาที่ตวั นักเรี ยนให้เรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐานได้ดีข้ ึนรวมถึงทาให้ทราบพฤติกรรมต่างๆของนักเรี ยนได้ดีข้ ึน
6.1ขอบเขตของการวิจัย
6.1.1ประชากรทีใ่ ช้ ในการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ นักเรี ยนระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่1/4 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา ต.แม่นา
เรื อ อ.เมือง จ.พะเยา 1 ห้องเรี ยน จานวน 25 คน
6.1.2กลุ่มตัวอย่ างทีใ่ ช้ ในการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ นักเรี ยนระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่1/4 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา ต.แม่นา
เรื อ อ.เมือง จ.พะเยา 1 ห้องเรี ยน จานวน 25 คน
6.3.1เนื้อหาที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ เนื้อหาในรายวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐาน รหัสวิชา 2000-1401 หน่วยที่ 5 เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม
6.4ตัวแปรทีศ่ ึกษา
6.4.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ รู ปแบบการจัดการเรี ยนการสอน CIPPA
MODEL
6.4.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐาน
6.5.1ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิทยาศาสตร์ของนักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้
รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ CIPPA MODEL อยูใ่ นเกณฑ์ที่สูงขึ้น
6.6 การสร้ างเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
ผูว้ ิจยั ได้ดาเนินการสร้างเครื่ องมือในการวิจยั ดังต่อไปนี้
1. แผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบโมเดลซิปปาวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
3. แบบประเมินการนาเสนองานกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
การดาเนินการทดลองสอนวิทยาศาสตร์ มีข้ นั ตอนดังนี้
6.7.1 สุ่ มนักเรี ยนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 ซึ่ งได้รับการเลือก
แบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวน 25 คน
6.7.2 ผูว้ ิจยั ดาเนินการทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) ด้วยแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐานของนักเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง
6.7.3ผูว้ ิจยั เป็ นผูด้ าเนินการจัดการเรี ยนรู ้รายวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน
เรื่ อง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ด้วยตนเอง ซึ่ งดาเนินการสอนกลุ่มตัวอย่างตามแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้รายวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน โดยใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบโมเดลซิ ปปา เป็ นระยะเวลา
ทั้งสิ้ น 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ชัว่ โมง
6.7.4 ผูว้ ิจยั นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐานเรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมไปทดสอบนักเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง ด้วย
แบบทดสอบชุดเดิมหลังเรี ยนอีกครั้ง (Post-test)
6.7.5นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน
เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม มาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
6.8.1หาค่ามัชฌิมเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม ก่อนและหลังการทดลองของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่าง
6.8.2
เปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม โดยการทดสอบค่าที (t-test) ที่ระดับความมีนยั สาคัญทางสถิติ.05
6.8.3
เปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม โดยการวิเคราะห์ความ
แตกต่างระหว่างการทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนโดยใช้สถิติ ทดสอบการ
แจกแจงแบบที (t-test)
1. สร้างแผนการจัดการเรี ยนรู้ตามรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู้แบบโมเดลซิปปา จานวน 3 แผน ส่วนประกอบของ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ประกอบด้วย ชื่อแผนการจัดการเรี ยนรู้ จานวนคาบ มาตรฐานและผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง สาระสาคัญ
จุดประสงค์การเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้ กิจกรรมการเรี ยนการสอน สื่ อ/แหล่งการเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล ใช้เวลาจัดการ
เรี ยนรู้เป็ นเวลา 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ชัว่ โมง แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ผวู้ ิจยั สร้างขึ้นมีข้นั ตอน 7 ขั้นตอนดังนี้
1.1 ขั้นทบทวนความรู้เดิม
1.2 ขั้นสร้างความรู้ใหม่
1.3 ขั้นศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล / ความรู้ใหม่และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิม
1.4 ขั้นแลกเปลี่ยนความรู้ความเขาใจกับกลุ่ม
1.5 ขั้นสรุ ปและจัดระเบียบความรู้
1.6 ขั้นแสดงผลงาน
1.7 ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้
โดยมีข้นั ตอนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ดังนี้
1. ดาเนินการทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐาน ที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างก่อนสอนแล้วตรวจให้คะแนน
2.ทาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ ดังต่อไปนี้
จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ตามรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู้แบบ CIPPA MODEL เรื่ องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
1.1ครู นาภาพทรัพยากรธรรมชาติทวั่ ไปทั้งที่ถกู ทาลาย ภาพปั ญหาสิ่ งแวดล้อม
เป็ นพิษและทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ถกู ทาลายให้นกั เรี ยนดู
เช่น
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรน้ า ทรัพยากรป่ าไม้ ทรัพยากรแร่ ธาตุ ทรัพยากรอากาศ และภาพมลพิษทาง
อากาศจากรถยนต์ มลพิษทางอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรม มลพิษทางเสี ยงที่เกิดจาก
รถยนต์และจากเครื่ องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม มลพิษของน้ าจากการทิ้งขยะ มลพิษ
ทางดินที่เกิดจากสารเคมี มลพิษจากขยะมูลฝอย ให้นกั เรี ยนอภิปรายการกระทาของ
มนุษย์ที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมพร้อมทั้งบอกเหตุผลประกอบ
1.2ให้นกั เรี ยนเล่าประสบการณ์ที่นกั เรี ยนเคยเผลอไปทาลายทรัพยากรธรรมชาติ
ทั้งทรัพยากรดิน น้ า ป่ าไม้ แร่ ธาตุ อากาศและที่เคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน
(องค์ประกอบ P Physical Participation , I Interaction)
2.1ครู เชิญวิทยากรที่ทางานเกี่ยวกับนักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมา
ทาการบรรยายให้นกั เรี ยนฟัง
2.2ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม 4-5 คน ตามความสมัครใจ คละเพศ ตั้งชื่อกลุ่ม
และบทบาทหน้าที่ของสมาชิก ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากใบความรู ้ และ
เอกสารต่างๆเกี่ยวกับประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม สาเหตุและผลกระทบที่
สาคัญของปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมและการพัฒนา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน
(องค์ประกอบ C=Construct , P=Process Skill , I=Interaction)
3.1ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนแผนที่ความคิดเกี่ยวกับประเภท
ของทรัพยากรธรรมชาติแต่ละชนิด ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม สาเหตุและผลกระทบที่สาคัญของปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมรวมถึงการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน
(องค์ประกอบ C=Construct , P=Process Skill , P=Physical Participation)
ขั้นที่ 4 ขั้นแลกเปลีย่ นความรู้ ความเข้ าใจกับกลุ่ม
4.1 ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน อธิบายให้เพื่อนๆฟังและให้
เพื่อนซักถามเมื่อสงสัย
4.2ครู และนักเรี ยนร่ วมสรุ ปประเด็นสาคัญของเรื่ อง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมโดยเขียนเป็ นข้อๆบนกระดาน
5.1ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มจัดบอร์ดเรื่ องเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมตามหัวข้อที่กลุ่มสนใจ
เช่น
ประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติ ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
สาเหตุและผลกระทบที่สาคัญของปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ ง
แวดล้อม การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน เป็ น
ต้น (องค์ประกอบ C=Construct)
ขั้นที่ 6 ขั้นปฏิบัติและ/หรือแสดงผลงาน
6.1ให้นกั เรี ยนแต่ละคนเขียนรายงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมที่ตนเองนาไปปฏิบตั ิที่บา้ นส่ งครู ครู ตรวจผลงานและติดบอร์ด
(องค์ประกอบ P=Process Skill , P=Physical Participation)
7.1ให้ทุกคนได้แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กนั และให้นกั เรี ยนทารายงานเรื่ อง
การรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่บา้ นของตนเอง (องค์ประกอบ A=Application)
1. สถิติพ้นื ฐาน
1.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต (mean)
1.2 การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation)
1.3 การหาค่าดัชนีความเที่ยงตรงของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ยน
1.4 การหาค่าความยากง่ายของข้อสอบ
1.5 การหาค่าความเชื่อมัน่ ของข้อสอบ
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา เลขที่ 1 หมู่ 6
ต. แม่นาเรื อ อ. เมือง จ.พะเยา
เดือนมีนาคม 2555 – กรกฏาคม 2555
อ.พุทธวรรณ ขันต้นธง.หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ .วิทยาลัยศิลปะ สื่ อ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.2554.
ทิศนา แขมมณี .รู ปแบบการเรียนการสอน:ทางเลือกที่หลากหลาย.กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,2552.
รชาดา บัวไพร.การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอนแบบโมเดลซิปปาที่มี
ต่ อผลสั มฤทธิ์ ทางการเรียนและเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1.สารนิ
พนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ,2552.
จานง ทองช่วย พูนสุ ข อุดมและอานอบ คันฑะชา.การศึกษาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ การสอนรู ปแบบซิปปาร่ วมกับเทคนิคการใช้ คาถามของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6.วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ,
2551.
กัสมัสห์ อาแด.ศึกษาการสร้ างชุดการเรียนการสอนโดยใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบ CIPPA MODEL
เรื่อง ความสั มพันธ์ ระหว่ างรู ปเรขาคณิต 2 มิตแิ ละ 3 มิติ สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 1.
วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทักษิณ,2548.
อาภรณ์ ล้อสังวาลย์.วิทยาศาสตร์ พนื้ ฐาน.กรุ งเทพฯ:สาพัฒนาวิชาการ(2535)จากัด,2545.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. “ร่ วมปฏิรูปการเรี ยนรู้กบั ครู ตน้ แบบ” การจัด
กระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ การสอนแบบ “CIPPA MODEL”โดยครู อมั พา
กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์ดบั บลิว เจ พร็อพเพอตี้ จากัด,2544.
บุ่ยศิริรักษ์.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. การจัดการความรู้ Knowledge Management.
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ ก.พลพิมพ์,2552.
สาวิตรี ยิม้ ช้อย.การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม และความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5ที่จดั การเรียนรู้แบบโมเดลซิปปา
(CIPPA MODEL)กับวิธีสอนแบบปกติ.วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครศรี อยุธยา,2548.
พิกลุ ตระกูลสม.การวิจยั ปฏิบัตกิ ารพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง
โลกและการเปลีย่ นแปลงโดยรูปแบบ CIPPA MODEL นักเรียนมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนที โอ เอ วิทยา .
วิทยานิพนธ์ สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ,2552.
ดาริ นทร์ ตนะทิพย์.ผลของการสอนโดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอนซิปปาที่เน้ นกระบวนการเรียนรู้ทาง
ภาษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6
โรงเรียนบางบัว(เพ่งตั้งตรงจิตรวิทยาคาร.วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาประถมศึกษา ครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,2545.
นิตยา โสตทิพย์.การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรี ยนการสอนแบบ CIPPA MODEL กับแบบปกติ.
วิทยานิพนธ์ ครุ ศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช,2551.
กาญจนา กาฬภักดี.การศึกษาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนและค่ านิยมทางวิทยาศาสตร์ ด้านการมีเหตุผลของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี่ ที่ 2 ด้ านกระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามรู ปแบบ CIPPA.การศึกษา
มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ,2550.
พรสวรรค์ ประยูรยวง อุษา คงทองและกาญจนา สุ จีนะพงษ์.การเปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการ
เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยโดยรู ปแบบการสอน CIPPA กับการสอนปกติของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนอนุบาลประจันตคาม อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี .วิทยานิพนธ์ ครุ ศา
สตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์,2554.
จิรัญญา หง้าฝา.การพัฒนารู ปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ การสอนแบบ CIPPA MODEL ประกอบแบบ
ฝึ กทักษะเรื่อง สมบัตขิ องสารและการจาแนกเพือ่ พัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 2 (คลองจิหลาด).วิทยานิพนธ์.ครู วิทยฐานะชานาญ
การ โรงเรี ยนเทศบาล2(คลองจิหลาด),2553.
พลมณี สี ลิพง.ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ รูปแบบ CIPPA ในวิชาฟิ สิ กส์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.วิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2549.
ศิริพรรณ ศรี อุทธา.การพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นนักเรี ยนเป็ นสาคัญรายวิชาคณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ อง สมการกาลัง 2 ตัวแปรเดียวโดยใช้รูปแบบการสอนโมเดลซิ ปปา
(CIPPA MODEL).วิทยานิพนธ์ครู ชานาญการ โรงเรี ยนชุมแพศึกษา,2552.
แสงหล้า พันธุ์โอภาส.ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบจานวนเต็มโดยใช้ กจิ กรรมการ
เรียนรู้ตามตัวแบบซิปปา(CIPPA MODEL)สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1.วิทยานิพนธ์ โรงเรี ยน
เทศบาล 2 (แม่ต๋าดรุ ณเวทย์) สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมืองพะเยา กรมส่งเสริ มการ
ปกครองท้องถิ่น
กระทรวงมหาดไทย,2551.
กัลยา พันปี .2554.การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ด้ านวิธีการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา CIPPA MODEL.(ระบบออนไลน์).
แหล่งที่มา http://www.learners.in.th/blogs/posts/317688(23 พฤศจิกายน 2554).
ศศิมา ทับทิม.2552.การพัฒนาผลการเรียนรู้ เรื่อง ระบบร่ างกายมนุษย์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
ด้ วยรูปแบบ CIPPA.(ระบบออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.thaistudy.info (22 พฤศจิกายน 2554).
ระบบการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง.การเรียนการสอนที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ.(ระบบออนไลน์).แหล่งที่มา
http://www.agri.kmitl.ac.th/km/knowledge/?p=126(29 พฤศจิกายน 2554).
ไสว โลจนะศุภฤกษ์.Knowledge Management.(ระบบออนไลน์).
แหล่งที่มา.http://www2.diw.go.th/km/knowledge/การจัดการความรู้.doc.(30
พฤศจิกายน 2554).
มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การ จังหวัดหนองบัวลาภู.นิยามการจัดการความรู้เบื้องต้น.
(ระบบออนไลน์).แหล่งที่มา.http://www.nongbua.ru.ac.th. (30 พฤศจิกายน 2554)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.วิทยาศาสตร์ หมายถึงอะไร.(ระบบออนไลน์).
แหล่งที่มา. http://school.obec.go.th/absan/Work_Student/Science/wit.htm(5ธันวาคม 2554).
วิกิพีเดีย.วิทยาศาสตร์ .(ระบบออนไลน์).แหล่งที่มา. http://th.wikipedia.org/wiki.(5 ธันวาคม 2554).
นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ เบญจลักษณ์ น้ าฟ้ าและชัดเจน ไทยแท้.การจัดการเรียนรู้ที่เน้ นผู้เรียนเป็ น
เป็ นสาคัญ(ระบบออนไลน์)แหล่งที่มา.http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/…/child_center1_2.htm.(16
ธันวาคม 2554).
อาภรณ์ ใจเที่ยง.หลักการสอน.กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์,2553.
ขอบคุณค่ะ