การจัดการเรียนการสอนกับการปร

Download Report

Transcript การจัดการเรียนการสอนกับการปร

การจัดการเรียนการสอน
กับการประกันคุณภาพการศึกษา
รองศาสตราจารย์ นวลจิรา ภัทรรังรอง
เงื่อนไขสาคัญในการจัดระบบ
ประกันคุณภาพอดุ มศึกษา
ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2553
การประกันคุณภาพอุดมศึกษาในระยะต่อไปได้
ดาเนินการภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี้ :
 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ
ที่ 2) พ.ศ.2545
 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565)
 กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2553
การประกันคุณภาพอุดมศึกษาตาม พรบ.
รัฐบาล (ครม.)
• กาหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ
• ติดตามการปฏิบัต/ิ จัดสรรงบประมาณ
กระทรวงศึกษาธิการ
สกศ.
ต้ นสั งกัด
สมศ.
ก.พ.ร
กกอ./สกอ.
ส่ งเสริม/สนับสนุนการอุดมศึกษา
เสนอ/กาหนดมาตรฐาน และเกณฑ์
การปฏิบัติ
ร่ วมจัดระบบประกันคุณภาพภายใน
(IQA)รองรับการประเมินภายนอก
(EQA)
รับข้ อเสนอจาก สมศ. เพือ่ ปรับปรุง
สถานศึกษา
สถาบันอุดมศึกษา
รับผิดชอบจัดการศึกษาให้ มคี ุณภาพ โดยจัดให้ มกี ารประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่ง ของการ
ปฏิบตั ิงานประจาตามปกติ (IQA)
การประกันคุณภาพอุดมศึกษาตาม พรบ.
รัฐบาล (ครม.)
• กาหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ
• ติดตามการปฏิบัต/ิ จัดสรรงบประมาณ
สมศ.
ต้ นสั งกัด
ประเมินผลการจัดการศึกษาของ
มหาฯ (EQA)
รับรองมาตรฐานคุณภาพและ
เสนอแนะการปรับปรุงสถานศึกษา
ต่ อต้ นสั งกัด
รายงานการประเมินต่ อรัฐบาล
หน่ วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้ อง และ
สาธารณชน
กระทรวงศึกษาธิการ
สกศ.
ก.พ.ร
กกอ/สกอ.
สถาบันอุดมศึกษา
รับผิดชอบจัดการศึกษาให้ มคี ุณภาพ โดยจัดให้ มกี ารประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของการ
ปฏิบตั ิงานประจาตามปกติ (IQA)
การประกันคุณภาพอุดมศึกษาตาม พรบ.
รัฐบาล (ครม.)
• กาหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ
• ติดตามการปฏิบัต/ิ จัดสรรงบประมาณ
ก.พ.ร
ต้ นสั งกัด
สมศ.
• จัดทาคารับรองการปฏิบัตริ าชการ
• ติดตามประเมินผลด้ าน
ประสิ ทธิผล คุณภาพการให้ บริการ
ประสิ ทธิภาพ และการพัฒนา
องค์ กร
• เสนอผลการประเมิน และสิ่ งจูงใจ
ต่ อ ครม.
กระทรวงศึกษาธิการ
สกศ.
กกอ/สกอ.
สถาบันอุดมศึกษา
รับผิดชอบจัดการศึกษาให้ มคี ุณภาพ โดยจัดให้ มกี ารประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของการ
ปฏิบตั ิงานประจาตามปกติ (IQA)
การประกันคุณภาพอุดมศึกษาตาม พรบ.
รัฐบาล (ครม.)
• กาหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ
• ติดตามการปฏิบัต/ิ จัดสรรงบประมาณ
กระทรวงศึกษาธิการ
สกศ.
ต้ นสั งกัด
สมศ.
ก.พ.ร
กกอ/สกอ.
สถาบันอุดมศึกษา
รับผิดชอบจัดการศึกษาให้ มคี ุณภาพ โดยจัดให้ มกี ารประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของการ
ปฏิบตั ิงานประจาตามปกติ (IQA)
ประเด็นสาคัญของแผนอุดมศึกษาระยะยาว
15 ปี
ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-พ.ศ.2565)
ในส่ วนทีเ่ กีย่ วข้ องกับคุณภาพการศึกษา
เป้าหมายของกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว
ฉบับที่ 2 เมื่อสิน้ สุดแผนในปี พ.ศ.2564
“ยกระดับคุณภาพอุดมศึ กษาไทย เพื่อ ผลิตและพัฒนาบุคลากรที่ มี
คุณ ภาพสู่ต ลาดแรงงาน และพัฒนาศัก ยภาพอุด มศึ ก ษาในการ
สร้ า งความรู้แ ละนวัต กรรม เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศในโลกาภิวตั น์ รวมทัง้ สนับสนุ นการพัฒนาที่
ยังยื
่ นของท้ องถิ่นไทย โดยใช้กลไกของธรรมาภิบาล การเงิน การ
กากับมาตรฐาน และเครือข่ายอุดมศึกษา บนพื้นฐานของเสรีภาพ
ทางวิชาการ ความหลากหลาย และเอกภาพเชิงระบบ”
แนวทางการพัฒนาคุณภาพในสาระสาคัญบางประเด็นจากแผน 15 ปี
ประเด็นที่ 1
เพื่อแก้ปัญหาการไร้ทิศทาง ความซ้ าซ้อน การขาดคุณภาพ และการขาด
ประสิ ทธิภาพ ให้พฒั นาจัดสถาบันอุดมศึกษาเป็ น 4 กลุ่ม(category)
: กลุ่มวิทยาลัยชุมชน (Community Colleges)
: กลุ่มมหาวิทยาลัยสี่ ปี (4-year University)และมหาวิทยาลัยศิลปศาสตร์
(Liberal Arts University)
: กลุ่มมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเฉพาะทาง
(Specialized University)
: กลุ่มมหาวิทยาลัยวิจยั (Research University) และมหาวิทยาลัยบัณฑิต
(Graduate University)
แนวทางการพัฒนาคุณภาพในสาระสาคัญบางประเด็น
จากแผน 15 ปี (ต่ อ)
ประเด็นที่ 2
กกอ.จัดทาหลักเกณฑ์กากับและใช้เครื่ องมือเชิงนโยบาย และการเงิน
เพื่อ
- ลดเลิกหลักสูตรที่ไม่เป็ นที่ตอ้ งการของสังคม และ ตลาดแรงงาน
- ลดเลิกคณะและสถาบันที่มีปัญหาคุณภาพรุ นแรง
- จัดกลไกคณะกรรมการตรวจสอบ และศูนย์สถิติอุดมศึกษา
แนวทางการพัฒนาคุณภาพในสาระสาคัญบางประเด็น
จากแผน 15 ปี (ต่ อ)
ประเด็นที่ 3
ให้มีการออกแบบระบบความเชื่อมโยงระหว่าง
อุดมศึกษาและภาคการผลิต เพื่อสร้างภารกิจของ
มหาวิทยาลัยจานวนหนึ่ งที่ใช้อปุ สงค์จากภาคการผลิต
เป็ นตัวตัง้ ทัง้ การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอน การ
บริการวิชาการ การวิจยั
แนวทางการพัฒนาคุณภาพในสาระสาคัญบาง
ประเด็นจากแผน 15 ปี (ต่ อ)
ประเด็นที่ 4
จัดให้มีการทางานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย กลุ่ม
มหาวิทยาลัย ศูนย์ความเป็ นเลิศ ภาคอุตสาหกรรมในและ
ต่างประเทศ ภาคสังคมและชุมชน
วิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ข้อ ๓๕ วิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้ใช้
แนวปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้
(๑) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีหน่วยงานหรื อ
คณะกรรมการที่รับผิดชอบการดาเนินการด้านการประกันคุณภาพ
การศึกษาขึ้น โดยมีหน้าที่พฒั นา บริ หารและติดตามการดาเนินการ
ประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้
เกิดความมัน่ ใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
วิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน(ต่ อ)
(๒) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพภายในเพื่อใช้กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพ
การศึกษาให้มีประสิ ทธิภาพภายใต้กรอบนโยบายและหลักการที่สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด
(๓) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาดาเนินการตามระบบการ
ประกันคุณภาพภายใน โดยถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หาร
การศึกษา
(๔) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไก
ควบคุมคุณภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังต่อไปนี้
วิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน(ต่ อ)
(ก) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ
(ข) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์
(ค) สื่ อการศึกษาและเทคนิคการสอน
(ง) ห้องสมุดและแหล่งการเรี ยนรู ้อื่น
(จ) อุปกรณ์การศึกษา
(ฉ) สภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู ้และบริ การการศึกษา
(ช) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรี ยนของนักศึกษา
(ซ) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร
วิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน(ต่ อ)
ให้แต่ละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยให้สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาส่ งเสริ มและสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้าน
การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะวิชาของสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ข้อ ๓๖ ให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีการ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี
และแจ้งผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิ ดเผยผลการ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน
มาตรฐานสาหรับประเมินคุณภาพภายนอก
ข้ อ ๓๘ ในการประกันคุณภาพภายนอก ให้ สานักงานทาการประเมินคุณภาพภายนอก
สถานศึกษาแต่ ละแห่ งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ ใน
เรื่อง ดังต่ อไปนี้
(๑) มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยผลการจัดการศึกษาในแต่ ละระดับและประเภทการศึกษา
(๒) มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการบริหารจัดการศึกษา
(๓) มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
(๔) มาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการประกันคุณภาพภายใน
ในกรณีทมี่ คี วามจาเป็ นต้ องทาการประเมินคุณภาพภายนอกจากมาตรฐานอืน่ เพิม่ เติม
จากมาตรฐานทีก่ าหนดในวรรคหนึ่ง ให้ สานักงานประกาศกาหนดมาตรฐานอื่นได้
โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
ตัวบ่ งชี้ที่พฒ
ั นาโดย
สกอ. และ สมศ.
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา (ข, ค(1), ค(2), ง,)
ที่
ตัวบ่ งชี ้
ข
ค ค
(1) (2)
ง
องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ
1.1 กระบวนการพัฒนาแผน
/
/
/ /
๑๖ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิ ธาน พันธกิจและวัตถุประสงค์ของ
/// /// /// ///
การจัดตั้งสถาบัน
๑๗ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของ
/// /// /// ///
สถาบัน
องค์ ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริ หารหลักสู ตร
/ // // //
2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก
// // // //
2.3 อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ
// // // //
2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุน
/
/
/ /
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน //= ตัวบ่งชี้ร่วมแต่มีเกณฑ์เพิม่ เติมหรื อแตกต่างเฉพาะกลุ่ม
สถาบัน ///=ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา (ข, ค(1), ค(2), ง,)
ที่
2.5
2.6
2.7
2.8
๑
๒
๓
๔
๑๔
ตัวบ่ งชี ้
ค ค
ข
(1) (2)
องค์ ประกอบที่ 2(ต่ อ) การผลิตบัณฑิต
ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู้
/ /
ระบบและกลไกการจัดการเรี ยนการสอน
/ /
ระบบและกลไกพัฒนาสัมฤทธิผลการเรี ยนตามคุณลักษณะของบัณฑิต
/ //
ระดับความสาเร็จของการเสริ มสร้างคุณธรรมจริ ยธรรมที่จดั ให้กบั นศ.
/ /
บัณฑิต ป.ตรี ที่ได้งานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี
/ /
คุณภาพของบัณฑิต (ตรี โท เอก) ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ(TQF)
/ /
ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่
/ /
ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาปริ ญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์
/ /
การพัฒนาคณาจารย์
/ /
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
// =ตัวบ่งชี้ร่วมแต่มีเกณฑ์เพิ่มเติมหรื อแตกต่างเฉพาะกลุ่มสถาบันนั้น
/
/
/
/
/
/
/
/
/
ง
/
/
//
/
/
/
/
/
/
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ที่
ตัวบ่ งชี ้
ข
ค ค
(1) (2)
ง
องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา
3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึ กษาและบริ การด้านข้อมูลข่าวสาร
/
/
/
/
3.2 ระบบและกลไกการส่ งเสริ มกิจกรรมนักศึกษา
องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย
4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์
/
/
/
/
//
/
//
/
4.2 ระบบและกลไกจัดการความรู้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์
/
//
/
//
4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและ
//* //* //* //*
นักวิจยั
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
// =ตัวบ่งชี้ร่วมแต่มีเกณฑ์เพิม่ เติมหรื อแตกต่างเฉพาะกลุ่มสถาบันนั้น * =แยกตามกลุ่มสาขาวิชา
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ที่
๕
๖
๗
5.1
5.2
๘
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย(ต่ อ)
งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่
งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ที่นามาใช้ประโยชน์
ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ
องค์ ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่ สังคม
ระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สงั คม
กระบวนการบริ การวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ในการ
พัฒนาการเรี ยนการสอนหรื อการวิจยั
/= ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
* =แยกตามกลุ่มสาขาวิชา
ข
ค ค
ง
(1) (2)
/*
/
/
/* /* /*
/ / /
/ / /
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ข
ค ค
ง
(1) (2)
/
///
/
///
/ /
/// ///
/
/
/
/
๑๐ การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม
/
/
/
/
๑๑ การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม
/
/
/
/
ที่
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่ สังคม(ต่ อ)
๙ การเรี ยนรู้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอก
๑๘ ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ
องค์ ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
/= ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน ///=ตัวบ่งชี้มาตรการส่ งเสริ ม
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ที่
7.1
7.2
7.3
7.4
๑๒
๑๓
8.1
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
ภาวะผูน้ าของสภาสถาบันและผูบ้ ริ หารทุกระดับของสถาบัน
การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรี ยนรู้
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจ
ระบบบริ หารความเสี่ ยง
การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน
การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถาบัน
องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ
ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
ข
ค ค
(1) (2)
ง
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ที่
9.1
๑๕
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
ข
/
/
ค ค
(1) (2)
/
/
/
/
ง
/
/
รวมจานวนตัวบ่ งชี้ประเมิน
คุณภาพการศึกษาภายใน
แต่ ละปี การศึกษา
ทั้งที่พฒ
ั นาโดย สกอ. และ สมศ.
จานวนตัวบ่งชี้ประกันคุณภาพ แบ่งตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน
องค์ประกอบคุณภาพ
Input
Indicat
ors
Process
Indicators
Output
/Outcome
Indicators
รวม
1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์
และแผน
-
สกอ 1
สมศ 2
3
สกอ 3
สกอ 4
สกอ 1+ สมศ 5
13
-
สกอ 2
-
2
สกอ 1
สกอ 2
สมศ 3
6
-
สกอ 2
สมศ 3
5
2. การผลิตบัณฑิต
3. กิจกรรมการพัฒนานิสิต
นักศึกษา
4. การวิจัย
5. การบริการทางวิชาการแก่
สั งคม