เอกสารหมายเลข 2 ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

Download Report

Transcript เอกสารหมายเลข 2 ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

สาระสาคัญ
ของระบบประกัน
คุณภาพการศึกษาภายใน
มาตรา ๔๗ ของพรบ.ฯ
ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐาน
การศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และ
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ให้เป็ นไปตาม ที่
กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๘ ของพรบ.ฯ
ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มรี ะบบการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ว น
หนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาทีต่ ้องดาเนินการอย่างต่ อเนื่อง
โดยมี ก ารจั ด ท ารายงานประจ าปี เสนอต่ อ หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด
หน่ ว ยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ด เผยต่ อ สาธารณชน เพื่อ นาไปสู่การ
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อ รองรับการประกัน
คุณภาพภายนอก
มาตรา ๔๙ ของ พรบ.ฯ
ให้มสี านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะ
เป็ นองค์การมหาชน ทาหน้าทีพ่ ฒ
ั นาเกณฑ์ วิธกี ารประเมิน คุณภาพ
ภายนอก และท าการประเมิน ผลการจัด การศึ ก ษาเพื่อ ให้ มีก าร
ตรวจสอบคุ ณ ภาพของสถาบัน โดยค านึ ง ถึ ง ความมุ่ ง หมายและ
หลักการ และแนวทางการจัดการศึกษาในแต่ละระดับตามทีก่ าหนดไว้
ในพระราชบัญญัตนิ ้ี
กฎกระทรวงว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. 2553
(เฉพาะประเด็นสาคัญและเกีย่ วกับอุดมศึกษา)
ความหมาย
“การประเมินคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัด
การศึกษาการติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดสาหรับการ
ประกันคุณภาพภายใน ซึ่งกระทาโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นหรื อ
โดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษา
“การประเมินคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการ
จัดการศึกษาการติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งกระทาโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อผูป้ ระเมินภายนอก
ความหมาย(ต่ อ)
“การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการ
ติดตามตรวจสอบ ความก้าวหน้าของการปฏิบตั ิตามแผนการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา และจัดทารายงานการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่ งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
“การพัฒนาคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการพัฒนาการศึกษา
เข้าสู่คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมีการกาหนด
มาตรฐานการศึกษา การจัดระบบและโครงสร้าง การวางแผน และการ
ดาเนินงานตามแผน รวมทั้งการสร้างจิตสานึกให้เห็นว่าการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาจะต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็ นความรับผิดชอบร่ วมกัน
ของทุกคน
หมวด ๑ บททั่วไป
ข้อ ๓ ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาและพัฒนามาตรฐานการศึกษาทุก
ระดับ ต้องประกอบด้วย
(๑) การประเมินคุณภาพภายใน
(๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
(๓) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
หมวด ๑ บททั่วไป(ต่ อ)
ข้อ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายนอกเพื่อรับรอง
มาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับ
ต้องประกอบด้วย
(๑) การประเมินคุณภาพภายนอก
(๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
หมวด ๑ บททั่วไป(ต่ อ)
ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องเป็ น
ประจาทุกปี โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ทั้งนี้ดว้ ยการสนับสนุนจาก
หน่วยงานต้นสังกัดและการมีส่วนร่ วมของชุมชน
ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพ
ภายในเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณา และเปิ ดเผยรายงานนั้นต่อสาธารณชน
ข้อ ๗ สถานศึกษาต้องนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไป
ประกอบการจัดทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
หมวด๒ การประกันคุณภาพภายใน
ส่ วนที่ ๓ การอุดมศึกษา
ข้ อ ๓๒ ให้ มี “คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา”
มีอานาจหน้ าที่ดงั นี้
(๑) วางระเบียบหรือออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกีย่ วกับการประกัน
คุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพือ่ ส่ งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกันคุณภาพ
ภายในระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(๒) เสนอแนะแนวทางปรับปรุ งและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษาโดยนาผลการ
ประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปปรับปรุ งคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง
(๓) แต่ งตั้งคณะทางานเพือ่ ดาเนินการเกีย่ วกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา
(๔) ปฏิบัตกิ ารอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้ องตามทีร่ ัฐมนตรีหรือคณะกรรมการการอุดมศึกษามอบหมาย
วิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ข้อ ๓๕ วิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้ใช้
แนวปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้
(๑) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีหน่วยงานหรื อ
คณะกรรมการที่รับผิดชอบการดาเนินการด้านการประกันคุณภาพ
การศึกษาขึ้น โดยมีหน้าที่พฒั นา บริ หารและติดตามการดาเนินการ
ประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้
เกิดความมัน่ ใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
วิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน(ต่ อ)
(๒) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพภายในเพื่อใช้กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพ
การศึกษาให้มีประสิ ทธิภาพภายใต้กรอบนโยบายและหลักการที่สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด
(๓) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาดาเนินการตามระบบการ
ประกันคุณภาพภายใน โดยถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หาร
การศึกษา
(๔) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไก
ควบคุมคุณภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังต่อไปนี้
วิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน(ต่ อ)
(ก) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ
(ข) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์
(ค) สื่ อการศึกษาและเทคนิคการสอน
(ง) ห้องสมุดและแหล่งการเรี ยนรู ้อื่น
(จ) อุปกรณ์การศึกษา
(ฉ) สภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู ้และบริ การการศึกษา
(ช) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรี ยนของนักศึกษา
(ซ) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร
วิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน(ต่ อ)
ให้แต่ละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยให้สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาส่ งเสริ มและสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้าน
การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะวิชาของสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ข้อ ๓๖ ให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีการ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี
และแจ้งผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิ ดเผยผลการ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2553
ตามหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติของ กกอ.
ระบบประกันคุณภาพภายใน
กกอ.: กาหนดกรอบนโยบาย หลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิในประกันคุณภาพ
ภายใน ภายใต้ 9 องค์ประกอบคุณภาพ ประกอบด้วย
1) พัฒนาตัวบ่งชีแ้ ละเกณฑ์การประเมินในแต่ละองค์ประกอบ
เพือ่ ให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถประเมินตนเองในทุกมิตขิ องการบริหาร
การศึกษา
2) กาหนดแนวทางการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาโดย
เริม่ จากระดับสาขาวิชา/ภาควิชา คณะ และสถาบัน
3) สกอ./ต้นสังกัด ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของ
สถาบันอุดมศึกษาอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี
4) สกอ.นาผลการประเมินประกอบการรับรองวิทยฐานะ
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎกระทรวงว่าด้วยการขอให้รับรองและการรับรอง
ระบบประกันคุณภาพภายใน (ต่ อ)
สถาบันฯ: พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและแนวทางการดาเนินงานของ
ตนเอง ประกอบด้วย
1) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในภายใต้กรอบนโยบาย
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิที่ กกอ. กาหนด
2) สร้างตัวบ่งชี้และเกณฑ์เพิม่ เติมนอกเหนือจากตัวบ่งชี้ของ กกอ. และ
สมศ. ที่เหมาะสมกับวิสยั ทัศน์และสภาพแวดล้อมของตนเอง
3) ประเมินตนเองและส่ งรายงานประจาปี ไปยัง สกอ./ต้นสังกัด ทุกสิ้ น
ปี การศึกษาตามระบบ CHE QA-Online
4) ติดตามตรวจสอบและพัฒนาตามผลการประเมิน
หลักการในการพัฒนาตัวบ่ งชี้ประกันคุณภาพ สกอ.
 ตัวบ่งชี้ครอบคลุม 9 องค์ประกอบคุณภาพและเป็ นไปตามกฎกระทรวงว่า
ด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553
 ตัวบ่งชี้ตอบสนองเจตนารมณ์แห่ งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ
พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 ตัวบ่งชี้ประเมินปั จจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิตและผลลัพธ์ โดยตัวบ่งชี้
ด้านผลผลิตและผลลัพธ์จะรวมตัวบ่งชี้ของ สกอ.และ สมศ. ทั้งนี้ เพื่อความ
เชื่อมโยงและเป็ นเอกภาพของระบบประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย
หลักการในการพัฒนาตัวบ่ งชี้ประกันคุณภาพ สกอ.
 ตัวบ่งชี้มีความสมดุลระหว่างมุมมองการบริ หารจัดการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้าน
นักศึกษาและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเงิน
และด้านบุคลากร การเรี ยนรู ้และนวัตกรรม
 จานวนตัวบ่งชี้ที่พฒ
ั นาขึ้น เป็ นเพียงจานวนตัวบ่งชี้ข้ นั ต่าสถาบันอุดมศึกษา
สามารถเพิ่มเติมตัวบ่งชี้และเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสมกับระดับการ
พัฒนาของสถาบัน
 เกณฑ์ที่พฒ
ั นาขึ้นมีท้ งั ประเภทเกณฑ์มาตรฐานทัว่ ไปที่ใช้กบั ทุกกลุ่ม
สถาบันอุดมศึกษา และเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม
สถาบันอุดมศึกษา ตามนิยามที่กาหนดในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง
มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา
ประเภทตัวบ่ งชี้
 ตัวบ่ งชี้เชิงคุณภาพจะระบุเกณฑ์ มาตรฐานเป็ นข้ อๆ กาหนดเกณฑ์ การ
ประเมินตัวบ่ งชี้เป็ น 5 ระดับ มีคะแนนตั้งแต่ 1 ถึง 5 การประเมินจะนับ
จานวนข้ อและระบุว่าผลการดาเนินงานได้ กขี่ ้ อ ได้ คะแนนเท่ าใด กรณีทไี่ ม่
ดาเนินการใดๆ หรือดาเนินการไม่ ครบทีจ่ ะได้ 1 คะแนน ให้ ถือว่ าได้ 0
คะแนน
 ตัวบ่ งชี้เชิงปริมาณอยู่ในรู ปของร้ อยละหรือค่ าเฉลีย่ กาหนดเกณฑ์ การ
ประเมินเป็ นคะแนนระหว่ าง 1 ถึง 5 โดยเป็ นค่ าต่ อเนื่อง (มีจุดทศนิยม)
สาหรับการแปลงผลการดาเนินงานตามตัวบ่ งชี้ (ซึ่งอยู่ในรู ปร้ อยละหรือ
ค่ าเฉลีย่ ) เป็ นคะแนนทาโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ โดยทีแ่ ต่ ละ
ตัวบ่ งชี้จะกาหนดค่ าร้ อยละหรือค่ าเฉลีย่ ทีค่ ดิ เป็ นคะแนน 5 ไว้
เกณฑ์ การประเมิน
 คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึงการดาเนินงานต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน
 คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึงการดาเนินงานต้องปรับปรุ ง
 คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึงการดาเนินงานระดับพอใช้
 คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึงการดาเนินงานระดับดี
 คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึงการดาเนินงานระดับดีมาก
คณะกรรมการการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (คปภ.)
ในการประชุมครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2553 มีมติ
เห็นชอบ มีมติเห็นชอบให้นาร่ าง ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การ
ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
พ.ศ. 2553 เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาให้ความ
เห็นชอบและประกาศใช้ต่อไป
กกอ. ในการประชุมครั้งที่ 6/2553 เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2553
มีมติเห็นชอบ ร่ าง ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา และเสนอแนะเพิ่มเติมว่า
สกอ. เป็ นหน่วยงานต้นสังกัด ควรจะต้องมีการประเมินคุณภาพทั้ง
ระบบที่ครบวงจรทุกปี คือ ประเมิน input process output
เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีการบริ หารจัดการ/ปรับปรุ งและพัฒนาได้
อย่างมีประสิ ทธิภาพและทันการณ์ โดยอาจใช้ตวั ชี้วดั ร่ วมกับ สมศ.
หรื อพัฒนาเพิ่มได้
คปภ. ในการประชุมครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2555 มีมติ
เห็นชอบให้ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาปี
การศึกษา 2554 ภายใต้องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน ประกอบด้วย
ตัวบ่งชี้ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และผลผลิต ที่พฒั นาโดย สกอ.
จานวน23 ตัวบ่งชี้ และพัฒนาโดยสมศ. ที่เป็ นกลุ่มตัวบ่งชี้พ้นื ฐาน
อีก 15 ตัวบ่งชี้
การประเมิน: ภาควิชา/สาขาวิชา คณะ สถาบัน
 การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน แต่ละ
สถาบันอุดมศึกษาจะต้องใช้ตวั บ่งชี้คุณภาพของ สกอ.(และ สมศ.) ทุก
ตัวในการประเมินคุณภาพแต่ละปี การศึกษา
 การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับภาควิชา/สาขาวิชา คณะวิชา
และหน่วยงานที่มีการเรี ยนการสอนให้สถาบันพิจารณาตัวบ่งชี้ของ
สกอ.(และ สมศ.)ที่จะนาไปใช้ให้สอดคล้องกับบริ บท โครงสร้าง และ
ระบบการบริ หาร และปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐานให้
สอดคล้องกับระดับของหน่วยงานที่รับการประเมิน
การเตรียมการของสถาบัน
ก่ อนการตรวจเยีย่ มของทีมผู้ประเมิน
 เตรี ยมรายงานประจาปี ตามระบบ CHE QA Online และเตรี ยม
เอกสารอ้างอิง โดยอาจ Upload หรื อ Link ไปยัง CHE QA Online
 แต่งตั้ง และประสานงานกับทีมผูป้ ระเมิน
 เตรี ยมความพร้อมบุคลากร โดยเฉพาะผูท้ าหน้าที่ประสานงานการ
ตรวจเยีย่ ม
 เตรี ยมความพร้อมด้านอุปกรณ์ และสถานที่จะอานวยความสะดวก
แก่ผปู ้ ระเมิน
การแต่ งตั้งคณะผู้ประเมิน
 คณะกรรมการประเมินระดับภาควิชาหรื อหน่ วยงานเทียบเท่ า
 มีกรรมการประเมินฯ อย่างน้อย 3 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของภาควิชาหรื อหน่วยงาน
เทียบเท่า
 เป็ นผูป้ ระเมินจากภายนอกภาควิชาหรื อหน่วยงานเทียบเท่าที่ผา่ นการฝึ กอบรมหลักสู ตรผู ้
ประเมินของ สกอ. อย่างน้อย 1 คน ในกรณี ที่ผปู้ ระเมินจากภายนอกภาควิชาหรื อหน่วยงาน
เทียบเท่าเป็ นผูท้ ี่มีความรู้และประสบการณ์สูง ซึ่งสามารถให้คาแนะนาที่จะเป็ นประโยชน์
อย่างยิง่ ต่อภาควิชาหรื อหน่วยงานเทียบเท่าที่รับการประเมิน อาจอนุโลมให้ไม่ตอ้ งผ่านการ
ฝึ กอบรมหลักสูตรผูป้ ระเมินของ สกอ. ก็ได้ ส่ วนผูป้ ระเมินจากภายในภาควิชาหรื อหน่วยงาน
เทียบเท่าต้องผ่านการฝึ กอบรมหลักสูตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อที่สถาบันจัดฝึ กอบรมให้
โดยใช้หลักสูตรของ สกอ.
 ประธานคณะกรรมการประเมินฯเป็ นผูป้ ระเมินจากภายนอกภาควิชาหรื อหน่วยงานเทียบเท่า
โดยต้องเป็ นผูท้ ี่ผา่ นการฝึ กอบรมหลักสูตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อที่สถาบันจัดฝึ กอบรมให้
โดยใช้หลักสูตรของ สกอ.
การแต่ งตั้งคณะผู้ประเมิน
 คณะกรรมการประเมินระดับคณะวิชาหรื อหน่ วยงานเทียบเท่ า
 มีกรรมการประเมินฯ อย่างน้อย 3 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของคณะวิชาหรื อ
หน่วยงานเทียบเท่า
 เป็ นผูป้ ระเมินจากภายนอกสถาบันที่ผา่ นการฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ.
อย่างน้อย 1 คน ในกรณี ที่ผปู้ ระเมินจากภายนอกสถาบันเป็ นผูท้ ี่มีความรู้และ
ประสบการณ์สูง ซึ่ งสามารถให้คาแนะนาที่จะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อคณะที่รับ
การประเมิน อาจอนุโลมให้ไม่ตอ้ งผ่านการฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. ก็
ได้ ส่ วนผูป้ ระเมินจากภายในสถาบันต้องผ่านการฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ
สกอ. หรื อที่สถาบันจัดฝึ กอบรมให้โดยใช้หลักสู ตรของ สกอ.
 ประธานคณะกรรมการประเมินฯ เป็ นผูป้ ระเมินจากภายในหรื อนอกสถาบันก็ได้ใน
กรณี ที่เป็ นผูป้ ระเมินภายในสถาบันต้องอยูน่ อกสังกัดคณะที่ประเมิน โดยประธาน
ต้องเป็ นผูท้ ี่ข้ ึนบัญชีประธานคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ
สกอ.
การแต่ งตั้งคณะผู้ประเมิน
 คณะกรรมการประเมินระดับสถาบัน
 มีกรรมการประเมินฯ อย่างน้อย 5 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของสถาบัน
 เป็ นผูป้ ระเมินจากภายนอกสถาบันที่ผา่ นการฝึ กอบรมหลักสู ตรผู ้
ประเมินของ สกอ. อย่างน้อยร้อยละ 50 ส่ วนผูป้ ระเมินจากภายใน
สถาบันต้องผ่านการฝึ กอบรมหลักสูตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อที่
สถาบันจัดฝึ กอบรมให้โดยใช้หลักสูตรของ สกอ.
 ประธานคณะกรรมการประเมินฯ เป็ นผูป้ ระเมินจากภายนอกสถาบันที่
ขึ้นบัญชีประธานคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ
สกอ.
การติดตามตรวจสอบโดย สกอ./ต้ นสั งกัด
สกอ./ต้นสังกัด จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่าง
น้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี โดย
1) ติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบตั ิตามแผนการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถาบัน
2) จัดทารายงานการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
3) เสนอแนะมาตรการเร่ งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถาบัน
ตัวบ่ งชี้ที่พฒ
ั นาโดย
สกอ. และ สมศ.
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา (ข, ค(1), ค(2), ง,)
ที่
ตัวบ่ งชี ้
ข
ค ค
(1) (2)
ง
องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ
1.1 กระบวนการพัฒนาแผน
/
/
/ /
องค์ ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริ หารหลักสู ตร
/ // // //
2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก
// // // //
2.3 อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ
// // // //
2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุน
/
/
/ /
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน //= ตัวบ่งชี้ร่วมแต่มีเกณฑ์เพิ่มเติมหรื อแตกต่างเฉพาะกลุ่ม
สถาบัน ///=ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา (ข, ค(1), ค(2), ง,)
ที่
2.5
2.6
2.7
2.8
๑
๒
๓
๔
๑๔
ตัวบ่ งชี ้
ค ค
ข
(1) (2)
องค์ ประกอบที่ 2(ต่ อ) การผลิตบัณฑิต
ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู้
/ /
ระบบและกลไกการจัดการเรี ยนการสอน
/ /
ระบบและกลไกพัฒนาสัมฤทธิผลการเรี ยนตามคุณลักษณะของบัณฑิต
/ //
ระดับความสาเร็จของการเสริ มสร้างคุณธรรมจริ ยธรรมที่จดั ให้กบั นศ.
/ /
บัณฑิต ป.ตรี ที่ได้งานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี
/ /
คุณภาพของบัณฑิต (ตรี โท เอก) ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ(TQF)
/ /
ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่
/ /
ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาปริ ญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่
/ /
การพัฒนาคณาจารย์
/ /
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
// =ตัวบ่งชี้ร่วมแต่มีเกณฑ์เพิ่มเติมหรื อแตกต่างเฉพาะกลุ่มสถาบันนั้น
/
/
/
/
/
/
/
/
/
ง
/
/
//
/
/
/
/
/
/
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ที่
ตัวบ่ งชี ้
ข
ค ค
(1) (2)
ง
องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา
3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึ กษาและบริ การด้านข้อมูลข่าวสาร
/
/
/
/
3.2 ระบบและกลไกการส่ งเสริ มกิจกรรมนักศึกษา
องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย
4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์
/
/
/
/
//
/
//
/
4.2 ระบบและกลไกจัดการความรู้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์
/
//
/
//
4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและ
//* //* //* //*
นักวิจยั
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
// =ตัวบ่งชี้ร่วมแต่มีเกณฑ์เพิม่ เติมหรื อแตกต่างเฉพาะกลุ่มสถาบันนั้น * =แยกตามกลุ่มสาขาวิชา
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ที่
๕
๖
๗
5.1
5.2
๘
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย(ต่ อ)
งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่
งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ที่นามาใช้ประโยชน์
ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ
องค์ ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่ สังคม
ระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สงั คม
กระบวนการบริ การวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
ผลการนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ในการ
พัฒนาการเรี ยนการสอนหรื อการวิจยั
/= ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
* =แยกตามกลุ่มสาขาวิชา
ข
ค ค
ง
(1) (2)
/*
/
/
/* /* /*
/ / /
/ / /
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ที่
ตัวบ่ งชี ้
ข
ค ค
ง
(1) (2)
องค์ ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่ สังคม(ต่ อ)
๙ ผลการเรี ยนรู้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอก
/
/
/
/
องค์ ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
/
/
/
/
๑๐ การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม
/
/
/
/
๑๑ การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม
/
/
/
/
/= ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน ///=ตัวบ่งชี้มาตรการส่ งเสริ ม
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ที่
7.1
7.2
7.3
7.4
๑๒
๑๓
8.1
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
ภาวะผูน้ าของสภาสถาบันและผูบ้ ริ หารทุกระดับของสถาบัน
การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรี ยนรู้
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจ
ระบบบริ หารความเสี่ ยง
การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน
การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถาบัน
องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ
ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
ข
ค ค
(1) (2)
ง
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน
จาแนกตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา
ที่
9.1
๑๕
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
ข
/
/
ค ค
(1) (2)
/
/
/
/
ง
/
/
รวมจานวนตัวบ่ งชี้ประเมิน
คุณภาพการศึกษาภายใน
แต่ ละปี การศึกษา
ทั้งที่พฒ
ั นาโดย สกอ. และ สมศ.
จำนวนตัวบ่งชี้ประกันคุณภำพ แบ่งตำมองค์ประกอบคุณภำพ 9 ด้ำน
องคประกอบคุ
ณภาพ
์
Input
Indicators
Process Indicators
Output
/Outcome Indicators
รวม
1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค ์
และแผน
2. การผลิตบัณฑิต
-
สกอ 1
สกอ 3
สกอ 4
สกอ 1+ สมศ 5
13
3. กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึ กษา
-
สกอ 2
-
2
สกอ 1
สกอ 2
สมศ 3
6
5. การบริการทางวิชาการแกสั
่ งคม
-
สกอ 2
สมศ 2
4
6. การทานุ บารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม
-
สกอ 1
สมศ 2
3
7. การบริหารและการจัดการ
-
สกอ 4
สมศ 2
6
8. การเงินและงบประมาณ
9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
-
สกอ 1
สกอ 1
-
1
1
รวมจานวนตัวบงชี
่ ้
4
สกอ 18
4. การวิจย
ั
1
สกอ 1+ สมศ
14
37
AUN-QA for programme level consist of 15 criteria (ตัวบ่ งชี้)
1. Expected learning outcomes
2. Programme specification
3. Programme structure and content
4. Teaching and learning strategy
5. Student assessment
6. Academic staff quality
7. Support staff quality
8. Student quality
9. Student advice and support
10. Facilities and infrastructure
11. Quality assurance of teaching
and learning process
12. Staff development activities
13. Stakeholders feedback
14. Output
15. Stakeholders satisfaction
QS Asian Univ. ranking 11&12 (Aca. Repu. 30% Paper/Fac. 15% Cite/Paper 15%
Stu./Fac. 20% Emp. Repu. 10% Inter. Fac. 2.5% Inter. Stu. 2.5% Inb. Stu. 2.5% Outb. Stu. 2.5%)
มหาวิทยาลัย
National U of Singapore (NUS)
Nanyang Tech. U (NTU)
U of Malaya (UM)
Mahidol U (MU)
Chulalongkorn U (CU)
U Kebangsaan Malaysia (UKM)
U of Indonesia (UI)
U Teknologi Malaysia (UTM)
U Putra Malaysia (UPM)
Ateneo de Manila U (ADM)
Chiang Mai U (CMU)
ประเทศ
สิ งคโปร์
สิ งคโปร์
มาเลเซีย
ไทย
ไทย
มาเลเซีย
อินโดนีเซีย
มาเลเซีย
มาเลเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์
ไทย
Asia Rank ’11&’12
3S
17 U
39 U
34 D
47 D
53 U
50 S
76 U
57 U
65 D
67 U
2U
17 S
35 U
38 D
43 U
58 D
59 D
74 U
76 D
86 D
91 D
การรับรู้ (Perception) เรื่องการประกันคุณภาพ
การรับรู้ ทคี ลาดเคลือ่ น
 QA
คือ กระบวนการตรวจสอบและประเมิน
 QA เป็ นหน้ าที่ของหน่ วยประกันฯ
 Quality ขึน
้ กับทรัพยากร
 ตัวบ่ งชี้(Indicator) กาหนดขึน
้ เพือ่ ให้ ได้
คะแนนสู งสุ ด
 ผู้ประเมิน มีความรู้ เกีย
่ วกับตัวบ่ งชี้อย่ างดี
ก็เพียงพอ
 QA Process มีลก
ั ษณะเป็ น Fragment
 Final process คือการผ่ านเกณฑ์ /การรั บรอง
การรับรู้ ทคี่ วรเป็ น
 QA
คือ กระบวนการพัฒนา สู่ ความเป็ นเลิศ
 QA เป็ นหน้ าที่ของทุกคนในสถาบันฯ
 Quality ขึน
้ กับความมุ่งมั่นของทุกคน
ในการร่ วมผลักดันให้ เกิด CQI
 ตัวบ่ งชี้ (Indicator) กาหนดขึน
้ เพือ่ ใช้ วดั
ความสาเร็จตามเป้ าหมายคุณภาพ
 ผู้ประเมินต้ องสามารถวิเคราะห์ เชิ งระบบถึง
ปัญหาของสถาบันฯและให้ ข้อเสนอแนะ
 QA Process เป็ นลักษณะ holistic
 Final Process คือ Quality Culture