กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก กรมธรรม์แบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์

Download Report

Transcript กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก กรมธรรม์แบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์

ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต
http://www.oic.or.th
http://www.oic.or.th
หัวข้อบรรยาย
ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต
ร ูปแบบและพัฒนาการของกรมธรรม์ประกันชีวิต
การเลือกซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต
http://www.oic.or.th
หัวข้อบรรยาย
ร ูปแบบและพัฒนาการของกรมธรรม์ประกันชีวิต
1
กรมธรรม์ประกันภัยแบบพื้นฐาน
2
โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย
3
กรมธรรม์ประกันภัยแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และ
แบบ Unit-Linked
http://www.oic.or.th
หัวข้อบรรยาย
ร ูปแบบและพัฒนาการของกรมธรรม์ประกันชีวิต
5
3
ความคม้ ุ ครองกรมธรรม์แบบUnit-Linked และ Universal Life
6
ประโยชน์และความสาคัญของกรมธรรม์ Unit-Linked และ Universal Life
7
3
ความแตกต่างของกรมธรรม์ Unit-Linked ยูนิเวอร์แซลไลฟ์
และแบบพื้นฐาน
http://www.oic.or.th
หัวข้อบรรยาย
การเลือกซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต
1
3
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
2
สัญญาเพิ่มเติม
3
บันทึกสลักหลัง
http://www.oic.or.th
พัฒนาการและรูปแบบของกรมธรรม์ประกันชีวิต
กรมธรรม์ประกันชีวิตพื้นฐาน
แบบ
ตลอดชีพ
แบบ
แบบ
แบบบานาญ
ชัว่ ระยะเวลา สะสมทรัพย์
กรมธรรม์ Universal Life
กรมธรรม์ Unit-Linked
ตัวอย่างกรมธรรม์แบบพื้นฐาน
การประกันชีวิตแบบตลอดชีพ
ตัวอย่าง นาย ก อายุ 30 ปี ได้ทาประกัน
ชีวิต แบบตลอดชีพ ชาระเบี้ยฯ 20 ปี
(Whole life Insurance)
ด้วยจานวนเงินเอาประกันภัย 100,000
ความคม้ ุ ครอง บริษทั ฯ จะ
บาท
จ่ายจานวนเงินเอาประกันภัย 1. นาย ก จะต้องชาระเบี้ยประกันภัยถึงอายุ
ให้แก่ผรู้ บั ประโยชน์ในกรณีที่ผ ู้
.......... ปี
เอาประกันภัยเสียชีวิตในขณะที่ 2. ถ้าต่อมานาย ก เสียชีวิต เมือ่ อายุ 80ปี
กรมธรรม์ยงั มีผลบังคับ
นาย ก จะได้รบั ความคุม้ ครอง .............
บาท
มีระยะเวลาเอาประกันภัย
ตลอดชีพหรือมากกว่าอาย ุ
90 ปี
กรมธรรม์แบบพื้นฐาน
ตัวอย่าง นาย ก อายุ 30 ปี ได้ทาประกัน
ชีวิต แบบชัว่ ระยะเวลา 10/10 ปี ด้วย
จานวนเงินเอาประกันภัย 100,000 บาท
ความคม้ ุ ครอง บริษทั ฯ จะจ่าย
1. นาย ก จะต้องชาระเบี้ยประกันภัยถึง
จานวนเงินเอาประกันภัยให้แก่ผรู้ บั
อายุ .......... ปี
ประโยชน์ในกรณีที่ผเู้ อาประกันภัย
เสียชีวิต ในขณะที่กรมธรรม์ยังมีผล 2. ถ้าต่อมาอีก 5 ปี นาย ก เสียชีวิต ผูร้ บั
ประโยชน์จะได้รบั ความคุม้ ครอง
บังคับและอยูใ่ นระยะเวลาเอา
............. บาท
ประกันภัย (ความคุม้ ครองกรณี
3. ถ้านาย ก เสียชีวิต ต่อมาอีก 15 ปี
เสียชีวิตเพียงอย่างเดียว)
ผูร้ บั ประโยชน์จะได้รบั ความคุม้ ครอง
มีระยะเวลาเอาประกันภัยจากัด
............. บาท
เช่น 5 ปี , 10 ปี เป็ นต้น
แบบชัว่ ระยะเวลา
(Term Insurance)
กรมธรรม์แบบพื้นฐาน
แบบ สะสมทรัพย์
(Endowment Insurance)
ความคม้ ุ ครอง บริษทั ฯ จะจ่ายจานวน
เงินเอาประกันภัยให้แก่ผรู้ บั ประโยชน์ใน
กรณีที่ผเู้ อาประกันภัยเสียชีวิต ในขณะ
ที่กรมธรรม์ยงั มีผลบังคับและอยู่ใน
ระยะเวลาเอาประกันภัย หรือจ่ายจานวน
เงินเอาประกันภัยให้แก่ผเู้ อาประกันภัย
เมือ่ มีชวี ิตอยูจ่ นครบกาหนดสัญญา
มีระยะเวลาเอาประกันภัยจากัด เช่น
5 ปี , 10 ปี เป็ นต้น
ตัวอย่าง นาย ก อายุ 30 ปี ได้ทา
ประกันชีวิต แบบสะสมทรัพย์15/10 ปี
ด้วยจานวนเงินเอาประกันภัย
100,000 บาท
1. นาย ก จะต้องชาระเบี้ยประกันภัยถึง
อายุ .......... ปี
2. ถ้าต่อมาอีก 5 ปี นาย ก เสียชีวิต
ผูร้ บั ประโยชน์จะได้รบั ความคุม้ ครอง
............. บาท
3. หรือหากนาย ก มีชวี ิตอยูจ่ นครบ
กาหนดสัญญา จะได้รบั ความ
คุม้ ครอง ................... บาท
กรมธรรม์แบบพื้นฐาน
แบบ บำนำญ (Annuity)
ความคม้ ุ ครอง บริษทั จะจ่ายเงินจานวนหนึง่ เท่ากันๆ อย่างสมา่ เสมอ ให้แก่ผ ู้
เอาประกันภัยทุกเดือน หรือทุกปี ตามการมีชวี ิตรอดของผูเ้ อาประกันภัยหลัง
การเกษียณหรืออายุตามที่กาหนดไว้ในกรมธรรม์ เช่น 55 ปี , 60 ปี เป็ นต้น
ระยะเวลาเอาประกันภัยตลอดชีพ หรือตามที่กาหนดไว้ในกรมธรรม์
ชำระเบีย้ ฯเป็ นรำยงวด
อำยุ x ปี
...
ชำระเบีย้ ฯประกันภัยครั้งเดียว
60
ปี
...
การจ่ ายบานาญหรือจ่ ายเงินได้ ประจำ
การจัดทาตารางบานาญ และการเปลี่ยนแปลงกรมธรรม์แบบ
บานาญในประเทศไทย
กรมธรรม์แบบบานาญ(เดิม)
กรมธรรม์แบบบานาญ(ใหม่)
 ไม่ได้เน้นผลประโยชน์เงินจ่ายคืนเป็ นเงินได้
ประจาตามการอยูร่ อด
 ผูเ้ อาประกันภัยต้องจ่ายเบี้ยประกันภัยสาหรับ
ความคุม้ ครองที่อาจจะไม่จาเป็ น
 บริ ษทั สามารถออกกรมธรรม์ที่เน้น
ผลประโยชน์เงินจ่ายคืนเป็ นเงินได้ประจา
ตามการอยูร่ อด
 ผูเ้ อาประกันภัยจ่ายเบี้ยฯ เพื่อเน้นความ
คุม้ ครองบานาญจริ ง ๆ ได้
ไม่ มตี ำรำงบำนำญ (ทาให้บริ ษทั คิดอัตราการอยูร่ อดไว้ต่ากว่า
ความเป็ นจริ ง)
เมื่อมีตำรำงบำนำญ(มีอตั ราการอยูร่ อดสอดคล้องกับความ
เป็ นจริ ง)
กรมธรรม์ ประกันชีวติ แบบบำนำญหรือแบบเงินได้ ประจำ
ลักษณะของการจ่ายบานาญหรือ
การจ่ายเงินได้ประจา
 รับประกันจานวนงวดการจ่ายคืนเงินได้
 จ่ายคืนเงินได้ตามการอยูร่ อดของผูเ้ อา
ประกันภัย
ปัจจัยสนับสน ุนการเติบโตของกรมธรรม์
ชีวิตแบบบานาญในประเทศไทย
 คนมีแนวโน้มที่จะมีอาย ุยืนยาวขึ้น
 ลักษณะครอบครัวเป็นครอบครัว
เดียวมากขึ้น การพึ่งพาอาศัยกันมี
น้อยลง
 ปัจจุบนั การจัดสวัสดิการจัดภาครัฐ
ในการด ูแลคนชรามีนอ้ ยมาก
 การสนับสน ุนจาก สานักงาน คปภ.
และภาครัฐ เช่น จัดทาตาราง
บานาญ
โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย
โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย
ค่าใช้จ่าย
การนาเงินส่ วนของการออมไปลงทุน
พอร์ตการลงทุนของบริ ษทั
ค่าค่าการประกันภัย
พอร์ตการลงทุนของ
กรมธรรม์UL
เงินส่ วนของการออม
พอร์ ตโฟลิโอของลูกค้ ำ
กองทุนรวม1
กองทุนรวม2
.
.
.
กรมธรรม์แบบพื้นฐาน
ลักษณะที่สำคัญของกรมธรรม์ แบบพืน้ ฐำน
 บริ ษทั ประกันชีวติ จะคิดอัตราผลตอบแทน
ให้กบั เงินส่ วนของการออมด้วยอัตราที่
แน่นอนตายตัวตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย
เมื่อบริ ษทั รับประกันภัยแล้วเป็ นหน้าที่ของ
บริ ษทั ที่จะต้องนาเบี้ยประกันภัยที่ได้รับไป
บริ หารและลงทุนให้ได้ผลตอบแทนที่เพียง
พอที่จะมาจ่ายผลประโยชน์ตามที่บริ ษทั ได้
สัญญาเอาไว้กบั ผูเ้ อาประกันภัย
การนาเงินส่ วนของการออมไปลงทุน
ของกรมธรรม์แบบพื้นฐาน
เบี้ยประกันภัย
ของนาย ก
เบี้ยประกันภัย
ของนาย ข
พอร์ตการลงทุน
รวมของบริษทั
เบี้ยประกันภัย
ของรายอื่น ๆ
กรมธรรม์แบบUniversal life
ลักษณะของกรมธรรม์
 บริ ษทั จะนาเงินค่าเบี้ยประกันภัยส่ วนหนึ่ง
ไปซื้ อความคุม้ ครองชีวิต (คุม้ ครองกรณี
เสี ยชีวิต)
 อีกส่ วนหนึ่งนาไปลงทุน โดยตั้งพอร์ต
ลงทุนแยกต่างหากจากการลงทุนอื่นของ
บริ ษทั
 และผลตอบแทนจากการลงทุนของพอร์ต
บริ ษทั จะจัดสรรสะสมเข้าบัญชีกรมธรรม์
ของผูเ้ อาประกันภัยแบบ UL แต่ละราย
ตามส่ วน
เบี้ยประกันภัยของผูเ้ อาประกันภัยนา
ไปลงทุนรวมกันในพอร์ตลงทุนUL
เบี้ยประกันภัย
ของนาย ก
เบี้ย
ประกันภั
ย
ของนาย ข
เบี้ยประกันภัย
ของรายอื่น ๆ
พอร์ตการลงทุนของ
กรมธรรม์ UL
กรมธรรม์แบบ Unit Linked
ลักษณะสาคัญของกรมธรรม์
บริษทั จะนาเงินค่าเบี้ยประกันภัย
ส่วนหนึง่ ไปซื้อความคุม้ ครองชีวิต
(คุม้ ครองกรณีเสียชีวิต)
อีกส่วนหนึง่ นาไปลงทุน โดยผูเ้ อา
ประกันภัยเป็ นผูเ้ ลือกลงทุนใน
กองทุนรวมต่าง ๆ ที่บริษทั
กาหนดไว้ได้เอง
การเพิ่มขึน้ หรือลดลงมูลค่าของ
หน่วยลงทุนที่ผเู้ อาประกันภัยเลือก
ลงทุนไว้จะถูกสะสมเข้าหรือหักออก
จากบัญชีกรมธรรม์ของผูเ้ อา
ประกันภัย
เบี้ยประกันภัยของผูเ้ อาประกันภัยจะถูกนา
ไปลงทุนในกองทุนรวมต่าง ๆตามที่เลือก
กองทุนรวม
A
กองทุนรวม
B
เบี้ยประกันชีวิต
กองทุนรวม
C
กองทุนรวม
อื่น ๆ
ความคม้ ุ ครองกรมธรรม์แบบUnit-Linked และ Universal Life
ความคม้ ุ ครอง มี 2 แบบ ดังนี้
แบบที่ 1
กรณีเสียชีวิต จานวนเงินเอาประกันภัย หรือมูลค่าบัญชีกรมธรรม์แล้วแต่
จานวนใดจะมากกว่า
กรณีอยูค่ รบกาหนดสัญญา บริษทั จะจ่ายมูลค่าบัญชีกรมธรรม์
แบบที่ 2
กรณีเสียชีวิต จานวนเงินเอาประกันภัย บวก มูลค่าบัญชีกรมธรรม์
กรณีอยูค่ รบกาหนดสัญญา บริษทั จะจ่ายมูลค่าบัญชีกรมธรรม์
http://www.oic.or.th
การกาหนดผลประโยชน์กรณีมรณกรรมของกรมธรรม์ Unit-Linked และ Universal Life
ผลประโยชน์กรณีมรณกรรมจะมีคา่ เท่ากับจานวนเงินเอาประกันภัยหรือมูลค่า
บัญชีกรมธรรม์แล้วแต่จานวนใดจะมากกว่า
จำนวนเงิน
เส้ นจำนวนเงินเอำประกันภัย
เส้ นสี นำ้ ตำล เป็ นผลประโยชน์
กรณีมรณกรรม
ควำมสู งของพืน้ ที่
แลเงำเป็ นจำนวน
เงินเสี่ ยงภัยสุ ทธิ
เส้ นมูลค่ ำบัญชีกรม่ ธรรม์ ประกันภัย
ปี กรมธรรม์
http://www.oic.or.th
การกาหนดผลประโยชน์กรณีมรณกรรมของกรมธรรม์ Unit-Linked และ Universal Life
จำนวนเงิน
เส้ นสี นำ้ ตำล คือ ผลประโยชน์ มรณกรรม
จำนวนเงินเอำ
ประกันภัย หรือ จำนวน
เงินเสี่ ยงภัยสุ ทธิ
ควำมสู งของพืน้ ที่
สี ฟ้ำ คือ มูลค่ ำ
บัญชีกรมธรรม์ ฯ
ปี กรมธรรม์
กรมธรรม์แบบUnit-Linked และ Universal Life
ตัวอย่าง นาย ก อายุ 30 ปี ได้ทาประกันชีวิต แบบ Universal Life จานวนเงิน
เอาประกันภัย 1,000,000 บาท และเสียชีวิต ณ สิ้นปี กรมธรรม์ที่ 5
ขณะนัน้ กรมธรรม์มมี ลู ค่าบัญชีกรมธรรม์สะสมอยู่ 500,000 บาท
อยากทราบว่าบริษทั จะต้องจ่ายเงินให้ผรู้ บั ผลประโยชน์เป็ นจานวนเท่าใด
1. กรณีที่ กรมธรรม์นกี้ าหนดให้ จานวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิ เท่ากับ จานวน
เงินเอาประกันภัย (แบบที่ 2)
2. กรณีที่ กรมธรรม์นกี้ าหนดให้ จานวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิ เท่ากับ จานวน
เงินเอาประกันภัย หักด้วยมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ (แบบที่ 1)
http://www.oic.or.th
การทางานของกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบ Universal Life
ชาระเบี้ยประกันภัย
ล ูกค้า
นาเบี้ยประกันที่หกั ค่าการประกันภัยและค่าธรรมเนียม
กรมธรรม์แล้วไปซื้อหน่วยลงทุนในราคาเสนอขาย
บริษทั ประกันชีวิต
พอร์ตการลงท ุนของกรมธรรม์ UL
เบี้ยฯส่วนที่เป็ นส่วนของการออม +
ผลตอบแทนจากการลงทุนของพอร์ต
• ค่ าการประกันภัย
• ค่ าใช้ จ่ายต่ างๆ
มูลค่ ำบัญชีกรมธรรม์ ประกันภัยของลูกค้ ำ
ถอนคืนบางส่ วน
จานวนเงินที่ถอนจากบัญชีกรมธรรม์ฯหักค่าธรรมเนียมในการถอน
เวนคืนกรมธรรม์
ครบสัญญา
เสียชีวิต
จานวนเงินตามมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ฯหักค่าธรรมเนียมในการ
ถอน + จานวนเงินเสี่ยงภัยส ุทธิ(ที่บริษทั ต้องจ่ายเพิ่ม)
กระแสเงินไหลเวียนของกรมธรรม์แบบ Universal Life
ถ้ ำเสี ยชีวติ
ชำระเบีย้ ฯงวดที่ 1
ถ้ ำเวนคืนกรมธรรม์
ชำระเบีย้ ฯงวดที่ 2
...
อำยุ x ปี
ถ้ ำถอนมูลค่ ำบัญชีฯบำงส่ วน
รอบกำรหักบัญชีรำยเดือน
http://www.oic.or.th
การทางานของกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบ Unit-Linked
นำเบี ้ยประกันที่หกั ค่ำกำรประกันภัยและค่ำธรรมเนียม
กรมธรรม์แล้ วไปซื ้อหน่วยลงทุนในรำคำเสนอขำย
ชำระเบี ้ยประกัน
ลูกค้ า
บริษัทประกันชีวิต
• ค่ าการประกันภัย
• ค่ าใช้ จ่ายต่ างๆ
ถอนคืนบางส่ วน
บริษัทหลักทรั พย์ จัดการกองทุน
พอร์ ตโฟลิโอ (กองทุนรวม) ของลูกค้ า
ตราสารเงิน
ตราสารหนี ้
ผสม
ตราสารทุน
ต่ างประเทศ
เวนคืนกรมธรรม์
ครบสัญญา
เสียชีวิต
ขำยคืนหน่วยลงทุนในรำคำรับซื ้อคืน
ขำยคืนหน่วยลงทุนในรำคำรับซื ้อคืน + จำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิ(ที่บริษัทต้ องจ่ำยเพิม่ )
http://www.oic.or.th
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องในกรมธรรม์แบบ Unit-Linked
เบี้ยประกันภัย
หลัก
ค่าการ
ประกันภัย
ราคาขาย
หน่วยลงท ุน
เบี้ยประกันภัย
เพิ่มพิเศษ
จานวนความ
เสี่ยงภัยส ุทธิ
ราคารับซื้อ
คืนหน่วย
ลงท ุน
ค่าใช้จ่ายที่หกั
จาก
เบี้ยประกันภัย
มูลค่า
ทรัพย์สิน
ส ุทธิ
มูลค่าบัญชี
กรมธรรม์
ประกันภัย
ค่าธรรมเนียม
รักษา
กรมธรรม์
มูลค่า
หน่วยลงท ุน
มูลค่าเวนคืน
กรมธรรม์
ประกันภัย
การหย ุดพ
ชาระเบี้ย
ประกันภ
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องในกรมธรรม์แบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์
เบี้ยประกันภัยหลัก
ค่าการประกันภัย
มูลค่าบัญชี
กรมธรรม์
ประกันภัย
เบี้ยประกันภัยเพิ่ม
พิเศษ
จานวนความ
เสี่ยงภัยส ุทธิ
มูลค่าเวนคืน
กรมธรรม์
ประกันภัย
ค่าใช้จ่ายที่หกั จาก
เบี้ยประกันภัย
ค่าธรรมเนียม
รักษากรมธรรม์
การหย ุดพักชาระ
เบี้ยประกันภัย
http://www.oic.or.th
ประโยชน์และความสาคัญของกรมธรรม์ Unit-Linked และ Universal Life
http://www.oic.or.th
ประโยชน์ต่อผูเ้ อาประกันภัย
ผูเ้ อาประกันภัยมัน่ ใจได้มากขึ้นว่าจะได้ความคม้ ุ ครองตาม
สัญญา
http://www.oic.or.th
ประโยชน์ต่อธุรกิจประกันชีวิต
http://www.oic.or.th
ประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ
http://www.oic.or.th
ความแตกต่างของกรมธรรม์ 3 แบบ
Unit-Linked
นโยบายการ เปิดเผย ผูเ้ อาประกันภัย
ลงท ุนของเงิน สามารถเลือกลงท ุนได้
ในส่วนการออม
ตามความต้องการ
ความเสี่ยงด้าน ผูเ้ อาประกันภัยเป็ นผูร้ บั
ความเสี่ยงเพียงฝ่ายเดียว
การลงท ุน
เบี้ยประกันภัย
การลงท ุน

ยูนิเวอร์แซลไลฟ์
แบบพื้นฐาน
มีการเปิ ดเผยถึงข้อมูลการ
ลงท ุนหรืออัตราผลตอบแทน
จากการลงท ุน เพื่อเป็ นข้อมูล
ให้ผเ้ ู อาประกันภัยประกอบการ
ตัดสินใจ
ไม่เปิดเผย โดยเน้น
การลงท ุนที่ทาให้
บริษทั สามารถจ่ายเงิน
คืนตามสัญญาได้
บริษทั และผูเ้ อาประกันภัย
เป็นผูร้ บั ร่วมกัน

บริษทั ประกันภัยเป็น
ผูร้ บั เพียงฝ่ายเดียว
โปร่งใส แยกเบี้ย
ประกันภัยและค่าใช้จ่าย
ให้ผเ้ ู อาประกันภัยเห็น
อย่างชัดเจน
โปร่งใส แยกเบี้ยประกันภัย
และค่าใช้จ่ายให้
ผูเ้ อาประกันภัยเห็นอย่าง
ชัดเจน
รวมเป็ นจานวนเดียวทัง้
ค่าใช้จ่าย ค่าการประกัน
ภัยและส่วนของการออม
กองท ุนรวม
แยกพอร์ตการลงท ุนเฉพาะ
แบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ ออกจาก
พอร์ตการลงท ุนรวมของบริษทั
พอร์ตการลงท ุนรวม
ของบริษทั
http://www.oic.or.th
ความแตกต่างของกรมธรรม์ 3 แบบ
Unit-Linked
เป็นอัตราที่ไม่คงที่ข้ ึนอยู่
กับราคาหน่วยลงท ุน
ผลตอบแทนต่อ
ของกองท ุนรวมที่ผเ้ ู อา
ผูเ้ อาประกันภัย
ประกันภัยเลือก ซึ่ง
อาจจะกาไรหรือขาดท ุน
ผลประโยชน์มรณกรรม
ไม่ต่ากว่าจานวนเงิน
ผลประโยชน์
เอาประกันภัยและ
มรณกรรมและ ผลประโยชน์ครบกาหนด
ผลประโยชน์
สัญญาขึ้นอยูก่ บั ราคา
ครบกาหนด
หน่วยลงท ุน อาจจะต่า
สัญญา
หรือสูงกว่าส่วนของ
เบี้ยประกันภัยที่เป็น

ยูนิเวอร์แซลไลฟ์
แบบพื้นฐาน
เป็นอัตราที่ไม่คงที่ข้ ึนอยูก่ บั
ผลตอบแทนที่บริษทั ประกัน
ชีวิตสามารถทาได้ แต่ไม่ต่า
กว่าอัตราผลตอบแทนที่
รับรองไว้
เป็นอัตราคงที่
ตลอดระยะเวลา
เอาประกันภัย (อัตรา
ดอกเบี้ยที่ใช้คานวณ
เบี้ย
ประกันภัย)
ผลประโยชน์มรณกรรมไม่
ต่ากว่าจานวนเงินเอา
ประกันภัย และผลประโยชน์
ครบกาหนดสัญญาขึ้นอยู่
กับผลตอบแทนแต่ไม่ต่ากว่า
ส่วนของเบี้ยประกันภัยที่
เป็นส่วนการลงท ุน

เป็นจานวนเงินที่
แน่นอนตามที่ระบ ุใน
กรมธรรม์ประกันภัย
การเลือกซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต
ประโยชน์ ของกำรประกันชีวติ ทีต่ ่ ำงจำกกำรฝำกเงินธนำคำรหรือกำรออมแบบอืน่ ๆ
มี 2 ประการหลัก ๆ ดังนี้
1. การประกันชีวติ สามารถเลือกรับผลประโยชน์เฉพาะเมื่อเกิดเหตุการณ์บางเหตุการณ์ได้ เช่น
รับผลประโยชน์เฉพาะกรณี ตาย หรื ออาจเลือกรับผลประโยชน์เฉพาะเมื่ออยูค่ รบกาหนด
สัญญา เป็ นต้น ดังนั้น เงินสะสมของผูเ้ อาประกันภัยถูกเน้นไปเพื่อคุม้ ครองเฉพาะเหตุการณ์ที่
จาเป็ นตามความต้องการของผูเ้ อาประกันภัยจริ ง ๆ ทาให้ผเู้ อาประกันภัยไม่ตอ้ งออมเงินเพื่อ
คุม้ ความสถานะการณ์บางอย่างมากเท่ากับการออมเงินวิธีอื่น
2. การประกันชีวติ จะกาหนดจานวนเงินผลประโยชน์ที่ผเู ้ อาประกันภัยจะได้รับเมื่อเกิดภัยตาม
เหตุการณ์ที่ระบุในกรมธรรม์เป็ นจานวนที่แน่นนอนลงไปเลย ทาให้เมื่อเกิดภัยผูเ้ อา
ประกันภัยจะได้รับเงินผลประโยชน์เต็มจานวนตามที่เอาประกันภัยไว้ได้เลย ไม่เหมือนการ
ออมเงินวิธีอื่น ออมไว้เท่าไรก็ถอนได้เท่านั้น ซึ่งจะทาให้ผอู้ อมวางแผนทางการเงินได้ยาก
การเลือกซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต
 กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
1. กรมธรรม์ ประกันชีวติ แบบพืน้ ฐำน
2. กรมธรรม์ แบบยูนิเวอร์ แซลไลฟ์
3. กรมธรรม์ แบบยูนิทลิงค์
 สัญญาเพิ่มเติม
1. สั ญญำเพิม่ เติมกำรประกันภัยสุ ขภำพ
2. สั ญญำเพิม่ เติมกำรประกันภัยอุบตั ิเหตุ
3. สั ญญำเพิม่ เติมอืน่ ๆ
 บันทึกสลักหลัง
1. บันทึกสลักหลังขยายความคุม้ ครอง จราจล ฆาตกรรม ลอบทาร้าย และสงคราม
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
การจ่ายผลประโยชน์ของกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบพื้นฐาน
มีการจ่ายใน 2 เหตุการณ์หลัก ๆ คือ
1. จ่ายผลประโยชน์เมือ่ ผูเ้ อาประกันภัยเสียชีวิต
2. จ่ายผลประโยชน์เมือ่ ผูเ้ อาประกันภัยมีชวี ิตรอด
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
กรมธรรม์แบบชัว่ ระยะเวลา
 กรมธรรม์แบบนี้ จะจ่ายผลประโยชน์ในกรณี ที่ผเู ้ อาประกันภัยเสี ยชีวติ อย่างเดียว
 เมื่อกรมธรรม์สิ้นสุ ดสัญญาจะไม่มีมูลค่าใด ๆ เหลืออยู่
 เงินค่าเบี้ยประกันภัยทั้งหมด ถูกเน้นไปซื้ อความคุม้ ครองตายเพียงอย่างเดียว ค่า
เบี้ยประกันภัย จึงไม่แพงเมื่อเทียบกับกรมธรรม์แบบอื่นที่จานวนเงินเอา
ประกันภัยเท่ากัน
 เหมาะกับผูเ้ อาประกันภัยที่เป็ นผูห้ ารายได้หลักเลี้ยงครอบครัว ที่ตอ้ งการสร้าง
หลักประกันให้กบั คนที่อยูข่ า้ งหลังยามเมื่อตนมีเหตุตอ้ งเสี ยชีวิต
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
กรมธรรม์แบบสะสมทรัพย์
 กรมธรรม์แบบนี้ จะจ่ายผลประโยชน์ในกรณี ที่ผเู ้ อาประกันภัยเสี ยชีวิตและจ่าย
ผลประโยชน์เมื่อผูเ้ อาประกันภัยมีชีวิตอยูร่ อดจนครบกาหนดสัญญาด้วย
 ดังนั้น ค่าเบี้ยประกันภัย จึงไม่ถกู นัก
 เหมาะกับผูเ้ อาประกันภัย ที่ตอ้ งการคุม้ ครองความเสี่ ยงภัยด้วย และขณะเดียวกัน
ก็ตอ้ งการออมเงินด้วย
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
กรมธรรม์แบบตลอดชีพ
 กรมธรรม์แบบนี้ จะจ่ายผลประโยชน์ในกรณี ที่ผเู ้ อาประกันภัยเสี ยชีวิตอย่าง
เดียว เหมือนกรมธรรม์แบบชัว่ ระยะเวลา
 แต่ระยะเวลาเอาประกันภัยจะยาวไปตลอดชีวิตของผูเ้ อาประกันภัย หรื อ อายุ
90 ปี ขึ้นไป
 ค่าเบี้ยประกันภัยที่จ่ายทั้งหมด ถูกเน้นไปซื้ อความคุม้ ครองตายเพียงอย่างเดียว
เหมือนกัน และค่าเบี้ยประกันภัยก็ไม่แพงเมื่อเทียบกับจานวนเงินเอาประกันภัย
เช่นเดียวกัน
 เหมาะกับผูเ้ อาประกันภัยที่เป็ นผูห้ ารายได้หลักเลี้ยงครอบครัว ที่ตอ้ งการสร้าง
หลักประกันให้กบั คนที่อยูข่ า้ งหลังยามเมื่อตนมีเหตุตอ้ งเสี ยชีวิตเช่นเดียวกัน
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
กรมธรรม์แบบบานาญ
 เป็ นกรมธรรม์ประกันชีวติ ที่มีการจ่ายเงินจานวนหนึ่งเท่ากันอย่างสม่าเสมอให้แก่ผเู ้ อา
ประกันภัยตามการอยูร่ อดของผูเ้ อาประกันภัย หลังจากที่ผเู ้ อาประกันภัยมีอายุครบเกณฑ์ที่
กาหนด เช่น 60 ปี หรื อหลังจากเกษียญ เป็ นต้น
 การประกันชีวติ แบบบานาญต่างจากการฝากเงินธนาคารหรื อการออมแบบอื่น ๆ 2 ประการ
1. การประกันชีวติ แบบบานาญจะเน้นซื้อความคุม้ ครองเฉพาะรับผลประโยชน์เงินบานาญ
ซึ่งทาให้ผเู้ อาประกันภัยไม่ตอ้ งเก็บไว้ใช้เป็ นเงินบานาญมากเท่ากับการออมเงินด้วยวิธีอื่น
2. การประกันชีวติ แบบบานาญทาให้ผเู ้ อาประกันภัยจะทราบได้วา่ ตนเองจะมีเงินใช้ใน
อนาคตเดือนละเท่าไร ไม่เหมือนการออมเงินวิธีอื่น ที่ออมไว้เท่าไรก็ใช้ได้เท่านั้น ไม่
ทราบว่าจะต้องออมเท่าไรถึงจะมีเงินพอใช้ไปตลอดชีวติ ซึ่งจะทาให้ผอู้ อมวางแผนทาง
การเงินได้ยาก
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
กรมธรรม์ประกันชีวิตคุม้ ครองสินเชือ่
 กรมธรรม์แบบนี้ จะคุม้ ครองกรณี ที่ผเู ้ อาประกันภัยเสี ยชีวิตอย่างเดียวหรื อ
บางครั้งอาจคุม้ ครองกรณี ที่ผเู ้ อาประกันภัยทุพพลภาพสิ้ นเชิงถาวรด้วย
 โดยจานวนเงินเอาประกันภัยส่ วนใหญ่จะลดลงตามจานวนหนี้สินที่ลดลงตาม
การผ่อนชาระของผูเ้ อาประภัย
 กรมธรรม์แบบนี้มีประโยชน์มากกับผูท้ ี่กยู้ มื เงิน เพราะหากผูก้ ยู้ มื เงินเสี ยชีวิต
ภาระผ่อนชาระหนี้ กไ็ ม่ตอ้ งเป็ นภาระแก่คนข้าง
 อีกทั้งกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินที่ซ้ื อไว้กย็ งั คงอยู่
 หรื อกรณี ผเู ้ อาประกันภัยทุพพลภาพสิ้ นเชิงถาวร ผูเ้ อาประกันภัยก็ไม่ตอ้ งผ่อน
ชาระอีกต่อไป
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
กรมธรรม์ประกันภัยอ ุบัติเหต ุส่วนบ ุคคล
 กรมธรรม์แบบนี้ จะคุม้ ครองภัยที่เกิดจากอุบตั ิเหตุ ซึ่ งจะอาจคุม้ ครองกรณี ที่ผู้
เอาประกันภัยเสี ยชีวิตอย่างเดียวหรื อบางครั้งอาจคุม้ ครองกรณี ที่ผเู ้ อาประกันภัย
ทุพพลภาพหรื อสูญเสี ยอวัยวะด้วย หรื ออาจมีบนั ทึกสลักหลังยขยายความ
คุม้ ครองอื่น ๆ เพิ่มเติมแล้วแต่การออกแบบผลิตภัณฑ์ของแต่ละบริ ษทั
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
กรมธรรม์แบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์
 กรมธรรม์ประเภทนี้เหมาะกับผูเ้ อาประกันภัยที่ชอบลงทุนแบบมีความเสี่ ยง
เพื่อที่จะได้มีโอกาสได้รับผลตอบแทนในอัตราที่สูงขึ้น กรมธรรม์ประเภทนี้มี
ความเสี่ ยงสู งกว่ากรมธรรม์แบบพื้นฐาน
 และเหมาะกับผูเ้ อาประกันภัยที่ไม่มีเวลาหรื อความรู ้เพียงพอที่จะติดตามการ
ลงทุนได้ เพราะพอร์ตการลงทุนของกรมธรรม์แบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ บริ หารโดย
บริ ษทั ประกันชีวติ
 เป็ นกรมธรรม์ประเภทนี้มีความยืดหยุน่ ในการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขความ
คุม้ ครองระหว่างที่เอาประกันภัยได้ แต่ท้ งั นี้ข้ ึนอยูก่ บั การออกแบบผลิตภัณฑ์ของ
แต่ละบริ ษทั
กรมธรรม์ประกันชีวิตหลัก
กรมธรรม์แบบยูนิทลิงค์
 กรมธรรม์ประเภทนี้เหมาะกับผูเ้ อาประกันภัยที่ชอบลงทุนแบบมีความเสี่ ยง
เพื่อที่จะได้มีโอกาสได้รับผลตอบแทนในอัตราที่สูงขึ้น กรมธรรม์ประเภทนี้มี
ความเสี่ ยงสู งกว่ากรมธรรม์แบบยูนิเวอร์ แซลไลฟ์ และพื้นฐาน
 เป็ นกรมธรรม์ประเภทนี้มีความยืดหยุน่ ในการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขความ
คุม้ ครองระหว่างที่เอาประกันภัยได้ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั การออกแบบผลิตภัณฑ์ของแต่
ละบริ ษทั
 หากบริ ษทั ประกันชีวิตล้มละลายหน่วงละทุนในพอร์ ตโฟลิโอของผูเ้ อา
ประกันภัยไม่ถกู ชาระบัญชีรวมกับทรัพย์สินอื่น ๆ ของบริ ษทั
สัญญาเพิ่มเติมและบันทึกสลักหลัง
สั ญญำเพิม่ เติม
 สัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุ ขภาพ
 สัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยอุบตั ิเหตุ
 สัญญาเพิ่มเติมคุม้ ครองการทุพพลภาพสิ้ นเชิงถาวร หรื อคุม้ ครองโรคร้ายแรง
หรื อโรคมะเร็ ง
 สัญญาเพิม่ เติมคุม้ ครองผูช้ าระเบี้ยประกันภัย
 สัญญาเพิม่ เติมยกเว้นเบี้ยประกันภัย
บันทึกสลักหลัง
 บันทึกสลักหลังขยายความคุม้ ครอง จราจล ฆาตกรรม ลอบทาร้าย และสงคราม
สัญญาเพิ่มเติมและบันทึกสลักหลัง
สั ญญำเพิม่ เติมกำรประกันภัยสุ ขภำพ
 สั ญญำเพิม่ เติมกำรประกันภัยสุ ขภำพคุ้มครองกรณีเป็ นผู้ป่วยใน แบ่งเป็ น 3 แบบหลัก ดังนี้
1.
แบบแรก จ่ายความคุม้ ครองไม่เกินค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้นจริ งและไม่เกินจานวนเงินสุ งสุ ดของรายการความคุม้ ครองแต่ละรายการ
ดังนี้
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริ การพยาบาลประจาวัน (สูงสุด ไม่เกิน ...........วัน) และในกรณี ที่ผเู ้ อาประกันภัย
ได้รับการรักษาในห้องผูป้ ่ วยหนัก (ไอ.ซี.ยู.) ผลประโยชน์ดงั กล่าวจะจ่ายให้เป็ นจานวนสองเท่า (สูงสุดไม่เกิน ................. วัน)
ค่าแพทย์ตรวจรักษาในโรงพยาบาล (สูงสุด ไม่เกิน .............วัน)
ค่าแพทย์ผา่ ตัดและหัตถการ
ค่าแพทย์วสิ ญ
ั ญี
ค่าห้องผ่าตัดและอุปกรณ์ในห้องผ่าตัด
ค่ารักษาพยาบาลอื่นๆ ในโรงพยาบาล สาหรับค่ายาและเวชภัณฑ์ , การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ การตรวจวินิจฉัยทางรังสี วทิ ยา การให้โลหิ ต
และพลาสม่า และ กายภาพบาบัด และค่ารถพยาบาล เป็ นต้น
ในกรณี ที่ผเู ้ อาประกันภัยได้เข้ารับการรักษาเป็ นผูป้ ่ วยนอกของโรงพยาบาล(หรื อสถานพยาบาลเวชกรรม Option) บริ ษทั จะจ่ายผลประโยชน์
ดังต่อไปนี้
ค่าตรวจวินิจฉัยทางรังสี วทิ ยาและการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการสาหรับผูป้ ่ วยนอกซึ่งเกิดขึ้นภายใน ........ วัน ก่อนหรื อ หลังการเข้าพัก
รักษาพยาบาลในครั้งนั้น(ขั้นต่า ๓๐ วัน)
ค่ารักษาพยาบาลฉุกเฉิ นสาหรับผูป้ ่ วยนอก (เนื่องจากอุบตั ิเหตุ) ภายใน ........... ชัว่ โมง(ขั้นต่า ๒๔ ชม.)
จ่ายความคุม้ ครองไม่เกินค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้นจริ งและสุงสุดไม่เกินจานวนเงินรวมสุงสุดที่คุม้ ครอง
จ่ายความคุม้ ครองเท่ากับจานวนเงินค่าชดเชยรายวันและไม่เกิน........วัน
ข้อควรพิจารณา ของสัญญาเพิ่มเติมนี้ ผูเ้ อาประกันภัยต้องพิจารณาถึงความซ้ าซ้อนของการจ่ายค่าสิ นไหมตามสัญญา
นี้ กับการได้รับเงินสวัสดิการอื่นหรื อการประกันสุ ขภาพอื่นของผูเ้ อาประกันภัย เพราะผูเ้ อาประกันภัยไม่สามารถเบิกได้มากกว่าที่
จ่ายค่ารักษาพยาบาลจริ ง
สัญญาเพิ่มเติมและบันทึกสลักหลัง
สั ญญำเพิม่ เติมกำรประกันภัยสุ ขภำพ
 สั ญญำเพิม่ เติมกำรประกันภัยสุ ขภำพคุ้มครองกรณีเป็ นผู้ป่วยใน แบ่งเป็ น 3 แบบหลัก ดังนี้
2. แบบที่สองจ่ายความคุม้ ครองไม่เกินค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้นจริ งและจ่ายสุงสุดไม่เกินจานวนเงินที่คุม้ ครอง
รวม(ไม่แยกรายการที่คุม้ ครอง)
ข้อควรพิจารณา ของสัญญาเพิ่มเติมนี้ ผูเ้ อาประกันภัยต้องพิจารณาถึงความซ้ าซ้อนของการ
จ่ายค่าสิ นไหมตามสัญญานี้ กับการได้รับเงินสวัสดิการอื่นหรื อการประกันสุขภาพอื่นของผูเ้ อาประกันภัย
เพราะผูเ้ อาประกันภัยไม่สามารถเบิกได้มากกว่าที่จ่ายค่ารักษาพยาบาลจริ ง แต่จานวนเงินสุ งสุดที่คุม้ ครอง
จะจากัดความคุม้ ครอง โดยไม่แยกรายการ
3. จ่ายความคุม้ ครองเท่ากับจานวนเงินค่าชดเชยรายวันและไม่เกิน........วัน
สัญญาเพิ่มเติมนี้ผเู้ อาประกันภัยสามารถรับเงินดเชยเป็ นรายวันตามจานวนวันที่เข้าพักรักษา
ตัวเป็ นผูป้ ่ วยใน โดยไม่ตอ้ งคานึงว่าผูเ้ อาประกันภัยได้รับเงินค่ารักษาพยาบาลจากสวัสดิการอื่นมาก่อน
หรื อไม่
สัญญาเพิ่มเติมและบันทึกสลักหลัง
สั ญญำเพิม่ เติม
 สัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยอุบตั ิเหตุ
บริ ษทั จ่ายความคุม้ ครองในกรณี ที่เกิดภัยจากอุบตั ิเหตุ โดยแบ่งออกเป็ น 3 แบบหลัก
ดังนี้
1. ที่จ่ายคุม้ ครองในกรณี เสี ยชีวติ
2. ที่จ่ายคุม้ ครองในกรณี เสี ยชีวติ และสูญเสี ยอวัยวะ
3. ที่จ่ายคุม้ ครองในกรณี เสี ยชีวติ และสูญเสี ยอวัยวะและทุพพลภาพ
สัญญาเพิ่มเติมและบันทึกสลักหลัง
สั ญญำเพิม่ เติม
 สัญญาเพิ่มเติมคุม้ ครองทุพพลภาพสิ้ นเชิงถาวร หรื อสัญญาเพิ่มเติมคุม้ ครองโรคร้ายแรง หรื อ
สัญญาเพิ่มเติมคุม้ ครองโรคมะเร็ง แบ่งตามลักษณะการจ่ายความคุม้ ครองได้ 2 ลักษณะ
 จ่ายความคุม้ ครองเท่ากับจานวนเงินเอาประกันภัย
 จ่ายความคุม้ ครองแบบเร่ งจ่ายความคุม้ ครองกรมธรรม์หลัก
สัญญานี้จะจ่ายความคุม้ ครองเท่ากับจานวนเงินเอาประกันภัยตามกรมธรรม์
หลัก เมื่อจ่ายความคุม้ ครองตามสัญญาเพิ่มเติมแบบนี้แล้วจะมีผลทาให้ความคุม้ ครองตาม
กรมธรรม์หลักสิ้ นสุ ด
ข้อสังเกตุ เงื่อนไขที่วา่ “เมื่อจ่ายความคุม้ ครองตามสัญญาเพิ่มเติมแบบนี้แล้ว
จะมีผลทาให้ความคุม้ ครองตามกรมธรรม์หลักสิ้ นสุ ด” จะทาให้สญ
ั ญาเพิม่ เติมอื่น ๆ ที่
แนบท้ายกรมธรรม์หลักรวมทั้งสัญญาเพิ่มเติมสุ ขภาพสิ้ นสุ ดลงด้วย ซึ่ งอาจเป็ นผลร้าย
กับผูเ้ อาประกันภัยที่กาลังเจ็บป่ วยแทนที่จะได้รับความคุม้ ครองตามสัญญาเพิม่ เติม
สุ ขภาพสัญญานี้ แต่ความคุม้ ครองกับสิ้ นสุ ดลง
สัญญาเพิ่มเติมและบันทึกสลักหลัง
สั ญญำเพิม่ เติม
 สัญญาเพิ่มเติมคุม้ ครองผูช้ าระเบี้ยประกันภัย จะแบ่งออกเป็ น 2 แบบหลัก ๆ


คุม้ ครองในกรณี ที่ผชู้ าระเบี้ยประกันภัยเสี ยชีวติ
คุม้ ครองในกรณี ที่ผชู้ าระเบี้ยประกันภัยเสี ยชีวติ หรื อทุพพลภาพสิ้ นเชิงถาวร
สัญญาเพิ่มเติมนี้ บริ ษทั จะคุม้ ครอง โดยชาระเบี้ยประกันภัยของกรมธรรม์
หลักแทนผูช้ าระเบี้ยประกันภัย
สัญญาเพิ่มเติมและบันทึกสลักหลัง
สั ญญำเพิม่ เติม
 สัญญาเพิ่มเติมยกเว้นเบี้ยประกันภัย
สัญญาเพิ่มเติมแบบนี้จะคุม้ ครองในกรณี ที่ผเู ้ อาประกันภัยทุพพล
ภาพสิ้ นเชิงถาวร โดยบริ ษทั จะชาระเบี้ยประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิต
หลักแทนผูเ้ อาประกันภัย
สัญญาเพิ่มเติมและบันทึกสลักหลัง
บันทึกสลักหลัง
 บันทึกสลักหลังขยายความคุม้ ครอง จราจล ฆาตกรรม ลอบทาร้าย และสงคราม
บริ ษทั จ่ายความคุม้ ครองในกรณี ที่เกิดภัยจากจราจล ฆาตกรรม ลอบทาร้าย และ
สงคราม โดยแบ่งออกเป็ น 3 แบบหลัก ดังนี้
1. ที่จ่ายคุม้ ครองในกรณี เสี ยชีวติ
2. ที่จ่ายคุม้ ครองในกรณี เสี ยชีวติ และสูญเสี ยอวัยวะ
3. ที่จ่ายคุม้ ครองในกรณี เสี ยชีวติ และสูญเสี ยอวัยวะและทุพพลภาพ
http://www.oic.or.th
ถาม-ตอบ
http://www.oic.or.th