ประเภทของกรมธรรม์ประกันชีวิต

Download Report

Transcript ประเภทของกรมธรรม์ประกันชีวิต

1. การวางแผนประกัน
2. ประโยชน์ ของการทาประกันชีวิต
3. รูปแบบของการประกันชีวติ
4. การเลือกซือ้ กรมธรรม์ ประกันชีวติ
ความเสี่ยงและการประกันชีวิต :
ความเสี่ยง หรือ ความเสี่ยงภัย
ความเสี่ยงคืออะไร?
คือ
โอกาสที่ ความไม่แน่นอน จะเกิดขึ้น
และส่งผลให้ เกิดความสูญเสีย
ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
4
ความเสี่ยง หรือ ความเสี่ยงภัย
ให้ยกตัวอย่างความเสี่ยงที่มีอยูร่ อบๆ ตัว
และวิเคราะห์ผลเสียที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงนั้นๆ
มีวิธีหลีกเลี่ยงความเสี่ยง / ลดความเสี่ยง ได้อย่างไร
สาเหตุของความเสียหาย แยกได้ เป็ น 3 ประเภทคือ
1. ความเสี ยหายที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Perils) คือเหตุทเี่ กิดขึน้
โดยมนุษย์ ไม่ สามารถควบคุมได้ เช่ น ไฟป่ า นา้ ท่ วม แผ่ นดินไหว
เป็ นต้ น
2. ความเสี ยหายทีเ่ กิดจากบุคคล (Human Perils) คือเหตุทเี่ กิดขึน้ จาก
การกระทาของมนุษย์ เช่ น การลอบวางเพลิง โจรกรรม ทุจริต เป็ น
ต้ น
3. ความเสี ยหายทีเ่ กิดจากเศรษฐกิจ (Economic Perils) คือเหตุที่
เกิดขึน้ จากสภาพเศรษฐกิจ เช่ น ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝื ด เศรษฐกิจตกตา่
เป็ นต้ น
ความเสี่ยง หรือ ความเสี่ยงภัย
ใครมี ความเสี่ยง มากกว่ากัน
• พนักงานบริษัท
• ตารวจ
• นักดับเพลิง
• พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
การประกันภัย
หมายถึงการตกลงทาสั ญญากันระหว่ าง
ผู้รับประกัน (บริษัทประกันภัย) กับ ผู้เอาประกัน (บุคคล)
ว่ าจะทาการชดใช้ ค่าเสี ยหายอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ หรือ
ภัยที่ได้ ตกลงกันเอาไว้ ซึ่งเมื่อเกิดขึน้ แล้ วจะเป็ นเหตุให้
เกิดความเสี ยหาย ซึ่งผู้รับประกันจะเป็ นผู้ชดใช้ ให้ กับผู้เอา
ประกัน
ผู้เกีย่ วข้ องในสั ญญาประกันภัย
ผู้เกีย่ วข้ องมี 3 ฝ่ าย ดังนี้
1. ผู้รับประกันภัย คือ บริษัทประกันภัย
2. ผู้เอาประกัน คือ ผู้ให้ สัญญาว่ าจะส่ งเบีย้ ประกันให้ แก่ผู้รับ
ประกันตามสั ญญาที่ระบุไว้
3. ผู้รับประโยชน์ คือ บุคคลที่ผู้เอาประกันระบุไว้ ในสั ญญา
หรือตัวผู้ประกันภัยเองก็ได้
การวางแผนการประกัน
การวางแผนเพื่ อเตรี ยมรั บ ความไม่ แ น่ นอนที่ จะเกิ ดขึ้ นใน
อนาคต ไม่ ว่ า จะเกิ ดขึ้ นกั บ ตั ว เรา ครอบครั วของ
เรา ทรัพย์สินของเรา หรื อธุ รกิจของเรา การวางแผนที่ ดีจะ
ช่วยบรรเทาความเสี ยหายที่เกิดขึ้นได้
ลดความเสีย่ ง
หลักในการวางแผนประกันภัย
1. ต้องรู ้วตั ถุประสงค์ของการประกันภัย
2. ต้องรู ้ความจาเป็ นหรื อวงเงินที่ตอ้ งการประกัน
3. ต้องรู ้ขอบข่ายที่ตอ้ งการประกัน
4. ต้องรู ้ช่วงระยะเวลาที่ตอ้ งการให้มีการคุม้ ครอง
5. ต้องรู ้รูปแบบการประกันที่สามารถตอบสนองความต้องการ
ของเรา
• ประกันความเสี่ยงครอบครัว
• ประกันความเสี่ยงตัวเอง
• ประกันเงินออม
• สิทธิประโยชน์ทางภาษี
• ลดภาระของสังคม
• ประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติ
การประกันภัยสามารถแบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. การประกันชีวติ
2. การประกันวินาศภัย
1 . ก า ร ป ร ะ กั น ชี วิ ต เ ป็ น ก า ร
คุ ม้ ครองความสู ญ เสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น กับ
ชี วิ ต ผูเ้ อาประกัน ภัย โดยก าหนด
เป็ นวงเงินชดเชยที่แน่ นอนตามทุน
ประกั น ที่ ร ะบุ ไ ว้ นอกจากนี้ ยัง
สามารถให้คุ ม้ ครองครอบคลุ ม ถึ ง
การทุ พลภาพ , การเจ็บป่ วย , โรค
ร้ายแรง , อุบตั ิเหตุ หรื อเงินชดเชย
รายได้จากการหยุดงาน
1. ชนิดไม่ มเี งินปันผล
2. ชนิดมีเงินปันผล
การประกันภัยสามารถแบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
2. การประกั น วิ น าศภั ย เป็ นการ
1. การประกันชีวติ
2. การประกันวินาศภัย
คุ ้ ม ครองความสู ญเสี ยที่ เกิ ดขึ้ นกั บ
ทรัพย์สินผูเ้ อาประกันภัย โดยกาหนดใน
รู ปทุนประกันตามมูลค่าทรัพย์สิน หากมี
ความสู ญเสี ยเกิดขึ้น จะมีการชดเชยตาม
ความเสี ยหายที่เกิดขึ้นจริ ง แต่ไม่เกินทุน
ประกัน ได้แก่ การประกันไฟ , ประกัน
รถยนต์ , ประกัน อุ บ ัติ เ หตุ ส่ ว นบุ ค คล ,
ประกัน การเดิ นทาง , ประกัน ภัย ขนส่ ง
ทางทะเล และการประกันภัยเบ็ดเตล็ด
• กรมธรรม์แบบไหนที่เหมาะกับความ
จาเป็ นของตน
• ความสามารถที่จะจ่ายเบี้ ยประกันมีมาก
น้อยแค่ไหน
กรมธรรม์แบบไหนที่เหมาะกับความจาเป็ นของตน :
ประเภทของกรมธรรม์ประกันชีวิต
1.
2.
3.
4.
แบบชัว่ ระยะเวลา (Term Insurance)
แบบตลอดชีพ (Whole-Life Insurance)
แบบสะสมทรัพย์ (Endowment Insurance)
แบบเงินได้ประจา (Annuity Insurance)
ประเภทของกรมธรรม์ประกันชีวิต
1. แบบชั่วระยะเวลา (Term Insurance)
คื อ การประกั น ชี วิ ต ที่ มี ก ารก าหนดระยะเวลาที่
แน่นอนที่บริ ษทั ประกันจะคุม้ ครองหรื อชดเชยค่าสู ญเสี ยให้
ผูเ้ อาประกัน โดยผูเ้ อาประกันจะต้องจ่ายค่าเบี้ยประกันทุกๆ
งวด ตามระยะเวลาที่กาหนดในสัญญา หากผูเ้ อาประกัน
ไม่ได้เสี ยชี วิตภายในระยะเวลาที่กาหนด ผูเ้ อาประกันก็เสี ย
ค่ า เบี้ ย ประกัน ทั้ง หมดให้ บ ริ ษ ัท ประกัน และจะไม่ ไ ด้เ งิ น
ชดเชยใดๆ เลย
ประเภทของกรมธรรม์ประกันชีวิต
2. แบบตลอดชีพ (Whole-Life Insurance)
คือ กรมธรรม์ที่ให้ความคุม้ ครองแก่ผเู ้ อาประกันตลอดชีวิต
ไม่วา่ ผูเ้ อาประกันจะเสี ยชีวิตเมื่อใดก็ตาม บริ ษทั ประกันจะจ่ายเงิน
ตามที่ตกลงไว้ให้แก่ผรู้ ับผลประโยชน์ เนื่องจากเป็ นกรมธรรม์ที่มี
ระยะเวลายาวนานมาก คือ คุม้ ครองไปตลอดชีวิต ฉะนั้นจะมีเบี้ย
ประกันค่อนข้างสู ง และยังต้องเสี ยเบี้ยประกันเป็ นระยะเวลานาน
แต่ขอ้ ดีคือ ครอบครัวที่อยูข่ า้ งหลังแน่ ใจได้ว่าบริ ษทั ประกันชีวิต
ต้องจ่ายเงิ นให้ผูร้ ั บผลประโยชน์ในท้ายที่ สุด เพราะไม่มีใคร
หลีกเลี่ยงความตายได้
ประเภทของกรมธรรม์ประกันชีวิต
3. แบบสะสมทรัพย์ (Endowment Insurance)
เป็ นแบบที่นิยมมากกว่า 2 แบบแรก หากผูเ้ อาประกันมีอายุ
ยืนยาวจนครบกาหนดสัญญา บริ ษทั ประกันก็จะจ่ายเงินเอาประกัน
ให้ผเู้ อาประกัน แต่ถา้ ผูเ้ อาประกันเสี ยชีวิตไปก่อน บริ ษทั ประกันก็
จะจ่ายเงินให้กบั ผูร้ ับผลประโยชน์ เบี้ยประกันจะสู งกว่าสองแบบ
แรก เพราะบริ ษทั ประกันต้องรับความเสี่ ยงทั้งสองข้างคือไม่ว่าจะ
เสี ยชีวิตหรื อไม่ บริ ษทั ประกันก็ตอ้ งเสี ยเงินให้กบั ผูเ้ อาประกัน แต่
ประโยชน์ต่อผูเ้ อาประกันก็มีมาก เพราะถ้าผูเ้ อาประกันไม่เสี ยชีวิต
ก็ยงั ได้เงิ นคืนจากบริ ษทั ประกัน ถื อเป็ นการสะสมทรั พย์อีกทาง
หนึ่ง
ประเภทของกรมธรรม์ประกันชีวิต
4. แบบเงินได้ ประจา (Annuity Insurance)
บริ ษทั ประกันจะจ่ายเงิ นให้ผูเ้ อาประกัน เมื่อผูเ้ อาประกัน
อายุค รบ 55 หรื อ 60 ปี เป็ นต้นไป แล้วแต่ เ งื่ อนไขโดยบริ ษ ทั จะ
จ่ายเงินให้เป็ นงวดๆ งวดละเท่าๆ กัน สาหรับระยะเวลาที่จ่ายเงินจะ
ยาวเท่าไรนั้นขึ้นกับข้อตกลง คล้ายๆ กับที่รัฐบาลจ่ายเงินบานาญ
ให้กบั ข้าราชการที่เกษียณอายุ จึงเรี ยกได้อีกอย่างว่า “การประกัน
ชี วิตแบบบานาญ” การประกันชีวิตแบบนี้ ต่างจากแบบอื่นๆ ตรงที่
เป็ นการจ่ายเงินเพื่อความอยูร่ อดของผูเ้ อาประกัน ไม่ใช่จ่ายเงินเมื่อ
ผูเ้ อาประกันเสี ยชี วิตแล้ว เงินที่บริ ษทั ประกันจ่ายให้ผูเ้ อาประกัน
นั้นมีวตั ถุประสงค์เพื่อเลี้ยงชีพในยามชราที่ผเู้ อาประกันไม่สามารถ
ทางานหารายได้ได้เองโดยที่ไม่เป็ นภาระกับผูอ้ ื่น
• ความสามารถที่จะจ่ายเบี้ ยประกันมีมากน้อยแค่ไหน
ก่อนเลือกซื้อประกัน
ควรพิจารณาความสามารถที่จะจ่าย
เบี้ยประกันมีมากน้อยแค่ไหน
ควรเหมาะสมกับรายได้ และรายจ่าย
และเลือกประเภทของการประกันให้
เกิดประโยชน์สูงสุด
สรุปสาระสาคัญ
• ความเสี่ ยงคือโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่ปกติข้ นึ
• การลดความเสี่ ย ง หรื อ การลดความสู ญ เสี ย ถื อ เป็ นการ
ประกันความมัน่ คงทางการเงินอย่างหนึ่ง
• การประกั น เป็ นการประกั น ความมั่ น คงทางการเงิ น
โดยการบรรเทาความสู ญเสี ยทางการเงิ นเมื่อเกิ ดเหตุการณ์
ไม่ปกติข้ ึน
• พิจารณาการประกันให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคล
Q&A