ไฟล์นำเสนอ - กระทรวงสาธารณสุข

Download Report

Transcript ไฟล์นำเสนอ - กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางดาเนินการเพือ
่ รับมือผู ้ป่ วยต ้อง
ั หรือยืนยันว่าป่ วยเป็ นโรคติดเชอ
ื้
สงสย
ไวรัสอีโบลา
จากทีป
่ ระชุม Teleconference กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 4 สงิ หาคม 2557
จำนวนผูป
้ ่ วยทีร่ ำยงำนโดยองค์กำรอนำม ัยโลกภูมภ
ิ ำคอ ัฟริกำ
ประเทศ
ผูป
้ ่ วยรำยใหม่
28 - 31 ก.ค. 57
ผูป
้ ่ วย
ยืนย ัน
ผูป
้ ่ วยเข้ำข่ำย
ผูป
้ ่ วย
ั
สงสย
รวม
Guinea
ผู ้ป่ วย
ี ชวี ต
ผู ้เสย
ิ
5
337
122
13
472
3
220
122
4
346
Liberia
ผู ้ป่ วย
ี ชวี ต
ผู ้เสย
ิ
31
109
181
101
391
46
103
88
36
227
Nigeria
ผู ้ป่ วย
ี ชวี ต
ผู ้เสย
ิ
2
0
1
2
3
0
0
1
0
1
Sierra Leone
ผู ้ป่ วย
ี ชวี ต
ผู ้เสย
ิ
17
507
41
26
574
9
209
34
9
252
รวม
ผู ้ป่ วย
ี ชวี ต
ผู ้เสย
ิ
55
953
345
142
1440
58
532
245
49
826
เวบไซต์ ณ วันที่ 4 สงิ หาคม 2557 (ข ้อมูลผู ้ป่ วย update ถึงวันที่ 31 ก.ค. 57)
Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra
Leone, Liberia
by week of reporting, December 2013 - 27
July 2014
Guinea
Sierra Leone
Liberia
source: www.ecdc.europa.eu/
source: http://www.cdc.gov/
ภำพรวมของกำรระบำดในภูมภ
ิ ำคอ ัฟริกำตะว ันตก
ี ชวี ต
 ยอดผู ้ป่ วยและผู ้เสย
ิ ในขณะนี้นับว่าเป็ นการระบาดทีร่ ุนแรงทีส
่ ด
ุ ตัง้ แต่
ทีม
่ ค
ี ้นพบโรคนีเ้ ป็ นต ้นมา
ี ร์ราลีโอนยังมีผู ้ป่ วยและ
 สถานการณ์ในกินเี ริม
่ ชะลอตัว แต่ไลบีเรียและเซย
ี ชวี ต
ผู ้เสย
ิ เพิม
่ อย่างรวดเร็ว และเริม
่ แพร่ออกไปประเทศใกล ้เคียง
 การเคลือ
่ นย ้ายประชากรอย่างสูงภายในประเทศและระหว่างประเทศ มีผล
ให ้เกิดการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว
 WHO ได ้ประเมินการควบคุมการระบาด พบปั ญหาอุปสรรคในการติดตาม
ั ผัสได ้ไม่ครบถ ้วน การควบคุมการติดเชอ
ื้ ในโรงพยาบาลโดยเฉพาะใน
ผู ้สม
บริเวณนอกเมืองใหญ่ ขาดแคลนทรัพยากรต่างๆ รวมทัง้ ขาดบุคลากรที่ ม ี
ความรู ้ทางวิชาการ ขาดการประสานระหว่างพรมแดนระหว่างประเทศเพือ
่
ติดตามผู ้ป่ วย
สถานการณ์การป่ วยและการดาเนิ นการใน
่ านมา (1)
ต่างประเทศในสัปดาห ์ทีผ่
 การติดเชือ
้ และเสียชีวต
ิ ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
ประเทศ Sierra Leone:
 Dr. Sheik Humarr แพทย์หว
ั หน้าทีมรักษาผูป
้ ว
่ ยอีโบลาเสียชีวต
ิ
ประเทศ Liberia:
 Dr. Samuel Brisbane หนึ่งในแพทย์หว
ั หน้าทีมรักษาผูป
้ ว
่ ยอีโบลา
เสียชีวต
ิ โดยเป็นแพทย์ชาวไลบีเรียนรายแรกที่เสียชีวต
ิ จากอีโบลา
 Dr. Kent Brantly ชาวอเมริกน
ั ซึ่งเป็นหัวหน้าหน่วยแพทย์ของ
Samaritan's Purse care center และ Nancy Writebol เจ้าหน้าที่
ชาวอเมริกน
ั อีก 1 รายเป็น hygienist (ทาหน้าที่ decontaminate
staff ที่กาลังเข้าและออกจากหน่วยแยกโรคของโรงพยาบาล) เกิดการ
ติดเชือ
้ อีโบลา ขณะนี้อาการค่อนข้างหนัก ทั้งสองรายถูกส่งกลับ
อเมริกาแล้วโดยใช้เครือ
่ งบินทางการแพทย์ขนย้ายผูป
้ ว
่ ยเข้ามาทาการ
รักษายังโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเอมโมรี่ เมืองแอตแลนตา รัฐ
จอร์เจีย
สถานการณ์การป่ วยและการดาเนิ นการใน
่ านมา (2)
ต่างประเทศในสัปดาห ์ทีผ่
 การพบผูป
้ ว
่ ยในประเทศใหม่ (ไนจีเรีย) ซึ่งไม่ได้เป็นพืน
้ ที่ติดต่อกับ
ประเทศทีก
่ าลังมีการระบาด
 นาย Patrick Sawyer ที่ปรึกษาการคลังชาวไลบีเรียนได้เสียชีวต
ิ ที่
เมือง Lagos ประเทศไนจีเรีย นับเป็นผูป
้ ว
่ ยรายแรกของประเทศ
ขณะนี้ถก
ู จัดให้อยูใ
่ นกลุม
่ ผูป
้ ว
่ ยเข้าข่าย (probable case) โดยอยู่
ระหว่างรอส่งตัวอย่างตรวจยืนยันที่ Pasteur Institute ในประเทศ
Senegal แต่บริษท
ั ขนส่งไม่ยอมรับตัวอย่าง
 มีประวัตเิ ดินทางโดยเครือ
่ งบินจากไลบีเรีย ผ่านสนามบินอีก 2 ประเทศ
คือที่เมือง Lome ประเทศ Togo และเมือง Accra ประเทศ Ghana
โดยที่ผป
ู้ ว
่ ยมีอาการอาเจียนและถ่ายเหลวในขณะเดินทาง สามารถ
ระบุผส
ู้ ม
ั ผัสแล้ว 59 ราย, 15 รายเป็นพนักงานบนเครือ
่ งบิน และอีก 44
รายเป็นผูส
้ ม
ั ผัสในโรงพยาบาล
 น่าจะได้รบ
ั เชื้อจากการดูแลน้องสาวซึ่งเสียชีวต
ิ ไปก่อนหน้านี้ โดยที่
ระยะแรกได้รบ
ั การวินจ
ิ ฉัยเป็นมาลาเรีย แต่มาตรวจพบว่าเป็น Ebola
แนวทางดาเนินการ
ื้ ไวรัสอี
1. จัดตัง
้ ระบบเฝ้ าระวังโรคติดเชอ
2.
3.
4.
5.
โบลา
เตรียมห ้องแยกในโรงพยาบาลทุกแห่ง
ื้ ตาม
จัดระบบป้ องกันการติดเชอ
มาตรฐานสากล
ื้ ทาง
ระบบการสง่ ตรวจยืนยันเชอ
ห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร
ี้ จงทาความเข ้าใจและให ้ความรู ้แก่
ชแ
เจ ้าหน ้าทีแ
่ ละประชาชน
ื้ ไวรัสอีโบลา
นิยามเฝ้ าระวังโรคติดเชอ
(ปั จจุบน
ั )
 มีไข ้ตัง้ แต่ 38c ขึน
้ ไป และ
 มีประวัตเิ ดินทางกลับมาจากประเทศทีพ
่ บ
ผู ้ป่ วยในชว่ ง 21 วัน
 Liberia – ไลบีเรีย
ี รา เลโอน
 Sierra Leone – เซย
 Guinea – กีนี
 Nigeria – ไนจีเรีย
 ทัง
้ นีใ้ ห ้มีตด
ิ ตามอาการของประชาชนที่
ี่ งอย่างต่อเนือ
เดินทางจากพืน
้ ทีเ่ สย
่ งเป็ นเวลา
21 วันด ้วย
ชุมชนทุกแห่ง
ื้ ตาม
3. จัดระบบป้ องกันการติดเชอ
มาตรฐานสากล
 ให ้ตรวจสอบความพร ้อมของห ้องแยกใน
โรงพยาบาล
 ต ้องเป็ นห ้องเดีย
่ วมีห ้องน้ าในตัวและมีประตู
 ควรมีเจ ้าหน ้าทีเ่ ฝ้ าหน ้าห ้องเพือ
่ รับประกันว่ามี
การใช ้ PPE เสมอ
ื่ ผู ้เข ้าออกเสมอ
 มีการบันทึกชอ
 ให ้ตรวจสอบความพร ้อมของ PPE
 เครือ
่ งมือหัตถการควรเป็ นแบบ disposable
 Standard + Contact + Droplet Precaution
Personal Protective Equipment (PPE)
เครือ
่ งป้ องกันดวงตา (goggles or face shield)
หน ้ากาก
ื้ กาวน์ (กันน้ า/ของเหลวซม
ึ ผ่านไม่ได ้)
เสอ
ถุงมือยาว
การใชอุ้ ปกรณ์เพิม
่ เติมในกรณีทต
ี่ ้องการการป
ั้
• ถุงมือสองชน
• ปลอกคลุมรองเท ้า
• ปลอกคลุมขา
• หมวกคลุมศรี ษะ
ื้ ทาง
4. ระบบการสง่ ตรวจยืนยันเชอ
ห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร
 หากต้องการตรวจให้แจ้งไปยัง
กรมวิทยาศาสตร ์การแพทย ์
่
โดยตรง เพือให้
กรมวิทยาศาสตร ์การแพทย ์นา
่
บุคลากรและเครืองมื
อเข้ามาทา
การเก็บต ัวอย่างเอง
ี้ จงทาความเข ้าใจและให ้ความรู ้แก่เจ ้าหน ้าที่
5. ชแ
และประชาชน
ื่ สารความเสย
ี่ งแก่ประชาชน
 สอ
 เจ ้าหน ้าที่ – ผู ้ปฏิบต
ั งิ านในโรงพยาบาลทีจ
่ ะต ้องมีการ
เกีย
่ วข ้องกับผู ้ป่ วย
 แพทย์
 พยาบาล (OPD/IPD/ER)
่ ยพยาบาล
 ผู ้ชว
 นั กวิทยาศาสตร์การแพทย์/เจ ้าหน ้าทีL
่ ab/เจ ้าหน ้าทีX
่ -ray
 นั กกายภาพบาบัด
 เจ ้าหน ้าทีท
่ ันตกรรม
ั กร
 เภสช
 เจ ้าหน ้าทีร่ พ.สต. / SRRT
 ผู ้จัดการศพ