การพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคหืด

Download Report

Transcript การพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคหืด

การพัฒนาระบบ
บริการ
คลินิกโรคหืด
(Asthma)
งานผูป
้ ่ วยนอก โรงพยาบาล
สภาพปัจจุบ ัน/ปัญหาหรือ
หล ักการและเหตุผล
• โรงพยาบาลบ ้านเขว ้าเป็ นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง ให ้การ
ดูแ ลผู ้ป่ วยโรคทั่ ว ไปและโรคเรื้อ รั ง ต่า ง ๆ โรคหืด เป็ นโรคไม่
ติด ต่อ ที่ถ ือ ว่า เป็ นปั ญหาทางสาธารณสุข ที่ส าคั ญ อีก โรคหนึ่ง
เนื่องจากในปั จจุบันมีผู ้ป่ วยด ้วยโรคนี้มป
ี ริมาณเพิ่มมากขึน
้ เรือ
่ ย
ๆ และโรคนี้ยัง เป็ นโรคทีต
่ ้องใชค่้ า ใช จ่้ ายในการรั ก ษาที่สูง อีก
โรคหนึง่ เพราะผู ้ป่ วยทีด
่ แ
ู ลตัวเองไม่ดจ
ี ะมีอาการกาเริบของโรค
บ่อยทาให ้ไม่สามารถทางานได ้ตามปกติเป็ นภาระของครอบครัว
ทีต
่ ้องดูแลและยังต ้องเข ้ารับการรักษาด ้วยอาการหอบรุน แรงที่
ห ้องฉุ ก เฉิน และอาจต ้องเข ้านอนรั บ การรั ก ษาในโรงพยาบาล
การพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู ้ป่ วยโรคหืดเพือ
่ ลดความถี่ และ
ความรุนแรงของการมารับการรักษาทีห
่ ้องฉุกเฉิน การเข ้ารับการ
รักษาในโรงพยาบาล การเข ้ารับการรักษาในโรงพยาบาลซ้าใน
28 วัน โดยมีการนาแนวทางการรักษาโรคหืดตามแนวทางของ
้
GINA guideline มาใชในการดู
แลผู ้ป่ วย ดาเนินงานในรูปของ
ี ผู ้ป่ วยจะได ้รับการประเมิน
Easy Asthma Clinic โดยทีมสหวิชาชพ
การควบคุมโรค ได ้รับความรู ้เรื่องการปฏิบัตต
ิ ัวเกีย
่ วกั บโรคหืด
ิ
สถานการณ์ปญ
ั หาทีเ่ ผชญ
ปี 2552
รายงาน
จานวน
492
ผู ้ป่ วย
Asthma
Asthma visit
2144
OPD (ครัง้ )
Asthma
138
admit(ครัง้ )
Asthma
Re-visit
806
(ครัง้ )
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2555
457
489
463
2276
2294
2345
157
121
156
863
880
915
การวิเคราะห์สาเหตุ
ว ัตถุประสงค์
่
1.เพือให้
มค
ี ลินิกและทีมให้บริการผู ป
้ ่ วยโรคหืด/ปอด
้ อร
้ ัง ทีช
่ ัดเจน
อุดกันเรื
่ ป
2.เพือผู
้ ่ วยและญาติมค
ี วามรู ้ ความเข้าใจ สามารถ
่ านได้ถูกต้อง
นาไปปฏิบต
ั ด
ิ ู แลตนเองทีบ้
่
้ อร
้ ัง ได้ร ับการ
3.เพือให้
ผูป
้ ่ วยโรคหืด/ปอดอุดกันเรื
ดู แลอย่างต่อเนื่ อง
่ ฒนาคุณภาพของการร ักษาโรคหืด/ปอดอุด
4.เพือพั
้ ัง ให้ได้มาตรฐานอย่างมีระบบ
้ อร
กันเรื
่
่ องฉุ กเฉิ น
5.เพือลดอ
ัตราการเข้าร ับการร ักษาทีห้
หรือนอนการร ักษาในโรงพยาบาลด้วยภาวะหอบ
รุนแรงเฉี ยบพลัน
่
้ อร
้ ัง มีคณ
6.เพือให้
ผูป
้ ่ วยโรคหืด/ปอดอุดกันเรื
ุ ภาพ
เป้ าหมาย
้ นิกโรคหืดเพือให
่ ้บริการในโรงพยาบาล
1. มีการจัดตังคลิ
2.ผูป้ ่ วยและญาติมค
ี วามรู ้ ความเข ้าใจในการปฏิบต
ั ต
ิ วั
่
เกียวกั
บโรคหืด
่ ้มาตรฐาน
3.มีระบบให ้บริการทีได
ต ัวชวี้ ัด
1.มีคลินก
ิ โรคหืดให ้บริการในโรงพยาบาล
2.ผู ้ป่ วยและญาติมค
ี วามรู ้ ความเข ้าใจในการ
ปฏิบต
ั ต
ิ วั เกีย
่ วกับ
โรคหืด ร ้อยละ 80%
3.อัตราการเข ้ารับการรักษาทีห
่ ้องฉุกเฉินหรือ
นอนการรักษาในโรงพยาบาลลดลง ร ้อยละ
5%
4.อัตราการพ่นยาของผู ้ป่ วยปฏิบต
ั ไิ ด ้ถูกต ้อง ร ้อย
ละ 80%
5.อัตราการเข ้ารับการรักษาในโรงพยาบาลซา้ ใน
วิธก
ี ารดาเนินการ
ั กร พยาบาลและนัก
- สง่ แพทย์ เภสช
กายภาพเข ้าร่วมประชุม Easy Asthma
ึ ษาการจัดตัง้
Clinic workshop เพือ
่ ศก
คลินก
ิ โรคหืด
- จัดตัง้ คลินก
ิ โรคหืดในโรงพยาบาล
ั กร,พยาบาลและ
- จัดให ้มีแพทย์ , เภสช
นักกายภาพรับผิดชอบคลินก
ิ โรคหืด
ั สว่ นชด
ั เจนโดย
• จัดสถานทีใ่ ห ้บริการคลินก
ิ โรคหืดเป็ นสด
แยกคลินก
ิ โรคหืดออกจากผู ้ป่ วยนอก เพือ
่ ให ้เกิดความ
สะดวกและลดขัน
้ ตอนในการให ้บริการ เปิ ดให ้บริการทุก
วันศุกร์ เวลา 08:30–16:30 น
ี้ จงทาความเข ้าใจกับหน่วยงานทีเ่ กีย
• ชแ
่ วข ้อง โดยการ
ี้ จงขัน
ประชุม PCT จัดทา CPG Asthma ชแ
้ ตอนการ
ดาเนินงานของคลินก
ิ
• ให ้บริการผู ้ป่ วยโรคหืดทีเ่ ป็ นระบบมากขึน
้ โดยทีมสห
ี ดังนี้
วิชาชพ
- แพทย์ให ้การรักษาตาม GINA guideline
ั ประวัต ิ ประเมินการควบคุมโรค ประเมิน
- พยาบาลซก
สมรรถภาพปอด โดยการให ้เป่ า Peak flow ให ้ความรู ้
เกีย
่ วกับโรคหืด การหลีกเลีย
่ งสงิ่ กระตุ ้น การมาตรวจตาม
นัด
ั กรแนะนาการใชยาสู
้ ดพ่น และยาเม็ด ประเมินการ
- เภสช
้
ใชยาที
ถ
่ ก
ู ต ้อง
• เตรียมแผ่นพับ เอกสาร จัดบอร์ด บริเวณ
คลินก
ิ โรคหืดเพือ
่ ให ้ความรู ้แก่ผู ้รับบริการ
ึ ษารายกลุม
• สอนสุขศก
่ และรายย่อย แก่ผู ้
มารับบริการ
• จัดกลุม
่ สนทนาผู ้ป่ วยโรคหืดเพือ
่
แลกเปลีย
่ นเรียนรู ้ซงึ่ กันและกัน
• มีระบบการติดตามผู ้ป่ วยขาดนัด
• บันทึกประวัตแ
ิ ละแผนการรักษาใน
แบบฟอร์มของ สปสช.
• สรุปผลการดาเนินงาน
ผลทีไ่ ด้ร ับจากการ
ดาเนินงาน
• การพัฒนาระบบบริการคลินก
ิ โรคหืดชว่ ย
ให ้ผู ้ป่ วยได ้รับการรักษาตามมาตรฐานของ
GINA guideline ชว่ ยลดความถีแ
่ ละความ
รุนแรงของโรคทาให ้สามารถควบคุมโรค
ได ้
• ผู ้ป่ วยโรคหืดที่ Admit และ ER visit ลดลง
ค่อนข ้างน ้อยอาจจะเนือ
่ งมาจากผู ้ป่ วย ยัง
ไม่สามารถดูแลตนเองได ้ทัง้ หมดต ้อง
ั ผู ้ดูแลชว่ ยควบคุมกากับการใชยา
้
อาศย
ปัญหา/อุปสรรค
• การประสานงานระหว่าง
หน่วยงาน
• การบันทึกข ้อมูลไม่สมบูรณ์
• ผู ้ป่ วยไม่มาตรวจตามนัด
แนวทางการพ ัฒนาต่อ
• นาข ้อมูลสารสนเทศมาวางแผนในการดูแล
ผู ้ป่ วย
• วางแผนการติดตามเยีย
่ มทีบ
่ ้านโดยทีมสห
ี ในรายทีม
วิชาชพ
่ ก
ี ารประเมินความรุนแรง
ระดับ Moderate และ severe
ึ ษาดูงานในโรงพยาบาลทีม
• ศก
่ ผ
ี ลงานเด่น
ด ้านการดูแลผู ้ป่ วย Asthma
• พัฒนาความรู ้ของบุคลากรผู ้รับผิดชอบการ
• ลดขัน
้ ตอนและระยะเวลาการให ้บริการ
โดยให ้ผู ้ป่ วยโรคหืดให ้มารอรับบริการ
ในคลินิก ที่จั ด ขึน
้ โดยไม่ต ้องผ่ า นการ
รอคิวร่วมกับผู ้ป่ วย OPD อืน
่ ๆ
• พัฒนาระบบข ้อมูลของคลินก
ิ โรคหืด
ขอบคุณค่ะ