Slide 1 - เป็นกระทรวงผู้นำในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าของประเทศ และ

Download Report

Transcript Slide 1 - เป็นกระทรวงผู้นำในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าของประเทศ และ

ประเทศไทย
ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ธนัญญ์ชนม์ โรจน์กติ ติคณ
ุ
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
หัวข้อการบรรยาย
ความตกลงการค้าเสรีคืออะไร?
 ความเป็ นมา: ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 กรอบความตกลงการค้าบริการอาเซียน
 ประโยชน์/ผลกระทบ

ความตกลงการค้าเสรี
Free Trade Agreement/Area: FTA
เป็ นความตกลงระหว่างสองประเทศ หรือ มากกว่า
ตกลงที่จะขยายการค้า/ การลงทุนระหว่างกัน
พยายามลดอุปสรรคทางด้านภาษี / มิใช่ภาษี
ครอบคลุม สินค้า บริการ การลงทุน ความร่วมมือ
สิง่ ที่ตกลงกันในการทา FTA
สินค้า
บริการ
สินค้าเกษตร : เนื้ อสัตว์ ผัก ผลไม้
อุตสาหกรรม : รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้ า
โรงแรม สปา บริษทั นาเที่ยว
บริการวิชาชีพ การเงิน
การลงทุน
ความร่วมมือ
อุตสาหกรรมการผลิต
เกษตร ประมง ป่ าไม้ เหมืองแร่
ทรัพยากรบุคคล
การถ่ายทอดเทคโนโลยี
อุปสรรคทางการค้า
ภาษี
นาเข้า
สินค้า
ส่งออก
ประเทศ ก
จัดตัง้ ธุรกิจ
บริการ/
เข้าไปลงทุน
ระเบียบ
จัดตัง้ ธุรกิจ
บริการ/
เข้าไปลงทุน
ประเทศ ข
หลัก
เกณฑ์
ข้อจากัด
สินค้า
ส่งออก
A
อินโดนี เซีย
1967/2510
S
มาเลเซีย
1967/2510
E
ฟิ ลปิ ปิ นส์
1967/2510
A
สิงคโปร์
1967/2510
N
ไทย
1967/2510
6
บรูไน
1984/2527
C
L
M
V
เวียดนาม
1995/2538
ลาว
1997/2540
พม่า
1997/2540
กัมพูชา
1999/2542
ปี 2546 ผูน้ าอาเซียน ลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II)
แสดงเจตนารมณ์การนาอาเซียนไปสู่ “ประชาคมอาเซียน”
(ASEAN Community) ในปี 2020 (2563)
Association
Of South East Asian Nations
ASEAN
Community
ASEAN
Security
Community:
ASC
ASEAN
Economic
Community:
AEC
ASEAN
Socio-Cultural
Community:
ASCC
ปี 2550 ผูน้ าอาเซียนลงนามใน ปฏิญญาเซบู (Cebu Declaration)
เร่งรัดการเป็ น “ประชาคมอาเซียน” ให้เร็วขึ้น เป็ นปี 2015 (2558)
ASEAN
Community
2020
ปี 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามรับรอง AEC Blueprint หรือ
แผนงานการจัดตัง้ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”
ASEAN Economic Community : AEC
ส่งเสริมการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจในเชิงลึกและกว้างมากขึ้น
แผนการดาเนิ นงานใหม่ภายใต้กรอบระยะเวลาที่ชดั เจน
ความตกลงการค้าภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม
สร้างเสริมขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน
การพัฒนาเศรษฐกิจ
อย่างเสมอภาค
การบูรณาการเข้ากับ
เศรษฐกิจโลก
เป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม
เคลือ่ นย้ายสินค้าอย่างเสรี
เคลือ่ นย้ายบริการอย่างเสรี
เคลือ่ นย้ายการลงทุนอย่างเสรี
เคลือ่ นย้ายแรงงานฝี มืออย่างเสรี
เคลือ่ นย้ายเงินทุนอย่างเสรี
สร้างเสริมขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน
E_ASEAN
นโยบายภาษี
นโยบายการแข่งขัน
ทรัพย์สนิ ทางปัญญา
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
สนับสนุ นการพัฒนา SMEs
ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่า - ใหม่
การพัฒนาเศรษฐกิจ
อย่างเสมอภาค
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
สร้างเครือข่ายการผลิต / จาหน่ าย
ทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
การบูรณาการเข้ากับ
เศรษฐกิจโลก
เคลือ่ นย้ายสินค้าอย่างเสรี
มีเป้ าหมายลดภาษีนาเข้า และมาตรการที่มิใช่ภาษีสาหรับการค้าสินค้าระหว่างประเทศสมาชิก
ASEAN 6
ASEAN 4 (CLMV)
0% 1 ม.ค. 2553
0-5% 1 ม.ค. 2553
0% 1 ม.ค. 2558
*ยกเว้นสินค้าใน Sensitive List ที่ภาษี ไม่ตอ้ งเป็ น 0 แต่ตอ้ งไม่เกิน 5%
ประเทศไทยมี 4 รายการ ได้แก่ กาแฟ มันฝรัง่ ไม้ตดั ดอก มะพร้าวแห้ง
**และยกเว้นสินค้าใน Highly Sensitive List ที่ลดภาษี ในระดับที่สมาชิกตกลงกัน
ข้าว : อินโดนี เซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ น้ าตาล : อินโดนี เซีย ฟิ ลิปปิ นส์
เคลือ่ นย้ายบริการอย่างเสรี
เคลือ่ นย้ายแรงงานฝี มืออย่างเสรี
การเปิ ดเสรีภายใต้ AFAS
การลด/ยกเลิกกฎระเบียบที่เป็ นอุปสรรค
ต่อการค้าบริการในอาเซียน
การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี...
สาขาบริการ ตาม W 120
บริการด้านธุรกิจ
บริการด้านสือ่ สารคมนาคม
บริการด้านการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกีย่ วเนื่ อง
บริการด้านการจัดจาหน่ าย
บริการด้านการศึกษา
บริการด้านสิง่ แวดล้อม
บริการด้านการเงิน
บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม
บริการด้านการท่องเที่ยว
บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา
บริการด้านการขนส่ง
บริการอืน่ ๆ
การค้าบริการ : Trade in Services
Mode
ประเทศ A.
ประเทศ B.
1
Supplier A.
Consumer B.
2
Supplier A.
Consumer B.
3
Supplier A.
Consumer B.
4
Supplier A.
A.
Consumer B.
ความตกลงว่าด้วยการเคลือ่ นย้ายบุคคลธรรมดาของอาเซียน
ASEAN Agreement on Movement of Natural Persons : MNP
จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายบุคลากรชัว่ คราวที่เกี่ยวข้องกับ
การดาเนิ นการด้านการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุนระหว่างประเทศ
สมาชิก
มีผลผูกพันให้ไทยต้องเปิ ดเสรีการเคลื่อนย้ายบุคคลในสาขาบริการเฉพาะเท่าที่ระบุไว้ใน
ข้อผูกพันเท่านั้น โดยข้อผูกพันจะระบุประเภทของบุคลากรที่ประเทศสมาชิกอนุ ญาตให้
เข้าไปให้บริการได้ รวมถึงระยะเวลาในการให้เข้าเมืองชัว่ คราวหรือพานักชั ่วคราวและ
เงือ่ นไขอืน่ ๆ เกี่ยวกับการอนุ ญาตทางาน
Mutual Recognition Agreement: MRA
ข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัตนิ กั วิชาชีพ
แพทย์
พยาบาล
สถาปนิ ก
วิศวกร
ทันตแพทย์
การสารวจ
การบัญชี
เคลือ่ นย้ายการลงทุนอย่างเสรี
เคลือ่ นย้ายเงินทุนอย่างเสรี
การเปิ ดเสรีภายใต้ ACIA
เพาะ
เกษตร
ปลูก
เหมือง
ประมง ป่ าไม้
แร่
ผลกระทบจากการเปิ ดตลาด
ผลกระทบเชิงบวก
ภาษีนาเข้าเป็ น 0%
มาตรการนาเข้าลดลง
นาเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสาเร็จรูปจากแหล่งผลิตใน
AEC ที่มีความได้เปรียบด้าน ราคา/คุณภาพ
ตลาด 10 ประเทศ
รวมเป็ นตลาดเดียว
ตลาดใหญ่ข้ ึน: economy of scale
การลงทุนในอาเซียน
ทาได้โดยเสรี
สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่
เหมาะเป็ นแหล่งผลิต
เป็ นฐานการผลิตร่วม
ใช้ CLMV เป็ นฐานการส่งออกไปนอก AEC เพือ่ ใช้ประโยชน์
จากสถานะ Least Developed Countries: LDCs
ผลกระทบจากการเปิ ดตลาด
ผลกระทบเชิงบวก
ความร่วมมือด้าน
การอานวยความสะดวกทางการค้า
ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาค
สะดวกและถูกลง
ทาธุรกิจบริการได้โดยเสรี
ฐานธุรกิจอยู่ท่ใี ดก็ได้ในอาเซียน
แก้ปญั หาขาดแคลนแรงงานฝี มือ
FTA อาเซียนกับคู่คา้ ต่างๆ
ASEAN +1, +3, +6
มีความได้เปรียบทางภาษีนาเข้า
กว่าคู่แข่งอืน่ นอกอาเซียน
ผลกระทบจากการเปิ ดตลาด
ผลกระทบเชิงลบ
ภาษีนาเข้าเป็ น 0%
มาตรการนาเข้าลดลง
เกิดคู่แข่งใหม่จากอาเซียน
ตลาด 10 ประเทศ
รวมเป็ นตลาดเดียว
ต้นทุนของคู่แข่งอาจตา่ ลง
การลงทุน/ ทาธุรกิจบริการ ใน
อาเซียนทาได้โดยเสรี
คู่แข่งจะเข้ามาแข่งถึงในเขตแดนเรา
อาจถูกแย่งแรงงานฝี มือ
เป็ นฐานการผลิตร่วม
บริษทั ที่อยูใ่ นอุตสาหกรรมรองรับ หรือ เคยผลิตส่งบริษทั แม่ อาจถูก
แย่งลูกค้า โดยคู่แข่งในประเทศอืน่ ที่ได้เปรียบกว่า ในการเป็ นฐาน
การผลิต
ได้เวลาเตรียมความพร้อม
ศึกษาข้อมูลพันธกรณี ในกรอบต่างๆ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้
ติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด (รูร้ อบ รูท้ นั )
ปรับเปลี่ยนทัศนคติจากเชิงรับ เป็ น เชิงรุก (ใช้โอกาสที่เปิ ดกว้างมากขึ้น)
รูเ้ ขา รูเ้ รา (สร้างความแตกต่างให้กบั สินค้า/บริการจากจุดแข็งที่มีอยู่)
เข้าใจประเด็นเทคนิ ค (แหล่งกาเนิ ดสินค้า การคานวณต้นทุน ฯลฯ)
ธุรกิจจะแข่งขันกันที่ความคิดสร้างสรรค์ คุณภาพ/มาตรฐาน
และการให้บริการที่จะผูกมัดใจลูกค้าของเรา
แนวคิด....
บริการด้านสุขภาพและสังคม
บริการอืน่ ๆ
ที่เกี่ยวเนื่ องกับสุขภาพ
บริการด้านสุขภาพ
Hospital Services
(CPC 9311) คือ การ
ให้บริการ
โรงพยาบาลภายใต้การ
ดูแลของแพทย์แบบ
ผูป้ ่ วยใน
บริการด้านสังคม
Medical / Dental
Services
Other
Human Health
(CPC 9312) คือ การ
ให้บริการการแพทย์และ
ทันตแพทย์แบบผูป้ ่ วย
นอก
(CPC 9319) เช่น การ
พยาบาลดูแลผูป้ ่ วย
กายภาพบาบัด Paramedical services
รถพยาบาล ที่พกั ฟื้ น
ผูป้ ่ วย
บริการอืน่ ๆ ที่เกี่ยวเนื่ องกับ
สุขภาพ (CPC Ver.2:
97230 : Physical Wellbeing Services) เช่น สปา
และนวดไทย
กายภาพ
บาบัด
ParaMedic
ทันตกรรม
คลีนิค
โรง
พยาบาล
ดูแล
คนชรา
เสริมสวย
สปา
นวดบาบัด
Long
Stay
นวด
ผ่อนคลาย
การผลิต
ร้านขายยา
รูปแบบการให้บริการสุขภาพ
Mode 1:
การให้บริการข้ามพรมแดน
คือ แพทย์ให้บริการตรวจวินิจฉัยโรคแก่ผูป้ ่ วยผ่านอินเทอร์เน็ ต หรือการออกใบรับรองแพทย์
และบริการอ่านผลเอ็กซ์เรย์ เป็ นต้น
Mode 2:
การเข้าไปรับบริการในต่างแดน
คือ การที่ผูป้ ่ วย หรือนักท่องเที่ยว เดินทางไปรับการรักษา หรือใช้บริการด้านสุขภาพใน
ต่างประเทศ
Mode 3:
การจัดตัง้ หน่ วยธุรกิจในต่างแดน
คือ การเข้าไปลงทุนเปิ ดคลีนิค โรงพยาบาล หรือสถานให้บริการด้านสุขภาพในต่างประเทศ
Mode 4:
การเข้าไปทางานของบุคลากรเป็ นการชัว่ คราว
คือ แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่ดา้ นสุขภาพ เดินทางไปให้บริการแก่ผูป้ ่ วย หรือผูร้ บั บริการ
ในต่างประเทศ เป็ นต้น
ข้อผูกพันสาขาบริการสุขภาพของไทย
o ประเทศไทยมีการทาความตกลงการค้าเสรีหลายฉบับทัง้ ในระดับภูมิภาค และทวิภาคี แต่ผูกพัน
เปิ ดตลาดสาขาบริการสุขภาพให้ต่างชาติให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนเฉพาะภายใต้กรอบความตกลง
ด้านการค้าบริการอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS) และ
ความตกลงการค้าเสรี ไทย-เปรู เท่านั้น ในสาขา
 บริการด้านการแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลเอกชน
 บริการด้านสัตวแพทย์ปศุสตั ว์
 บริการด้านพยาบาลในแผนกกายภาพบาบัดและ หน่ วยกูช้ ีพ ในโรงพยาบาล
 บริการโรงพยาบาล
o โดยอนุ ญาตเฉพาะรูปแบบของบริษทั จากัดเท่านั้น และสัดส่วนหุน้ ต่างชาติตอ้ งไม่เกินร้อยละ 70
และดาเนิ นธุรกิจได้เฉพาะในลักษณะการร่วมทุน (Joint Venture) กับนิ ติบคุ คลสัญชาติไทย
เท่านั้น
ข้อผูกพันสาขาบริการสุขภาพของไทย
o นอกจากนี้ ยังมีขอ้ จากัดด้านอืน่ ๆ ดังต่อไปนี้
 ไม่ผูกพันในเรือ่ งการถือครองและใช้ประโยชน์ท่ดี ิน
 บุคคลหรือนิ ตบิ คุ คลต่างชาติภายใต้ขอ้ ผูกพันนี้ ที่ถอื ครองหรือได้รบั สิทธิในการถือครองที่ดินจะ
ถือว่าขาดคุณสมบัตใิ นการได้รบั สิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลง
 กรรมการบริหาร รวมถึงผูบ้ ริหารหรือเทียบเท่า จะต้องมีสญั ชาติไทยและมีถ่ินที่อยู่ในประเทศ
ไทย
 บุคคลหรือตัวแทนนิ ตบิ คุ คลที่เป็ นผูข้ อรับใบอนุ ญาตต้องมีสญั ชาติไทย
 ไม่ผูกพันสาหรับมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการอุดหนุ น และสิทธิพเิ ศษ เงิน ลงทุนขัน้ ตา่ การได้
สิทธิครอบครอง และการใช้ท่ดี ิน มาตรการที่เกี่ยวกับภาษี และข้อจากัดเรื่องสัญชาติ
ข้อผูกพันสาขาบริการสุขภาพของไทย
oทัง้ นี้ ภายใต้ ความตกลงหุน้ ส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (Japan-Thailand Economic
Partnership Agreement: JTEPA) อนุ ญาตให้แพทย์ชาวญี่ปนุ่ สามารถติดตามผู ป้ ่ วย
ชาวญี่ปนุ่ ที่มารับการรักษาในประเทศไทย เพือ่ ดูแลเฉพาะคนกลุ่มนี้ ได้เท่านั้น (ห้ามรักษา
คนอื่น และห้ามทาการรักษาในโรงพยาบาล และเมื่อผู ป้ ่ วยเดินทางกลับแพทย์ญ่ีปุ่น
ดังกล่าวก็ตอ้ งกลับไปด้วย) ทัง้ นี้ ขึ้นอยู่กบั ความเห็นชอบของแพทยสภาแห่งประเทศไทย
[มาตรา26 (6) ของ พ.ร.บ วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ 2525]
บทบาทกระทรวงพาณิ ชย์
กระทรวงพาณิ ชย์พร้อมให้การสนับสนุ นและ
อานวยความสะดวกโดยการทางานร่วมกัน
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ:
ลูท่ างการค้าและการลงทุน
กรมการค้าต่างประเทศ:
การใช้สทิ ธิประโยชน์และมาตรการรองรับผลกระทบ
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า:
การพัฒนาผูป้ ระกอบการ SMEs
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ:
ความรูเ้ กี่ยวกับข้อตกลง และพันธกรณี ของไทย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
www.ditp.go.th
สายด่วน Call center : 1169, 0-2507-8424
www.dft.go.th
สายด่วน Call Center: 1385, 0-2547-4855
www.dbd.go.th
สายด่วน Call Center : 1570, 0-2528-7600
www.dtn.go.th www.thaifta.com
โทร : 0-2507-7555