ประชุมผู้ปกครอง นักศึกษา

Download Report

Transcript ประชุมผู้ปกครอง นักศึกษา

บทที่ 3 สื่ อการเรียนการสอน
เรี ยบเรี ยงโดย พินิจ เนื่องภิรมย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
สื่ อการเรียนการสอน

ในการพัฒนาสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอน จะต้องคานึงถึงทฤษฎี
ทางการศึกษา จิตวิทยาการเรี ยนรู ้การสื่ อสารการเรี ยนรู ้ และศาสตร์ต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการเสริ มสร้างหรื อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้ได้ตามจุดประสงค์หรื อ
เป้ าหมายของแต่ละบทเรี ยน
การสื่ อสารการเรียนรู้

การสื่ อสารทางเดียว (One-Way Communication)
เช่น การสอนแก่ผเู ้ รี ยนจานวนมากในห้องเรี ยน ขนาดใหญ่โดยการฉายวีดิ
ทัศน์ โทรทัศน์วงจรปิ ด หรื อวิทยุและโทรทัศน์การศึกษาแก่ผเู ้ รี ยนที่เรี ยนอยูท่ ี่
บ้าน
การสื่ อสารการเรียนรู้

การสื่ อสารสองทาง (Two-Way Communication)
อาจทาได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่ อง ช่วยสอน เช่นการใช้บทเรี ยน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรื อการใช้เครื่ องช่วยสอน เนื้อหาจะถูกส่ งจากเครื่ อง
ไปยังผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนทาการตอบสนอง
ความหมายของสื่ อการเรียนรู้


คาว่า "สื่ อ" (Media) เป็ นคาที่มาจาก
ภาษาละตินว่า "medium" แปลว่า
"ระหว่าง" หมายถึง สิ่ งใดก็ตามที่บรรจุ
ข้อมูลเพื่อให้ผสู้ ่ งและผูร้ ับสามารถ
สื่ อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์
"สื่ อการเรี ยนการสอน" (Instruction
Media) หมายถึง สื่ อชนิดใดก็ตามที่
บรรจุเนื้อหา หรื อสาระการเรี ยนรู้ซ่ ึง
ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนใช้เป็ นเครื่ องมือ
สาหรับการเรี ยนรู้เนื้อหา
ประเภทของสื่ อการเรียนรู้

สื่ อสิ่ งพิมพ์
เอกสาร หนังสื อเรี ยน หนังสื อพิมพ์ นิตยสาร วารสาร บันทึก รายงาน ฯลฯ
ประเภทของสื่ อการเรียนรู้

สื่ อเทคโนโลยี หมายถึง สื่ อการเรี ยนรู ้ที่ผลิตขึ้นใช้ควบคู่กบั เครื่ องมือโสตทัศนวัสดุ หรื อ
เครื่ องมือที่เป็ นเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น แถบบันทึกภาพพร้อมเสี ยง (วีดิทศั น์) แถบ
บันทึกเสี ยง ภาพนิ่ง สื่ อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนอกจากนี้สื่อเทคโนโลยียงั หมายรวมถึง
กระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ใน กระบวนการเรี ยนรู ้
เช่น การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรี ยนรู ้ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็ นต้น
ประเภทของสื่ อการเรียนรู้

สื่ ออืน่ ๆ
1) บุคคล
2) ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
3) กิจกรรม / กระบวนการ
4) วัสดุ เครื่ องมือและอุปกรณ์
เอดการ์ เดล (Edgar Dale)
คุณค่ าของสื่ อการสอน กับผูเ้ รี ยน






เป็ นสิ่ งที่ช่วยให้การเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
สื่ อจะช่วยกระตุน้ และสร้างความสนใจให้กบั ผูเ้ รี ยน
การใช้สื่อจะทาให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจตรงกัน
ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนการสอนมากขึ้น
ช่วยสร้างเสริ มลักษณะที่ดีในการศึกษาค้นคว้าหาความรู ้
ช่วยแก้ปัญหาเรื่ องของความแตกต่างระหว่างบุคคล
คุณค่ าของสื่ อการสอน กับผูส้ อน



ช่วยให้บรรยากาศในการสอนน่าสนใจยิง่ ขึ้น
สื่ อจะช่วยแบ่งเบาภาระของผูส้ อนในด้านการเตรี ยมเนื้อหา
เป็ นการกระตุน้ ให้ผสู ้ อนตื่นตัวอยูเ่ สมอในการเตรี ยมและผลิตวัสดุใหม่ ๆ
เพื่อใช้เป็ นสื่ อการสอน
หลักการเลือกสื่ อการสอน






สื่ อนั้นต้องสัมพันธ์กบั เนื้อหาบทเรี ยนและจุดมุ่งหมายทีจ่ ะสอน
เลือกสื่ อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็ นสื่ อทีส่ ่ งผลต่อการเรี ยนรู ้
มากที่สุด
เป็ นสื่ อที่เหมาะกับวัย ระดับชั้น ความรู ้ และประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน
สื่ อนั้นควรสะดวกในการใช้ วิธีใช้ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อนเกินไป
เป็ นสื่ อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนเป็ นจริ ง
มีราคาไม่แพงเกินไป หรื อถ้าจะผลิตควรคุม้ กับเวลาและการลงทุน
ทฤษฎีการเรียนรู้ และจิตวิทยาการเรียนรู้
1) ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
เป็ นทฤษฎีซ่ ึ งเชื่อว่าจิตวิทยาเป็ นเสมือนการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของพฤติกรรมมนุษย์
(Scientific Study of Human Behavior) และการเรี ยนรู้ของมนุษย์เป็ นสิ่ งที่สามารถสังเกตได้จาก
พฤติกรรมภายนอก สื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา ที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
นี้จะมีโครงสร้างของบทเรี ยนในลักษณะเชิงเส้นตรง (Linear)
2) ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism)
พฤติกรรมของมนุษย์น้ นั เป็ นเรื่ องของภายในจิตใจมนุษย์ การออกแบบการเรี ยนการสอนก็ควรที่
จะคานึงถึงความแตกต่างภายในของมนุษย์ดว้ ย
3)ทฤษฎีโครงสร้างความรู ้ (Scheme Theory)
เป็ นแนวคิดที่เชื่อว่าโครงสร้างภายในของความรู้ที่มนุษย์มีอยูน่ ้ นั จะมี ลักษณะเป็ นโหนดหรื อ
กลุ่มที่มีการเชื่อมโยงกันอยู่ ในการที่มนุษย์จะรับรู ้อะไรใหม่ ๆ นั้น มนุษย์จะนาความรู ้ใหม่ ๆ ที่
เพิง่ ได้รับนั้นไปเชื่อมโยงกับกลุ่มความรู้ที่มีอยูเ่ ดิม
สื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการสอน

ในการพัฒนาสื่ อมัลติมีเดียเพื่อ
การเรี ยนการสอน จะต้องคานึงถึง
ทฤษฎี หลักการ หรื องานวิจยั
เกี่ยวกับการพัฒนาสื่ อมัลติมีเดีย
เพื่อการเรี ยนการสอน (เอกสาร
หรื องานวิจยั บางเล่มเรี ยก
สื่ อคอมพิวเตอร์มลั ติมีเดีย )
เพื่อให้การพัฒนาบทเรี ยนเป็ นไป
อย่างมีคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพ
สาระที่เกี่ยวข้องและสาคัญ
ประเภทของสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การศึกษา



คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI) เป็ นสื่ อมัลติมีเดียที่เน้นการใช้งานใน
เครื่ องเดี่ยว (Stand Alone)
การเรี ยนบนเว็บ (WBI) เป็ นสื่ อมัลติมีเดียที่เน้นการใช้งานในระบบ
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตหรื ออินทราเน็ต
e–Learning เป็ นสื่ อมัลติมีเดียเชิงปฏิสมั พันธ์ที่ใช้งานในเครื อข่าย
อินเทอร์เน็ต โดยมีระบบบริ หารจัดการเรี ยนรู ้ ( CMS หรื อ LMS :
Learning Management System) เป็ นตัวจัดการรายวิชาต่างๆ
ลักษณะของสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การศึกษา


สื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การนาเสนอข้ อมูล มีลกั ษณะเป็ นการสื่ อสารทางเดียว ใช้มากในการ
โฆษณาประชาสัมพันธ์ดา้ นธุรกิจ เน้นโครงสร้างและรู ปแบบการให้ขอ้ มูลเป็ นขั้นตอน
ไม่ตรวจสอบความรู้ของผูร้ ับข้อมูลส่ วนมากควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์หรื อผู้
นาเสนอ ผูร้ ับข้อมูลอาจเป็ นรายบุคคล กลุ่มย่อย หรื อ กลุ่มใหญ่
สื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการสอน เป็ นลักษณะสื่ อสองทาง เป้ าหมายคือการสอน อาจ
ใช้ช่วยในการสอนหรื อสอนเสริ มก็ได้ ผูเ้ รี ยนใช้เรี ยนรู้ได้ดว้ ยตนเอง หรือเรี ยนเป็ นกลุ่ม
ย่อย มีวตั ถุประสงค์ทวั่ ไปและวัตถุประสงค์เฉพาะ ครอบคลุมทักษะ ความรู้ ความจา
ความเข้าใจ และเจตคติ ส่ วนจะเน้นอย่างใดมากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์และ
โครงสร้างของเนื้อหา ใช้เพื่อการเรี ยนการสอนไม่จากัดว่าจะต้องอยูใ่ นระบบโรงเรี ยน
เท่านั้น
การออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการสอน




เริ่ มจากสิ่ งที่รู้ไปสู่สิ่งที่ไม่รู้ โดยทาเป็ น กรอบ (Frame) หลาย ๆ
กรอบ ผูเ้ รี ยนจะค่อย ๆ เรี ยนไปทีละกรอบตามลาดับง่ายไปสู่ยาก
เนื้อหาที่ค่อยๆ เพิ่มขึ้นนั้น จะต้องเพิ่มขึ้นทีละน้อย ค่อนข้างง่าย และมี
สาระความเปลี่ยนแปลงในแต่ละกรอบ
แต่ละกรอบจะต้องมีการแนะนาความรู้ใหม่เพียงอย่างเดียว
ในระหว่างการเรี ยนจะต้องให้ผเู้ รี ยนแต่ละคน มีส่วนในการทา
กิจกรรม ตามไปด้วย เช่น ตอบคาถาม ทาแบบทดสอบ ไม่ใช่คิดตาม
อย่างเดียวเพราะจะทาให้ เบื่อหน่าย
การออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการสอน
การเลือกคาตอบที่ผดิ อาจทาให้กลับไปทบทวนกรอบของแบบเรี ยน
เก่า
 การเรี ยนด้วยวิธีน้ ี ทาให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนได้ตามความสามารถของตนเอง
 การเรี ยนในลักษณะนี้ เป็ นการเรี ยนโดยเน้นที่ความถนัดของแต่ละ
บุคคลแต่ละคนจะมีความถนัดต่างกัน
 ในการเสนอบทเรี ยนลักษณะนี้ การสรุ ปท้ายบทเรี ยนแต่ละบทจะช่วย
ให้ ผูเ้ รี ยนได้วดั ผลตนเอง
 การกาหนดวัตถุประสงค์ไว้ปลายทางว่าต้องการให้ผเู ้ รี ยนได้รู้
อะไรบ้าง

เทคนิคการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการสอน









การเร้าความสนใจให้พร้อมที่จะเรี ยน
วัตถุประสงค์ของการเรี ยน
ทบทวนความรู ้เดิม
ให้เนื้อหาและความรู ้ใหม่
แสดงความสัมพันธ์ของเนื้อหา
กระตุน้ การตอบสนอง
ให้ขอ้ มูลป้ อนกลับ
ทดสอบ
การนาความรู ้ไปใช้
ลาดับขั้นตอนของการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการ
สอน
1) บทนา (Introduction)
1.1) เนื้อหาสั้นกระชับ
1.2) บอกจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของบทเรี ยน
1.3) บอกวิธีการเรี ยนบทเรี ยนที่แน่นอนและบอกให้รู้ท้ งั หมด
1.4) บอกให้รู้วา่ ก่อนการเรี ยนบทเรี ยน ผูเ้ รี ยนต้องมีความรู้อะไร ก่อนบ้าง
1.5) ให้ผเู้ รี ยนเลือกลาดับการเรี ยนเอง โดยเลือกจากรายการ และกลับ มาที่รายการ
(Menu) อีกเมื่อเรี ยนหน่วยที่ได้เลือกไปเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว
1.6) แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่ควรใส่ ไว้ในบทเรี ยน ใช้แบบทดสอบ ก่อนเรี ยนเพื่อวัด
ความรู้ของผูเ้ รี ยนที่จะต้องเรี ยนต่อไป และแบบทดสอบก่อนเรี ยน ควรแยกจาก
บทเรี ยน
ลาดับขั้นตอนของการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการ
สอน
2) การเสนอเนื้อหา (Presentation of Information)
2.1) เสนอเนื้อหาให้ส้ นั กระชับ
2.2) ออกแบบการเสนอเนื้อหาให้ดึงดูดความสนใจ
2.3) ไม่ใช้ตวั หนังสื อวิง่ จากบนลงล่างหรื อล่างขึ้นบน
2.4) เน้นส่ วนที่ตอ้ งการให้ผเู ้ รี ยนทาความเข้าใจ เปรี ยบเทียบหรื อ ชี้แนะด้วยการใช้ highlight
2.5) ใช้สีเพื่อกระตุน้ หรื อเน้นส่ วนที่สาคัญ
2.6) หลีกเลี่ยงการใช้สีในเนื้อหาทัว่ ๆไป ที่ไม่ใช่ส่วนสาคัญ
2.7) ตัวอักษรต้องอ่านง่าย
2.8) เน้นความแตกต่างระหว่างหัวข้อให้ชดั เจน
2.9) ใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมกับเนื้อหา
2.10) จัดเตรี ยมกรอบการเรี ยนที่จะช่วยผูเ้ รี ยนในการใช้หรื อปฏิบตั ิตามได้ง่าย
ลาดับขั้นตอนของการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการ
สอน
2) การเสนอเนื้อหา (Presentation of Information)
2.1) เสนอเนื้อหาให้ส้ นั กระชับ
2.2) ออกแบบการเสนอเนื้อหาให้ดึงดูดความสนใจ
2.3) ไม่ใช้ตวั หนังสื อวิง่ จากบนลงล่างหรื อล่างขึ้นบน
2.4) เน้นส่ วนที่ตอ้ งการให้ผเู ้ รี ยนทาความเข้าใจ เปรี ยบเทียบหรื อ ชี้แนะด้วยการใช้ highlight
2.5) ใช้สีเพื่อกระตุน้ หรื อเน้นส่ วนที่สาคัญ
2.6) หลีกเลี่ยงการใช้สีในเนื้อหาทัว่ ๆไป ที่ไม่ใช่ส่วนสาคัญ
2.7) ตัวอักษรต้องอ่านง่าย
2.8) เน้นความแตกต่างระหว่างหัวข้อให้ชดั เจน
2.9) ใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมกับเนื้อหา
2.10) จัดเตรี ยมกรอบการเรี ยนที่จะช่วยผูเ้ รี ยนในการใช้หรื อปฏิบตั ิตามได้ง่าย
ลาดับขั้นตอนของการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการ
สอน
3) คาถาม-คาตอบ (Question and Responses)
3.1) ให้คาถามบ่อยๆ โดยเฉพาะคาถามที่เกี่ยวกับความเข้าใจ
3.2) หาทางให้ผเู้ รี ยนตอบคาถามทางช่องทางอื่น อย่าใช้เพียงทางการพิมพ์
3.3) Prompts เป็ นเครื่ องหมายแสดงให้ผเู้ รี ยนตอบคาถามควรอยูใ่ ต้คาถามใกล้ทางซ้ายมือของจอมอนิเตอร์
3.4) คาถามควรอยูใ่ นลักษณะที่ช่วยสนับสนุนให้ตอบคาถามให้ถูกต้อง
3.5) ถามคาถามที่จุดสาคัญ ๆ ของเนื้อหา
3.6) ยอมให้ผเู้ รี ยนตอบคาถามได้มากกว่า 1 ครั้ง ใน 1 คาถาม
3.7) การเขียนคาถามแบบเลือกตอบนั้นทาได้ยาก แต่ง่ายในการตรวจ และอาจมีการเดาได้
3.8) คาถามแบบเขียนตอบนั้นทาได้ง่าย แต่ยากในการตรวจและ ป้ องกันการเดาได้
3.9) ต้องรู้วา่ จะทดสอบความจาหรื อความเข้าใจ และเลือกชนิดของคาถามให้เหมาะสม
3.10) ภาษาที่ใช้ในบทเรี ยน ควรมีความยากง่ายให้เหมาะกับระดับของผูเ้ รี ยน
3.11) หลีกเลี่ยงการใช้คาถามแบบย่อหรื อถามในทางปฏิเสธ
3.12) คาถามไม่ควรเป็ นตัวหนังสื อเลื่อนจากบนลงล่างหรื อล่างขึ้นบน
3.13) คาถามจะแสดงบนจอมอนิเตอร์เมื่อเสนอเนื้อหาจบแล้วและอยูใ่ ต้เนื้อหานั้น
ลาดับขั้นตอนของการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการ
สอน
4) การตรวจคาตอบ (Judging Responses)
4.1) การตรวจคาตอบเกี่ยวกับเชาว์ปัญญา ครู จะต้องยอมรับคาบางคา ที่มี
ความหมายใกล้เคียงกันสะกดเหมือนกัน หรื อคาพิเศษต่างๆ
4.2) จะต้องพิจารณาทั้งคาตอบที่ถูกและคาตอบที่ผดิ
4.3) ให้เวลาผูเ้ รี ยนในการตอบคาถาม
4.4) ให้ผเู ้ รี ยนได้รับการช่วยเหลือจนสามารถผ่านไปได้
ลาดับขั้นตอนของการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการ
สอน
5) การให้ขอ้ มูลป้ อนกลับสาหรับคาถาม (Providing Feedback about Responses)
5.1) ถ้ารู ปแบบคาตอบผิดให้บอกว่ารู ปแบบคาตอบนั้นผิดแล้วให้บอกรู ปแบบ
คาตอบที่ถูกและให้ตอบคาถามอีก
5.2) ถ้าเนื้อหาของคาตอบถูก ให้ยนื ยันคาตอบอีกครั้งหนึ่ง
5.3) ถ้าเนื้อหาของคาตอบผิด ให้ขอ้ มูลป้ อนกลับเพื่อการแก้ไข
6) การให้เนื้อหาเสริ ม (Remediation)
ให้เนื้อหาเสริ มสาหรับผูเ้ รี ยนที่เรี ยนได้ไม่ดี โดยให้กลับไปเรี ยนบทเรี ยน ใหม่
หรื อเรี ยนจากผูส้ อน
ลาดับขั้นตอนของการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการ
สอน
5) การให้ขอ้ มูลป้ อนกลับสาหรับคาถาม (Providing Feedback about Responses)
5.1) ถ้ารู ปแบบคาตอบผิดให้บอกว่ารู ปแบบคาตอบนั้นผิดแล้วให้บอกรู ปแบบ
คาตอบที่ถูกและให้ตอบคาถามอีก
5.2) ถ้าเนื้อหาของคาตอบถูก ให้ยนื ยันคาตอบอีกครั้งหนึ่ง
5.3) ถ้าเนื้อหาของคาตอบผิด ให้ขอ้ มูลป้ อนกลับเพื่อการแก้ไข
6) การให้เนื้อหาเสริ ม (Remediation)
ให้เนื้อหาเสริ มสาหรับผูเ้ รี ยนที่เรี ยนได้ไม่ดี โดยให้กลับไปเรี ยนบทเรี ยน ใหม่
หรื อเรี ยนจากผูส้ อน
ลาดับขั้นตอนของการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการ
สอน
7) ลาดับการเรี ยนบทเรี ยน (Sequencing Lesson Segments)
7.1) เสนอบทเรี ยนไปตามลาดับขั้นจากง่ายไปยาก
7.2) หลีกเลี่ยงการใช้ Linear Tutorial ควรใช้ Branching Tutorial
7.3) ให้ผเู ้ รี ยนควบคุมการเรี ยนโดยใช้แป้ นพิมพ์ ไม่ควรใช้เวลา ในการควบคุม
บทเรี ยน
7.4) จัดทาบทเรี ยนให้สามารถกลับไปเริ่ มต้นบทเรี ยนได้ใหม่
8) ตอนท้ายของบทเรี ยน (Closing)
8.1) เก็บข้อมูลไว้สาหรับการกลับมาเรี ยนใหม่
8.2) ลบข้อมูลบนจอมอนิเตอร์
8.3) บอกให้ทราบถึงการจบบทเรี ยนด้วยข้อมูลที่ส้ นั และแจ่มชัด
ลักษณะของบทเรียนทีด่ ี









สร้างขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการสอน
ควรเหมาะสมกับลักษณะผูเ้ รี ยน
ควรมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูเ้ รี ยนให้มากที่สุด
ควรมีลกั ษณะเป็ นการเรี ยนการสอนรายบุคคล
ควรคานึงถึงความสนใจของผูเ้ รี ยน
ควรสร้างความรู ้สึกในทางบวกกับผูเ้ รี ยน
ควรจัดทาบทเรี ยนให้แสดงผลป้ อนกลับไปยังผูเ้ รี ยนให้มากๆ
ควรเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางการเรี ยนการสอน
บทเรี ยนที่ดีควรมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูเ้ รี ยน
ลักษณะของบทเรียนทีด่ ี



บทเรี ยนควรใช้กบั คอมพิวเตอร์ซ่ ึงเป็ นทรัพยากรทางการเรี ยนอย่าง ชาญ
ฉลาด ไม่ควรเสนอบทเรี ยนในรู ปตัวอักษรอย่างเดียวหรื อเรื่ องราวทีพ่ ิมพ์
ตัวอักษร
บทเรี ยนที่ดี ต้องอยูบ่ นพื้นฐานของการออกแบบการสอน คล้ายกับการ ผลิต
สื่ อชนิดอื่นๆ การออกแบบบทเรี ยนที่ดียอ่ มจะเร้าความสนใจของผูเ้ รี ยน
ได้มาก
บทเรี ยนที่ดีควรประมวลผลทุกแง่ทุกมุม เช่นประเมินผลคุณภาพของผูเ้ รี ยน
ประสิ ทธิภาพของบทเรี ยน ความสวยงาม ความตรงประเด็น และตรงกับ
ทัศนคติของผูเ้ รี ยน
การออกแบบข้ อมูลมัลติมเี ดีย

การประสมประสานด้วยการ
ทางานของเว็บบราวเซอร์ ทา
ให้ขอ้ มูลที่เป็ น ข้อความ เสี ยง
ภาพ ผสมผสานอยูใ่ นเว็บเพจ
และด้วยเทคโนโลยี
Streaming ทาให้โปรแกรม
เว็บบราวเซอร์ หรื อโปรแกรม
ปลัก๊ อินสามารถเริ่ มการ
แสดงผลแฟ้ มเสี ยงและวีดิ
ทัศน์ได้
การออกแบบข้ อมูลมัลติมเี ดีย
การใช้ขอ้ ความ
 ไม่ควรบรรจุขอ
้ ความเต็ม
หน้าจอ
 การใช้ขอ
้ ความ เกี่ยวข้องกับการ
จัดรู ปแบบการพิมพ์
 ใช้ขอ
้ ความเป็ นส่ วนเชื่อมโยง
เพื่อกาหนดทิศทาง
 ใช้เป็ นเมนูแบบแสดงรายการให้
เลือก
การออกแบบข้ อมูลมัลติมเี ดีย
การใช้พ้นื หลัง และสี
 ถ้าเลือกใช้พ้น
ื หลังสี เข้ม
ให้เลือกสี ตวั หนังสื อสี
อ่อน หรื อถ้าเลือกพื้น
หลังสี อ่อนห้เลือกสี
ตัวหนังสื อสี เข้ม
 ให้ระมัดระวังเมื่อใช้พ้น
ื
หลังที่มีลาย
การออกแบบข้ อมูลมัลติมเี ดีย
การใช้กราฟิ ก กราฟิ กมีท้ งั ที่เป็ นภาพลายเส้น ภาพ 3 มิติ และภาพถ่าย
 ใช้เป็ นปุ่ มกาหนดทิศทาง(Navigation button)
 ใช้เป็ นภาพแผนที่
 ใช้เป็ นโลโก้ เพื่อแสดงภาพสัญลักษณ์ขององค์กร
 ใช้เป็ นจุดบูลเล็ต (Bullet point) เพื่อดึงสายตาผูม
้ าเยีย่ มชม
 ใช้เป็ นหัวเรื่ อง (Masthead)
 ใช้เป็ นเส้นแบ่งหรื อเส้นคัน
่
 ใช้เป็ นภาพพื้นหลัง (Background image)
 ใช้เป็ นหัวข้อ (Heading)
การออกแบบข้ อมูลมัลติมเี ดีย
ใช้ เป็ นภาพถ่ าย (Photo)
 ไม่ ควรต้ องใช้ เวลาในการรอให้ ภาพ
ปรากฏนานกว่ า 10 วินาที
 ใช้ กราฟิ กเพือ
่ เป็ นส่ วนนาทาง
ผู้อ่าน
 ใช้ กราฟิ กเพือ
่ ทาให้ หัวข้ อหลัก
น่ าสนใจ
 ใช้ กราฟิ กเพือ
่ ทาให้ เว็บเพจหน้ านั้น
เหมาะสม
 เว็บจะมองดูเหมือนเว็บทีส
่ ร้ างด้ วย
มืออาชีพ เมือ่ ใช้ ชุดของกราฟิ กที่
ประกอบด้ วยส่ วนทีเ่ ป็ นเส้ นทาง
เดิน โลโก้ และหัวเรื่องเท่ านั้น
 ขนาดของเว็บเพจควรอยู่ระหว่ าง
40-60 K
การออกแบบข้ อมูลมัลติมเี ดีย
การใช้ภาพเคลื่อนไหว
 แสดงความต่อเนื่ องของภาพที่เปลี่ยนแปลง
ไป
 บ่งบอกขนาดและมิติในการเปลี่ยน
 แสดงการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา
 แสดงสิ่ งหลากหลายอย่าง
 ทาให้ภาพกราฟิ กน่าสนใจมากขึ้น
 ช่วยในการมองโครงสร้าง 3 มิติ
 ใช้ดึงดูดความสนใจในช่วงเริ่ มต้น
 เพื่อให้ผใู ้ ช้มีปฏิสม
ั พันธ์กบั ข้อมูล
การออกแบบข้ อมูลมัลติมเี ดีย
การใช้วีดีทศั น์
 มีการนาเสนอในลักษณะของ
รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์
 ให้ผใู ้ ช้ประทับใจในบุคลิกภาพ
ของผูพ้ ดู

แสดงสิ่ งที่เคลื่อนไหว เช่น ส่วนของ
การเต้นบัลเลย์ หรื อการสาธิต
การออกแบบข้ อมูลมัลติมเี ดีย
การใช้เสี ยง
 ช่องของการสื่ อด้วยเสี ยง แยกออกจากการ
แสดงผลในลักษณะอื่น จึงไม่กระทบต่อ
ข้อมูลบนหน้าจอ
 เสี ยงพูดใช้เพื่อเสริ มการช่วยเหลือ หรื อให้
คาแนะนา
 เสี ยงพูดใช้แทนวีดิทศ
ั น์ เพื่อช่วยให้
จินตนาการถึงบุคลิกลักษณะของผูพ้ ดู
 ทั้งนี้ การใช้เสี ยงบนเว็บอาจเป็ นเสี ยงดนตรี
เสี ยงพูด และเสี ยงประกอบ ต่าง ๆ
เสี ยงดนตรี เป็ นรู ปแบบของเสี ยงที่ใช้กนั มาก