คลิกที่นี้

Download Report

Transcript คลิกที่นี้

พัฒนาหลักสูตร
Your subtitle goes here
หน่ วยที่ 2 การพัฒนาหลักสู ตร
เนือ้ หา 2.1 เรื่อง ความจาเป็ นในการพัฒนาหลักสู ตร
อนิจจัง
ครั้งหนึ่งมีหมู่บา้ นแห่งหนึ่ง ตั้งอยูเ่ นินเขาชายป่ าอันอุดมสมบูรณ์ดว้ ยสิ งส์สาราสัตว์
ต่าง ๆ อันควรแก่การจับมาเป็ นอาหารและเลี้ยงไว้ดูเล่น ชาวบ้านแห่งนั้นก็สงั่ สอนลูกหลาน
ของตนให้รู้จกั ดักบ่าง จับชะนี ตีผ้ งึ คล้องช้าง นัง่ ห้าง และไล่ราว เพื่อจับสัตว์มาเป็ นอาหาร
อยูม่ าวันหนึ่ง เกิดอาเพศเหตุร้าย ฟ้ าถล่ม แผ่นดินทลาย ฝนตกเจ็ดวันเจ็ดคืน
ท้องฟ้ ามืดครึ้ ม ไม่เห็นเดือนเห็นตะวัน ครั้งฝนหยุดตก ท้องฟ้ าแจ่มใส ชาวบ้านก็พากัน
แปลกใจว่าป่ าไม้อนั เขียวชอุ่มนั้นหายไป กลับมีแผ่นน้ าอันกว้างใหญ่มาแทนที่ เป็ นทะเลอันเต็ม
ไปด้วย ปู ปลา หอย กุง้ กั้ง และสัตว์น้ านานาพันธุ์ ในเวลาต่อมาชาวบ้านเหล่านั้นก็สงั่ สอน
ลูกหลานของพวกเขาให้รู้จกั ทอดแห ดักลอบ ตกเบ็ด ลากอวน และจับสัตว์น้ า ด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ และก็ได้อาหารมาบริ โภคเป็ นที่สุขกายสุ ขใจสื บมา
จนกระทัง่ กาลเวลาผ่านไปอีกระยะหนึ่ง ฝูงสัตว์น้ าทั้งหลาย มีจานวนลดลง
และรู้จกั หลบซ่อนตัวไม่ให้จบั ง่าย ๆ ชาวบ้านก็ไม่ยอ่ ท้อ พากันคิดค้นหาวิธีการและ
เครื่ องมือใหม่ ๆ มาใช้จบั สัตว์น้ า รวมทั้งฝึ กลูกหลานให้ตื่นแต่เช้า ขยันขันแข็ง หากิน
ทั้งกลางวันและกลางคืน ออกทะเลลึกมากขึ้น เขาจึงจะได้อาหารพอบริ โภค
ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ผา่ นโลกมานาน เห็นการเปลี่ยนแปลงมาหลายยุคหลายสมัยก็ได้
ราพึงว่า “เออหนอ โลกนี้ช่างเปลี่ยนไป ไม่เหมือนเก่า ลูกหลานเราแต่ละรุ่ นต้องเรี ยน
วิชาต่าง ๆ ตามยุคตามสมัย ช่างไม่มีอะไรเที่ยงแท้จีรัง วิชาที่เคยเรี ยน คิดว่าดีแล้ว
มายุคนี้กต็ อ้ งยกเลิก คอยดูเถอะ ไม่กี่ปีข้างหน้าก็ตอ้ งเปลี่ยนไปอีก”
ท่ านได้ ข้อคิดจากนิทานเรื่องนีว้ ่ าอย่ างไร จงอธิบายและสรุ ป
เนือ้ หา 2.2 เรื่อง ความหมายของการพัฒนาหลักสู ตร
หลักสู ตรที่กาหนดขึ้นใช้น้ นั แม้วา่ ได้พยายามสร้างขึ้นให้สอดคล้อง
กับปรัชญาการศึกษา สภาพสังคมและวัฒนธรรม ระบบเศรษฐกิจ การเมือง
การปกครอง และหลักการทางจิตวิทยาแล้วก็ตาม แต่เมื่อได้นาหลักสู ตรไปใช้
ในโรงเรี ยนระยะหนึ่ ง หรื อเมื่อเวลาผ่านไปสภาพสังคมและแนวคิดทางการศึกษา
ตลอดจนวิทยาการ เทคโนโลยีกา้ วหน้าเปลี่ยนไป ความเหมาะสมของหลักสู ตร
จึงควรได้รับการทบทวนพิจารณาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั
ความหมายของการพัฒนาหลักสู ตร
เซเลอร์และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander. 1974 : 7)
กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตรหมายถึงการทาหลักสูตรที่มีอยูแ่ ล้วให้
ดีข้ ึน หรื อการจัดทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่โดยไม่มีหลักสูตรเดิมเป็ นพื้นฐาน
เลย ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรจะรวมไปถึงการผลิตเอกสารต่าง
ๆ สาหรับผูเ้ รี ยนด้วย
นอกจากคาว่าการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) แล้ว
ยังมีคาอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน หรื อทานองเดียวกัน หรื อแตกต่าง
กันเพียงรายละเอียดที่ตอ้ งการเน้น เช่น การปรับปรุ งหลักสูตร
(Curriculum Improvement) การสร้างหลักสูตร (Curriculum
Construction) การวางแผนหลักสูตร (Curriculum Planning) การ
ออกแบบหลักสูตร (Curriculum Design) และการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
(Curriculum Change) เป็ นต้น
ดังนั้นการพัฒนาหลักสู ตรจึงมีความหมาย 2 แนว ดังนี้
1. การปรับปรุ งหลักสู ตร หมายถึงการปรับปรุ งแก้ไข
ทีละเล็กละน้อยเรื่ อยไป เป็ นการปรับปรุ งในส่ วนปลีกย่อย แต่โครงสร้าง
ส่ วนใหญ่ยงั คงเดิม
2. การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
ขนาดใหญ่มุ่งให้เกิดสิ่ งใหม่ในหลักสู ตรทั้งหมด หรื อเป็ นการสร้าง
หลักสู ตรใหม่
เนือ้ หา 2.3 เรื่อง พืน้ ฐานในการจัดทาและการพัฒนาหลักสู ตร
หลักสู ตรจัดทาหรื อพัฒนาขึ้นเพื่อให้การศึกษาแก่บุคคลในสังคม
การจัดทาหรื อพัฒนาหลักสู ตรจึงต้องเหมาะสมกับสังคม สังคมแต่ละสังคม
นั้นมีสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครองตลอดจน
ความเชื่อในการจัดการศึกษาแตกต่างกัน การจัดทาหรื อพัฒนาหลักสู ตรจึงต้อง
คานึงถึงพื้นฐาน สภาพและความเชื่อเหล่านั้น
พืน้ ฐานด้ านปรัชญาการศึกษา
ปรัชญามาจากภาษาอังกฤษว่า Philosophy มีความหมายว่า “ความรักใน
ความรู้”
วิจิตร ศรี สะอ้าน กล่าวว่า ความรักในความรู ้ทาให้บุคคลแสวงหา ผลของ
การแสวงหาทาให้เกิดความจริ งที่เรี ยกว่า สัจธรรม และผลของการแสวงหานี้
สามารถให้ความหมายของปรัชญาอีกอย่างว่า เป็ นความคิดหรื อความเชื่อที่เรามี
เกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งที่เราทา
สุ ดใจ เหล่าสุ นทร ได้ให้ความหมายของปรัชญาไว้วา่ เป็ นความคิดหลัก ที่
บุคคล หรื ออนุชนยึดถือ เป็ นหลักปฏิบตั ิในการดาเนินชีวติ
เมื่อพิจารณาคาว่าปรัชญาการศึกษาที่ประกอบด้วยคาว่า ปรัชญากับ
การศึกษา วิจิตร ศรี สะอ้าน จึงกล่าวว่า ปรัชญาการศึกษา คือ หลักและทฤษฎี
ทางการศึกษาซึ่งสามารถที่จะมาเป็ นหลัก เป็ นแนวทางในการจัดการศึกษาระดับ
ต่าง ๆ
สุ มิตร คุณากร กล่าวว่า ปรัชญาการศึกษาหรื อปณิ ธานการศึกษา หมายถึง อุดมคติ
อุดมการณ์อนั สูงสุ ด ซึ่งยึดเป็ นหลักในการจัดการศึกษา
ภิญโญ สาธร กล่าวว่า ปรัชญาการศึกษาตามรู ปศัพท์ หมายความว่า วิชาว่าด้วย
ความรู้อนั เกี่ยวกับการศึกษา ความรู ้อนั เกี่ยวกับการศึกษานั้นย่อมหมายถึง วัตถุประสงค์ของการ
ศึกษาเนื้อหาวิชาที่ให้ศึกษาและวิธีการให้การศึกษา
บุญเลิศ นาคแก้วและนงเยาว์ สุ ขาพันธุ์ (2522 : 69) กล่าวว่า ปรัชญาการศึกษา
ควรมีลกั ษณะที่เป็ นสาระสาคัญ 3 ประการ ดังนี้
(1) เกี่ยวกับหน้าที่และข้อผูกพันของสถานศึกษา หมายถึง การแสดงเจตจานงของสถาบัน
(2) ต้องแสดงให้เห็นถึงลักษณะของความรู ้ที่ยดึ ถือเป็ นหลักในการให้การศึกษาแก่
ผูเ้ รี ยน ลักษณะของความรู้น้ นั หมายถึง เป็ นความรู ้ประเภทใด เมื่อเรี ยนแล้วจะนาไปใช้
ประโยชน์อะไรบ้าง
(3) ต้องแสดงให้เห็นถึงลักษณะและคุณสมบัติของผูท้ ี่จบการศึกษาไปแล้วว่า จะเป็ น
บุคคลที่มีคุณลักษณะมีความรู้ มีความคิด และค่านิยมอย่างไร
ดังนั้นอาจสรุ ปได้วา่ ปรัชญาการศึกษาก็คือ ความเชื่อที่เป็ นหลักในการกาหนด
แนวทางจัดการศึกษา โดยครอบคลุมทั้งจุดมุ่งหมาย เนื้อหาวิชา กระบวนการเรี ยนการสอน และ
การวัดผล ประเมินผล
ปรัชญาการศึกษาที่ควรศึกษาสามารถแบ่ งได้ 5 กลุ่ม ดังนี้
1. ปรัชญาสารัตถนิยม (Essentialism)
2. ปรัชญานิรันตรนิยม (Perennialism)
3. ปรัชญาพิพฒั นาการ (Progressivism)
4. ปรัชญาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism)
1. ปรัชญาสารัตถนิยม ปรัชญานี้มีความเชื่อว่าในแต่ละวัฒนธรรม มีความรู ้
ทักษะความเชื่อ เจตคติ อุดมการณ์ ที่เป็ นแกนกลางหรื อเป็ นหลัก ทุกคนในวัฒนธรรม
นั้นจะต้องรู ้สิ่งเหล่านี้ และระบบการศึกษาจะมุ่งถ่ายทอดสิ่ งเหล่านี้แก่เยาวชน
จากความเชื่อดังกล่าว ระบบการศึกษา ควรเน้นหนักในการศึกษาความรู ้
และวัฒนธรรม การถ่ายทอดความรู ้เป็ นไปอย่างมีระบบมีมาตรฐานของผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรี ยนระดับเดียวกันเด็กควรมีอิสระภาพที่จะได้ความรู ้และบรรลุถึงมาตรฐานดังกล่าว
อย่างทัดเทียมกัน ไม่ใช่อิสรภาพในการเลือกเรี ยนอะไรก็ได้ตามใจชอบ เมื่อเป็ นเช่นนี้
ปรัชญาสารัตถนิยมจึงเน้นความไม่เปลี่ยนแปลงเพราะถือว่า ความรู ้ ความจริ ง และ
วัฒนธรรมของสังคมนั้น ได้รับการเลือกสรรแล้วอย่างเหมาะสม ซึ่ งอาจกล่าวได้วา่
ลัทธิน้ ีมีความเชื่อในแนวทางที่จะนาไปสู่ การอนุรักษ์และถ่ายทอดวัฒนธรรม
บรรจง จันทรสา (2522 : 238 – 239) กล่าวว่า ลักษณะเด่นของปรัชญา
สารัตถนิยม มีลกั ษณะเด่น 4 ประการ ดังนี้
(1) การเรี ยนนั้นว่าโดยธรรมชาติของมันแล้ว เป็ นงานที่หนักและไม่มุ่งหวังที่จะ
ให้มีการนาไปใช้อย่างทันท่วงที
(2) การริ เริ่ มทางการศึกษานั้น ควรจะอยูท่ ี่ครู มากกว่านักเรี ยน
(3) หัวใจของกระบวนการทางการศึกษา ก็คือ การนาเอาเนื้อหาวิชาที่เลือกสรร
แล้วมาเชื่อมโยงให้ประสานกัน
(4) โรงเรี ยนจะรักษาไว้ซ่ ึ งวิธีการแบบดั้งเดิมที่ใช้ระเบียบวินยั ในการก่อให้ก่อ
เกิดการเรี ยนรู ้ และฝึ กฝนทางสติปัญญา
หลักสู ตรที่สร้างขึ้นตามแนวปรัชญานี้ ได้แก่ หลักสู ตรรายวิชาและหลักสู ตร
รวมวิชา
2. ปรัชญานิรันตรนิยม ปรัชญานิรันตรนิยมนี้เริ่ มโดย อริ สโตเติ้ลและบาทหลวง
โทมัสอาคีนสั เป็ นผูน้ ามาดัดแปลง ทั้งสองท่านได้ปูพ้ืนฐานของปรัชญานี้ ไว้อย่างมัน่ คง
ความคิดและหลักการที่ท่านได้กาหนดไว้ยงั คงดารงอยูเ่ รื่ อยมาไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่
สมัยยุคกลาง (Middle age) คาว่า Perennial ก็แปลว่า “ซึ่ งไม่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา”
ปรัชญานี้มีความเชื่อว่า ธรรมชาติ ของมนุษย์น้ นั เหมือนกันทุกแห่ง
สาระสาคัญในธรรมชาติของมนุษย์คือ ความสามารถในการใช้ความคิด ใช้เหตุผล
การจัดการศึกษาจึงเน้นการพัฒนาทางด้านสติปัญญาและการใช้เหตุผล เนื้อหา
สาระของสิ่ งที่เรี ยน จึงเกี่ยวข้องกับความคิดและเหตุผล
บรรจง จันทรสา (2522 : 241 – 243) กล่าวว่า แนวคิดการจัด
การศึกษาของปรัชญานิรันตรนิยมสรุ ปได้ดงั นี้
(1) แม้วา่ ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันออกไป แต่ธรรมชาติของ
มนุษย์ยอ่ มจะเหมือนกันทุกแห่ง เพราะฉะนั้นการศึกษาจึงควรเป็ นแบบอย่าง
เดียวกันสาหรับชุมชน
(2) ความมีเหตุผลเป็ นลักษณะสูงสุ ดของมนุษย์ ดังนั้นมนุษย์จึงต้องใช้
ความมีเหตุผลเป็ นเครื่ องมือคอยควบคุม สัญชาตญาณตามธรรมชาติอนั เป็ นอานาจ
ฝ่ ายต่าของตน เพื่อที่จะได้บรรลุถึงจุดมุ่งหมายแห่งชีวติ ที่ได้เลือกสรรแล้ว
(3) หน้าที่ของการศึกษานั้น คือ การแสวงหา และการนามาซึ่งความจริ งอันเป็ น
นิรันดร “การศึกษา หมายถึงการสอน การสอนหมายถึง ความรู้ ความรู้คือความจริ ง
ความจริ งย่อมเหมือนกันทุกแห่ง” เพราะฉะนั้นการศึกษาก็ยอ่ มเหมือนกันในทุกแห่งหน
(4) การศึกษามิใช่การเลียนแบบของชีวติ แต่เป็ นการเตรี ยมตัวเพื่อชีวติ
(5) นักเรี ยนควรจะได้เรี ยนรู้วชิ าพื้นฐานบางวิชา เพื่อจะได้เข้าใจและคุน้ เคยกับ
สิ่ งที่คงทนถาวรของโลก
(6) นักเรี ยนควรจะได้ศึกษางานนิพนธ์ที่สาคัญทางวรรณคดี ประวัติศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์
นอกจากนี้ บรรจง จันทรสา (2522 : 240) ยังกล่าวว่า การจัดหาหลักสูตรตาม
แนวปรัชญานิรันตรนิยมนี้ส่วนใหญ่จะคล้ายกับแนวปรัชญาสารัตถนิยม แต่มีความคิดที่
แตกต่างกันของ 2 ปรัชญานี้อยู่ 2 ประการ ได้แก่
(1) ปรัชญาสารัตถนิยม เน้นสติปัญญา หรื อพุทธิศึกษาน้อยกว่าเพราะมิได้
แสวงหาความจริ งที่นิรันดรแต่หาแนวทางที่จะปรับให้เข้ากับสังคมและสิ่ งแวดล้อม
(2) ปรัชญาสารัตถนิยม ยอมรับแนวพิพฒั นาการในวิถีทางการศึกษา เช่น
การปรับตัวเข้ากับสังคม ความเชื่อ ความจริ ง และกฎของธรรมชาติ แต่ปรัชญา
นิรันตรนิยมเคารพนับถือความสาเร็ จอันยิง่ ใหญ่ในอดีตเป็ นความรู ้ และสิ่ งดีงาม เป็ น
นิรันดรและเป็ นสากลสาหรับมนุษย์
ดังนั้นอาจสรุ ปได้วา่ แนวทางของนิรันตรนิยม เป็ นแนวทางที่จะย้อนกลับ
ไปสู่ วฒั นธรรมอันดีงามในอดีต
3. ปรัชญาพิพฒ
ั นาการ ปรัชญาการศึกษานี้ ก่อตั้งในศตวรรษที่ 20 (1920)
ในสหรัฐอเมริ กา ปรัชญานี้มีความเชื่อว่า สาระสาคัญและความเป็ นจริ งของสิ่ งทั้งหลาย
นั้น มิได้คงที่หรื อหยุดนิ่ง หากจะเปลี่ยนสภาพไปตามเวลาและสิ่ งแวดล้อม และใน
ส่ วนที่เกี่ยวกับการศึกษานั้นลัทธิน้ ีเชื่อว่า การศึกษาในฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่งของสังคม
ก็ควรจะเปลี่ยนสภาพไปด้วยเมื่อถึงคราวจาเป็ น ฉะนั้นวิธีการทางการศึกษาจึงต้อง
พยายามปรับปรุ งให้สอดคล้องกับกาลเวลาและสภาพแวดล้อมอยูเ่ สมอ การศึกษามิใช่จะ
สอนให้คนยึดมัน่ ในความจริ ง ความรู ้ และค่านิยมที่คงที่หรื อถูกกาหนดไว้ตายตัว หาก
จะต้องปรับปรุ งการศึกษาเพื่อจะเป็ นหนทางนาไปสู่ การค้นพบความรู ้ใหม่ ๆ อยูเ่ สมอ
ดังนั้นปรัชญาการศึกษานี้ จึงยึดมัน่ ในทางแห่งเสรี ภาพที่จะนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรมเพื่อให้เหมาะสมกับกาลสมัย
บุญเลิศ นาคแก้ว และนงเยาว์ สุ ขาพันธุ์ (2522 : 118 – 119) สรุ ปหลักสาคัญ
ของปรัชญาพิพฒั นาการดังนี้
(1) การศึกษาคือชีวิต มิใช่การเตรี ยมตัวเพื่อชีวิต
(2) ส่ งเสริ มความร่ วมมือระหว่างบ้านกับโรงเรี ยน เพื่อจะได้ทราบถึงความ
ต้องการของเด็กและแก้ปัญหาให้เด็กด้วย
(3) โรงเรี ยนแต่ละแห่ง ควรสนับสนุนให้ความร่ วมมือซึ่ งกันและกัน มิใช่
แข่งขันชิงดี ชิงเด่น ธรรมชาติของมนุษย์จะต้องอยูร่ ่ วมกันพึ่งพาอาศัยซึ่ งกันและกัน
(4) ยึดถือเด็กเป็ นศูนย์กลาง เรี ยนรู ้ดว้ ยวิธีแก้ปัญหามากกว่าจะเรี ยนจาก
หนังสื อ
(5) ครู เป็ นผูแ้ นะนา มิใช่ผบู ้ งการหรื อสั่งการ
(6) ปล่อยให้เด็กมีความเจริ ญงอกงามตามธรรมชาติ ให้เด็กได้มีอิสรเสรี
(7) การเรี ยนรู ้ดว้ ยวิธีวิทยาศาสตร์ จะช่วยให้เด็กเกิดพัฒนาในทุก ๆ ด้าน
หลักสูตรที่ยดึ แนวปรัชญาพิพฒั นาการ ได้แก่ หลักสูตรกิจกรรมหรื อ
ประสบการณ์
4. ปรัชญาปฏิรูปนิยม นักการศึกษาที่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาของ
ปรัชญาปฏิรูปนิยม คือ เทียวเดอร์ เบรมเมล (Theodore Brarneld) ชาวสหรัฐอเมริ กา
เขาได้รับเสนอแนวคิดรายละเอียดในการจัดการศึกษาตามแนวนี้ ในปี ค.ศ. 1950
ปรัชญานี้พฒั นาจากปรัชญาปฏิบตั ินิยม (Pragmatism) ที่เน้นหนักการแก้ไข
ปรับปรุ งสภาพสังคม โดยอาศัยการศึกษาผนวกกับปรัชญาพิพฒั นาการที่เน้นพัฒนา
ผูเ้ รี ยนไปตามต้องการความสนใจของผูเ้ รี ยนเป็ นหลัก จากสองปรัชญาดังกล่าวทาให้
เกิดปรัชญาปฏิรูปนิยม ที่เชื่อว่า การศึกษาควรเป็ นเครื่ องมือของมนุษย์ในการปฏิรูป
สังคม
บรรจง จันทรสา (2522 : 249 – 250) ได้สรุ ปแนวคิดของปรัชญาปฏิรูปนิยมดังนี้
(1) การศึกษาจะต้องรับภาระที่จะสร้างระบบสังคมใหม่ข้ ึนมา ซึ่ งเป็ นระบบสังคมที่
บรรลุถึงคุณค่าขั้นพื้นฐานของวัฒนธรรม และขณะเดียวกันก็ให้สอดคล้องกับสภาวะทาง
เศรษฐกิจและสังคมของโลกในยุคใหม่ดว้ ย
(2) สังคมใหม่จะต้องเป็ นสังคมประชาธิปไตยอย่างแท้จริ ง ซึ่ งมีประชาชนของสังคม
เป็ นผูค้ วบคุมสถาบันต่าง ๆ ตลอดจนทรัพยากรทั้งหลาย
(3) เด็ก โรงเรี ยน และการศึกษา ย่อมจะเป็ นไปตามหลักของสังคมและวัฒนธรรม
โดยไม่มีการผ่อนผัน
(4) ครู จะต้องหาทางให้เด็กมองเห็นความถูกต้อง และความจาเป็ นที่จะต้อง
สร้างสรรค์สังคมใหม่
(5) ในด้านเกี่ยวกับการเรี ยนการสอน ตลอดจนการค้นหาความรู ้น้ นั อาศัยวิธีการ
ของปรัชญาพิพฒั นาการ
หลักสูตรตามแนวปรัชญานี้ได้แก่ หลักสูตรเพื่อชีวติ และสังคม และหลักสูตร
แกน แนวการปฏิรูปการศึกษาของคณะกรรมการวางพื้นฐานเพื่อปฏิรูปการศึกษา
ไทย ในปี พ.ศ. 2519 นั้น ก็แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องกับหลักการของ
ปรัชญานี้
5. ปรัชญาอัตถิภาวนิยม ปรัชญานี้มีความเชื่อว่า มนุษย์ตอ้ งมีเสรี ภาพที่จะ
เลือกในแนวทางที่ตนปรารถนา แต่กม็ ีกติกาการเลือกอยูว่ า่ ต้องเลือกในสิ่ งที่ดี
สาหรับตนเอง และดีสาหรับคนอื่นด้วยและเมื่อเลือกแล้วจะต้องมีความรับผิดชอบ
ต่อผลที่ตามมา
บรรจง จันทรสา (2522 : 252) สรุ ปแนวคิดของปรัชญาอัตถิภาวนิยมไว้ดงั นี้
(1) การดาเนินชีวติ ของมนุษย์แต่ละคนมีแบบอย่างของตนที่มนุษย์จะสร้าง
ขึ้นมา และมนุษย์สามารถเลือกการกระทาของตนเอง กาหนดแนวทางของชีวติ
และโชคชะตาของตนเอง
(2) โรงเรี ยนมีหน้าที่สร้างนักเรี ยนให้เป็ นตัวของตัวเอง มีอิสระในการเลือก
(3) โรงเรี ยนควรเน้นศีลธรรมและจริ ยธรรม แต่มิใช่การอบรม หากเป็ น
การหัดให้เลือกแนวทางจริ ยธรรมของตนเอง
(4) ฝึ กให้นกั เรี ยนรู้จกั ตนเอง สนใจตนเอง เลือกทางของตนเอง แต่ไม่ขดั
กับความสนใจของคนอื่นย่อมไม่ดีสาหรับตนเองด้วย
(5) จุดมุ่งหมายของการศึกษา คือ การสร้างคนให้รู้จกั ยอมรับและมีความ
รับผิดชอบในการเลือกของตน หรื อในสิ่ งที่ตนกระทานัน่ คือ ต้องสร้างวินยั ใน
ตนเอง
(6) เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวกับจริ ยธรรมนั้น จะต้องไม่แตกต่างไปจากที่นกั เรี ยน
จะต้องประพฤติปฏิบตั ิในโรงเรี ยนหรื อในชีวติ ประจาวัน
หลักสูตรตามแนวปรัชญานี้ เช่น หลักสูตรรายบุคคลโรงเรี ยนที่จดั การ
เรี ยนการสอนตามแนวปรัชญานี้ที่มีชื่อเสี ยง คือ โรงเรี ยน Summer Hill ใน
ประเทศอังกฤษ สาหรับในประเทศไทย คือ โรงเรี ยนหมู่บา้ นเด็ก จ.กาญจนบุรี
ก็ได้นาแนวคิดนี้มาใช้ในการเรี ยนการสอน
เมื่อได้ศึกษาถึงแนวความคิดของปรัชญาการศึกษากลุ่มต่าง ๆ แล้ว คงจะ
สามารถบอกได้วา่ ปรัชญาการศึกษานั้นมีความเกี่ยวข้องกับหลักสูตรอย่างแน่นแฟ้ น
โดยปรัชญาการศึกษาเป็ นตัวการที่สาคัญอย่างหนึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ให้เกิด
การตื่นตัวและให้รู้สึกอยากผจญภัยในการศึกษา ทาให้คิดมุ่งมัน่ จะแก้ปัญหาต่าง ๆ
ทั้งในด้านหลักสูตร แบบเรี ยน การสอน สื่ อการเรี ยน การวัดผลประเมินผล การ
วิจยั การแนะแนวการบริ หาร การใช้ระบบใหม่ ๆ ฯลฯ
สรุ ปได้วา่ ปรัชญาการศึกษาเป็ นตัวกาหนดแนวคิด ในการจัดการศึกษาอย่าง
กว้างขวาง สาหรับหลักสูตรนั้นกาหนดรายละเอียดสู่การปฏิบตั ิ เช่น ปรัชญา
การศึกษาจะวางแนวคิดคุณลักษณะของผูจ้ บการศึกษาอย่างกว้าง ๆ พอถึงระดับ
หลักสูตร คุณลักษณะของผูจ้ บการศึกษาจะถูกกาหนดไว้ในจุดหมายของหลักสูตร
หรื อปรัชญาการศึกษาในแนวคิดด้านลักษณะความรู้ที่มีคุณค่าที่ผเู้ รี ยนควรจะได้รับ
ระดับหลักสูตรก็จะนาแนวคิดนั้นมากาหนดในด้านเนื้อหาวิชา และประสบการณ์ที่
จะจัดให้แก่ผเู้ รี ยน เป็ นต้น ปรัชญาการศึกษาจึงเป็ นพื้นฐานในการจัดทาและพัฒนา
หลักสูตร
พืน้ ฐานด้ านเศรษฐกิจ
สุ ระ สนิทธานนท์ (2519 : 216) กล่าวว่า “คน” เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญใน
ทุกระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจจะเจริ ญก้าวหน้าได้เพียงไหน ขึ้นอยูก่ บั คุณภาพ
ของคนที่มีส่วนร่ วมในระบบเศรษฐกิจนั้น ๆ คุณภาพที่กล่าวนี้ได้แก่สติปัญญาของ
คนในการคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ความสามารถในการผลิตและประกอบอาชีพ ความ
ขยันหมัน่ เพียร ความรู ้จกั ประหยัดอดออม ความซื่ อสัตย์ ตลอดจนความรู ้สึกผิด
ชอบต่อกิจการงานต่อสังคม ฯลฯ
เมื่อคนสัมพันธ์กบั ระบบเศรษฐกิจและการศึกษาคือการพัฒนาคน ดังนั้นการจัด
การศึกษาจึงต้องพัฒนาคนให้เหมาะสมและทาความก้าวหน้าให้ระบบเศรษฐกิจนั้น
ด้วย การศึกษาจึงควรสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สาหรับประเทศไทยนั้นในช่วง
ทศวรรษที่ผา่ นมาประเทศไทยมุ่งเน้นการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม
มีการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการผลิตสิ นค้าอุตสาหกรรม กลายเป็ นรายได้
หลักของประเทศ ส่ งผลให้อตั ราการเติบโตของประเทศ และรายได้ต่อหัวของ
ประชากรเพิ่มขึ้น ทาให้เศรษฐกิจเจริ ญอย่างรวดเร็ ว สภาพความเจริ ญดังกล่าวเป็ น
ความเจริ ญที่ไม่ยงั่ ยืนเนื่องจากความมัน่ คงและมัง่ คัง่ มิได้เกิดมาจาก
คุณภาพของคนในสังคมไทยหรื อการพัฒนาเทคโนโลยีที่พ่ ึงตนเองได้ เมื่ อ
สถานการณ์ของโลกและเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงจึงทาให้เกิดวิกฤตการณ์ทาง
การเงินรุ นแรงและต่อเนื่องสภาพการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ นามาซึ่ งปั ญหามากมาย
ในปัจจุบนั
ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์ (2532 : 159) กล่าวว่า สภาพเศรษฐกิจเป็ น
พื้นฐานในการจัดทาและพัฒนาหลักสู ตร ดังนี้
1. หลักสู ตรควรส่ งเสริ ม ความรู ้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสภาพปั ญหา
เศรษฐกิจในสังคมของตน ตลอดจนแนวดาเนินการแก้ปัญหาที่จะส่ งเสริ มความ
เจริ ญทางเศรษฐกิจโดยกาหนดเป็ นเนื้อหาในรายวิชาต่าง ๆ มากน้อยลึกซึ้ งตาม
ความเหมาะสมของระดับการศึกษา
2. หลักสูตรควรส่ งเสริ มคุณสมบัติของคนในชาติ ให้สอดคล้องกับสภาพ
เศรษฐกิจ เช่น ความขยันหมัน่ เพียร ความซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน ความมุ่งมัน่ ทาการ
งานได้สาเร็ จ การรู้จกั ทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น มีทกั ษะในการจัดการ การทางานของกลุ่ม มี
ความรู้และทักษะในการใช้และการออมทรัพย์ มีความสามารถในการยังชีพให้เหมาะสม
กับสภาพแวดล้อม เป็ นต้น
3. หลักสูตรควรเตรี ยมกาลังคนให้เหมาะสมกับการทางานอาชีพสอดคล้องกับ
สภาพเศรษฐกิจในปั จจุบนั เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจไปสู่ประเทศอุตสาหกรรมใหม่น้ นั
ต้องการกาลังคนที่มีความรู้ความสามารถในทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่
ภาคอุตสาหกรรม แม้แต่ภาพเกษตรกรรมเนื่องจากคนมากขึ้น พื้นที่คงเดิมย่อมต้องใช้
เทคโนโลยีเข้าช่วยเพิ่มผลผลิต ขณะเดียวกันการเปลี่ยนเป็ นประเทศอุตสาหกรรมย่อม
ต้องการกาลังคนภาคบริ การสูงขึ้น หลักสูตรจึงต้องเตรี ยมกาลังคนให้เหมาะสมกับความ
ต้องการในสังคมเศรษฐกิจอย่างเพียงพอ
พืน้ ฐานด้ านสั งคมและวัฒนธรรม
ไพบูลย์ ช่างเรี ยน (2518 : 66) กล่าวว่า สังคมหมายถึง กลุม่ คนที่
ใหญ่ที่สุดที่มีสภาพหนักไปทางอยูร่ ่ วมกันอย่างถาวร ซึ่ งมักจะมีความสนใจ
ร่ วมกัน หรื อคล้าย ๆ กัน อยูภ่ ายใต้พ้นื ที่เดียวกัน มีวถิ ีชีวติ ร่ วมกันและมี
ความรู ้สึกว่าเป็ นกลุ่มเดียวกันผิดแผนจากกลุ่มอื่น
ฉวีวรรณ วรรณประเสริ ฐ (2522 : 5) กล่าวว่า องค์ประกอบของ
สังคม มี 4 ประการ ดังนี้
1. กลุ่มคน
2. อาณาเขต
3. การพบปะทางสังคม
4. การใช้วฒั นธรรมและสถาบันต่าง ๆ ทางสังคมร่ วมกัน
พระราชบัญญัติวฒั นธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช 2485 ได้กล่าวว่า
วัฒนธรรม หมายถึง ลักษณะที่แสดงความเจริ ญงอกงาม ความเป็ นระเบียบ
ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีงามของประชาชน
สุ พตั รา สุ ภาพ (2536 : 99) กล่าวว่า วัฒนธรรมมีความหมายครอบคลุมถึง
ทุกสิ่ งทุกอย่างอันเป็ นแบบแผนในความคิด และการกระทาที่แสดงออกถึงวิถี
ชีวิตของมนุษย์ในสังคมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรื อสังคมใดสังคมหนึ่ ง มนุษย์ได้คิด
สร้างระเบียบกฎเกณฑ์วิธีการในทางปฏิบตั ิ การจัดระเบียบตลอดจนระบบความ
เชื่อ ความนิยม ความรู ้และเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการควบคุมและใช้ประโยชน์
จากธรรมชาติ
เมื่อทุกคนต้องอยูใ่ นสังคม ต้องมีการพบปะกันทางสังคมมีการใช้วฒั นธรรม
และสถาบันสังคมร่ วมกัน ทุกคนในสังคมย่อมต้องเรี ยนรู ้วฒั นธรรมของสังคม
เพื่อจะได้อยูร่ ่ วมกันในสังคมได้อย่างสงบสุ ข การจัดการศึกษาจึงเป็ นสิ่ งจาเป็ นใน
สังคม และหลักสู ตรจะต้องสนองความต้องการลักษณะวัฒนธรรมทางสังคม
สภาพของสังคมและวัฒนธรรมจึงมีบทบาทกาหนดหลักสู ตร
บุญมี เณรยอด (2536 : 32 – 34) ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ของหลักสู ตรกับสังคม
จริ ยธรรม และวัฒนธรรมไว้ดงั นี้
1. หลักสูตรต้องสนองความต้องการของสังคม
2. หลักสูตรต้องสอดคล้องกับความเป็ นจริ งในสังคม
3. หลักสูตรจะต้องเน้นในเรื่ องความรักชาติของประชาชน
4. หลักสูตรจะต้องแก้ปัญหาให้กบั สังคมไม่ใช่สร้างปั ญหาให้กบั สังคม
5. หลักสูตรจะต้องปรุ งแต่งสังคม
6. หลักสูตรจะต้องสร้างความสานึกในเรื่ องของความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
7. หลักสูตรจะต้องชี้นาในการเปลี่ยนแปลงประเพณี และค่านิยม
8. หลักสูตรจะต้องถ่ายทอดวัฒนธรรมและจริ ยธรรม
9. หลักสูตรจะต้องปลูกฝังในเรื่ องความซื่อสัตย์และยุติธรรมในสังคม
10. หลักสูตรจะต้องให้ความสาคัญในเรื่ องผลประโยชน์ในสังคม
สาหรับลักษณะสังคมและวัฒนธรรมที่อาจนามาใช้ในการจัดทา และพัฒนา
หลักสู ตรนั้น วิชยั วงษ์ใหญ่ (2521 : 59 - 61) ได้แบ่งเป็ น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. ลักษณะสากล (Universal) คือ สิ่ งที่คนส่ วนใหญ่ยดึ ถือ หรื อ
ประพฤติปฏิบตั ิเหมือนกันเป็ นลักษณะทัว่ ๆ ไปในสังคมนั้น เช่น ความเชื่อ ภาษา
ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี จากแนวคิดนี้ การพัฒนาหลักสู ตรจะต้องคานึ งถึง
เอกภาพทางสังคม เช่น ภาษาไทย เป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับคนทุกคนในชาติ ที่จะทาให้
ติดต่อสื่ อสารกันได้เพื่อความเข้าใจอันดีของทุกคนฉะนั้นภาษาไทยจึงเป็ นสิ่ งที่ทุก ๆ
คนจะต้องเรี ยนรู ้ และฝึ กปฏิบตั ิ เป็ นต้น
2. ลักษณะเฉพาะพิเศษ (Specialties) คือ สิ่ งที่คนในสังคมเชื่อถือและ
กระทากันเป็ นพิเศษ เช่น การประกอบอาชีพ ความรู ้พิเศษของแต่ละกลุ่ม แต่ละอาชีพ
การพัฒนาหลักสู ตรและการสอนตามแนวคิดประการที่สองนี้ จะต้องพิจารณาถึงความ
แตกต่างของแต่ละท้องถิ่นแต่ละชุมชนว่ามีความเชื่อถือ ความต้องการที่แตกต่างกันไป
การจัดเนื้อหาสาระการเรี ยนการสอนควรจะแตกต่างกันไป เพื่อส่ งเสริ มให้ชุมชนและ
ท้องถิ่น เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาหลักสู ตรให้มากขึ้น และส่ งเสริ มความเจริ ญใน
อาชีพเศรษฐกิจและแต่ละสังคม ให้พฒั นาไปสู่ สังคมที่กาลังเปลี่ยนแปลงและสนอง
ความต้องการของชุมชนนั้น
3. ลักษณะเลือกสรร (Alternative) ซึ่ งเป็ นวัฒนธรรมที่กาลัง
เปลี่ยนแปลงการพัฒนาหลักสู ตรและการสอน จะต้องเปิ ดโอกาสให้
ผูเ้ รี ยนได้มีทางเลือกในการเรี ยนของเขา เพราะการมีโอกาสในการเลือก
เกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ จะมีส่วนส่ งเสริ มพัฒนาความมีอิสรเสรี และความคิด
ริ เริ่ มสร้างสรรค์ ทุกคนไม่จาเป็ นต้องเรี ยนรู ้สิ่งที่เหมือน ๆ กัน ในเวลา
เดียวกันเป็ นการให้โอกาสผูเ้ รี ยน มีเสรี ภาพในการเลือกเรี ยนได้อย่าง
อิสระตามความถนัด ความต้องการ และความสนใจของแต่ละบุคคล
เพื่อเป็ นความเป็ นตัวของตัวเองได้ในบางโอกาส
พืน้ ฐานด้ านการเมืองการปกครอง
บรรพต วีระสัย และคณะ (2525 : 8) กล่าวว่า การเมือง เป็ นเรื่ อง
ความสัมพันธ์ของมนุษย์ในเรื่ องการบังคับบัญชา และถูกบังคับบัญชาการควบคุม
และถูกควบคุม การเป็ นผูป้ กครองและถูกปกครอง และพฤติกรรม หรื อกิจกรรมที่มี
ผลกระทบกระเทือนต่อคนส่ วนใหญ่ ในสังคมก็เป็ นการเมือง ดังนั้นการเมืองจึงเป็ น
เรื่ องของทุกคนในสังคมที่จะต้องเกี่ยวข้องด้วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่พน้ ทุกคนจึง
จาเป็ นต้องเรี ยนรู ้เข้าใจและปฏิบตั ิตนได้อย่างถูกต้องตามลักษณะของระบบการเมือง
การปกครองในสังคมของตน
ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ น
ประมุข การปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้นต้องเป็ นการปกครองที่รัฐบาลเป็ น
ของประชาชน โดยประชาชนและเพื่อประชาชน จะเห็นได้วา่ ประชาชนเป็ นหัวใจ
สาคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เพราะอุดมการณ์ของประชาธิปไตย
คือ ประชาชนเป็ นผูป้ กครองของตนเอง การที่จะทาให้ประชาชนเป็ นผูป้ กครอง
ตนเองได้น้ นั จาเป็ นต้องการให้การศึกษา ให้ประชาชนมีความสามารถและ
คุณสมบัติที่จะปกครองตนเองได้
สมพงษ์ เกษมสิ น (2518 : 66) กล่าวว่า การจัดการศึกษาจะต้องทาให้ประชาชน
เชื่อมัน่ ดังนี้
1. ประชาชนทุกคนเป็ นเจ้าของประเทศ
2. ทุกคนมีส่วนรับผิดชอบในการดารงอยูแ่ ละความเจริ ญของชาติ
3. ประชาชนมีสิทธิและสามารถใช้สิทธิต่าง ๆ โดยสุ จริ ตอย่างเต็มที่
4. ประชาชนทุกคนมีหน้าที่สาคัญ จะต้องทาให้ตนเองมีความรู ้ความสามารถ
เพื่อที่จะดารงชีวิตได้ โดยไม่เป็ นภาระแก่สังคม และสามารถรักษาผลประโยชน์
ส่ วนรวมของสังคมไว้
5. แต่ละคนมีคุณค่า และความสาคัญเท่าเทียมกัน
6. รัฐบาลโดยประชาชนจะเกิดขึ้นได้ ก็ได้ที่แต่ละคนมีส่วนเลือกตัวแทนเข้าไป
เป็ นรัฐบาล แสดงความคิดเห็น รู ้จกั เสนอแนะสิ่ งที่เป็ นประโยชน์ต่อประเทศชาติ
ไม่นิ่งดูดาย เมื่อเห็นว่าสิ่ งใดทาให้ชุมชน สังคม และชาติตอ้ งเสี ยประโยชน์ จะต้อง
รี บหาทางปั ดเป่ ารวมทั้งไปละเว้นการใช้สิทธิโดยชอบของตน
7. ทรัพยากรทั้งปวงในประเทศเป็ นสมบัติของประชาชน และจะต้องใช้
ทรัพยากรเหล่านั้นไปในแนวทางที่เป็ นคุณค่าแก่ประชาชนเป็ นส่ วนรวม
8. กลไกของรัฐมีไว้เพื่อคุม้ ครอง รักษาสิ ทธิอนั ชอบธรรมของประชาชน
และเพื่อให้บริ การอันจาเป็ นในการดารงชีวติ ของประชาชนด้วย
บันเทิง ศรี จนั ทราพันธุ์ (2519 : 245) กล่าวว่า การศึกษาจึงมีบทบาทในการ
สร้างสรรค์คนให้เป็ นนักประชาธิปไตย หลักสูตรการศึกษาต้องให้ความรู้ความ
เข้าใจ ในเรื่ องการเมืองและการปกครองประเทศ ผูเ้ กี่ยวข้องในการจัดทาและ
พัฒนาหลักสูตร นักการศึกษา ครู อาจารย์ ควรจะได้พิจารณาหลักสูตรในเรื่ อง
ต่อไปนี้
1. หลักสูตรเกี่ยวกับการปกครอง การเมืองของประเทศ ไม่ควรจะพิสดาร
เกินไปหรื อไกลเกินตัวเด็กแต่ละระดับการศึกษา
2. หลักสูตรควรปลูกฝังให้เด็กปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดี และตระหนักว่า
ตนเองเป็ นหน่วยหนึ่งของสังคม ควรที่จะทาประโยชน์ให้แก่สงั คม
3. หลักสูตรควรเน้นหลักไปในทางให้ได้ผลทางปฏิบตั ิ เช่น การจัดรู ปรัฐบาล
นักเรี ยนขึ้นในโรงเรี ยน มิใช่ผลแต่ทางทฤษฎีและการท่องจา
4. หลักสูตรการปกครอง ควรช่วยกระตุน้ ให้เกิดความรับผิดชอบ ต่อการ
ปกครองในอนาคต
5. หลักสูตรควรช่วยให้เด็กได้เข้าใจแก่นแท้ ของการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย “การปกครองโดยยึดถือเสี ยงส่ วนใหญ่ แต่ตอ้ งคานึงถึงสิ ทธิของ
เสี ยงส่ วนน้อย” ด้วยเสี ยงส่ วนใหญ่ที่ยดึ ถือนั้น ควรเป็ นเสี ยงที่เกิดจากการใช้
ปั ญญาอย่างมีเหตุผล ซึ่งเป็ นประโยชน์แก่สงั คมทั้งประเทศมิใช่เพื่อประโยชน์
เฉพาะตน หรื อสังคมส่ วนน้อยที่ตนเองจะมีส่วนได้รับผลประโยชน์เสี ยงส่ วนใหญ่
ที่ถูกยอมรับนั้นจะต้องคานึงถึงสิ ทธิของเสี ยงส่ วนน้อยจึงจะนับว่า เป็ นการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริ ง
สรุปได้ ว่าระบอบการเมืองและการปกครองของประเทศ จะต้องนาไปกาหนด
ไว้ในหลักสูตรในรู ปของจุดมุ่งหมาย เนื้อหา ประสบการณ์ และกระบวนการเรี ยน
การสอน เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้มีคุณลักษณะพลเมืองดี เหมาะสมกับสังคมของตน
พืน้ ฐานด้ านจิตวิทยา
จิตวิทยา หมายถึง วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งซึ่งเกี่ยวกับพฤติกรรมของ
มนุษย์และสัตว์ในการสร้างหลักสูตรขึ้นนั้นก็เพื่อใช้ในการให้การศึกษาแก่
คน ผูส้ ร้างหลักสูตรจึงควรให้ความสนใจพฤติกรรมโดยธรรมชาติของคน
หรื อผูเ้ รี ยนที่จะศึกษาตามหลักสูตรนั้น การสร้างหลักสูตรที่สอดคล้องกับ
หลักจิตวิทยา จะช่วยให้หลักสูตรนั้นเหมาะสมสอดคล้องกับธรรมชาติ
ผูเ้ รี ยน สาหรับบทบาทของจิตวิทยาที่มีต่อหลักสูตรอาจแบ่งได้ 3 ด้าน คือ
1. บทบาทของจิตวิทยาต่อจุดมุ่งหมายของหลักสูตร เมื่อจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตรเป็ นสิ่ งกาหนดคุณลักษณะของผลผลิตหรื อผูจ้ บหลักสูตร การ
กาหนดคุณลักษณะนั้นย่อมจะต้องคานึงถึงความพร้อมพัฒนาการของวัย
ผูเ้ รี ยนด้วย เพื่อให้จุดมุ่งหมายของหลักสูตรสอดคล้องกับวัยผูเ้ รี ยนไม่เป็ น
การฝื นธรรมชาติ
2. บทบาทของจิตวิทยาที่มีต่อนักการศึกษา ในด้านนี้
นักการศึกษาจะนาความรู้ทางจิตวิทยาไปศึกษาเด็ก และนาข้อมูล
ที่ได้มาช่วยในการตัดสิ นใจ เลือกวิธีสอน วิธีการปกครอง
การจัดชั้นเรี ยน การกาหนดเนื้อหาและประสบการณ์ ตลอดจน
การสร้างหนังสื อแบบเรี ยน แบบฝึ กหัดและหนังสื ออ่าน
ประกอบ เป็ นต้น
3. บทบาทของจิตวิทยาที่มีต่อครู ผสู ้ อน ในด้านนี้ครู
สามารถใช้ความรู้ ข้อคิด และวิธีการทางจิตวิทยาเป็ นเครื่ องช่วย
ในการรู้จกั ธรรมชาติของผูเ้ รี ยน วิธีการเรี ยนของนักเรี ยนและ
นามาใช้ในการเตรี ยมการสอน การจัดกระบวนการเรี ยนการ
สอนของครู
ข้อควรคานึงถึงในการกาหนดหลักสู ตรให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการ
(1) พัฒนาการของเด็กแต่ละวัยมีลกั ษณะเฉพาะและแต่ละวัยจะแตกต่าง
การกาหนดหลักสูตรจะต้องคานึงถึงวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน
(2) การกาหนดหลักสูตร ควรคานึงถึงผลของพัฒนาการในทุกด้านของ
ผูเ้ รี ยน ทั้งในด้านกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
(3) ควรกาหนดขอบเขต เนื้อหาสาระ และประสบการณ์ให้กว้างขวางใน
ระยะต้นของการศึกษา แล้วค่อย ๆ ละเอียดลึกซึ้งต่อไป
(4) กาหนดเนื้อหาสาระ หรื อประสบการณ์อย่างมีระบบ มีลาดับขั้น
สอดคล้องกับพัฒนาการเด็ก
(5) ควรคานึงถึงความต่อเนื่องของประสบการณ์
(6) ควรคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและทางเพศ
ข้อควรคานึงถึงในการกาหนดหลักสูตรให้สอดคล้องกับจิตวิทยาการเรี ยนรู้
(1) สภาพที่ช่วยให้เกิดการเรี ยนรู้ ย่อมประกอบด้วยสถานการณ์ที่เป็ นปั ญหา
(2) การเรี ยนรู้เกิดจากการแก้ปัญหาและมีการกระทากิจกรรม
(3) การเรี ยนเป็ นการสนองทั้งตัวเด็ก มิใช่ส่วนใดส่ วนหนึ่ง
(4) การเรี ยนนั้นผูเ้ รี ยนจะต้องสัมพันธ์กบั สิ่ งแวดล้อม
(5) ความคิดริ เริ่ มเป็ นส่ วนประกอบของการเรี ยน
(6) การเรี ยนจะมีผลดี เมื่อมีความพร้อม (วัย ความต้องการ ความถนัด
ความสนใจ)
(7) การเรี ยนควรเป็ นสิ่ งที่มีความหมาย และเรี ยนจากส่ วนรวมไปหาส่ วนย่อย
(8) แรงจูงใจช่วยให้เกิดความพร้อมในการเรี ยน
พืน้ ฐานด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู ้สะสมเกี่ยวกับธรรมชาติ
และประสบการณ์ธรรมชาติ อันเป็ นผลมาจากการศึกษาค้นคว้า
อย่างเป็ นระเบียบแบบแผนรวมทั้งกระบวนการหาความรู ้ทาง
วิทยาศาสตร์ ซึ่ งความหมายของวิทยาศาสตร์จะครอบคลุม
องค์ประกอบดังแผนภูมิที่ 8
แผนภูมทิ ี่ 8 ความหมายของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี หมายถึง การนาวิทยาศาสตร์ซ่ ึงเป็ นความรู้ที่ได้จาก
การค้นคว้าค้นพบมาประยุกต์ใช้ตามต้องการของมนุษย์เพื่อแก้ปัญหาที่
เกิดขึ้น และเพื่ออานวยความสะดวกในการดารงชีวติ อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ซึ่งการนาไปใช้จะต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบและ
ใช้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับวัฒนธรรมของท้องถิ่น
เทคโนโลยี ประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ส่ วน ได้แก่ ส่ วนที่เป็ น
นามธรรมเป็ นความรู้ ความคิดที่จะนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มา
ประยุกต์สร้างเครื่ องมืออุปกรณ์หรื อวัสดุในการทางานหรื อแก้ปัญหา
และอีกส่ วนได้แก่ส่วนที่เป็ นรู ปธรรม ได้แก่ เครื่ องมือ อุปกรณ์ หรื อ
วัสดุที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการทางานแก้ปัญหาการดารงชีวติ อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
สุ นนั ท์ บุราณรมย์และคณะ (2542 : 5 – 7) กล่าวถึงประโยชน์
ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไว้ดงั นี้
1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาการด้านโภชนาการ คือ
มนุษย์มีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่ างกาย รู ้จกั การเลือก
ซื้ อ จัดหา เพื่อการบริ โภคที่ถูกต้อง ทาให้มนุษย์มีพฒั นาการทางด้านร่ างกาย และ
สติปัญญาเจริ ญขึ้นเป็ นลาดับ หลีกเลี่ยงอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น อาหารสุ ก ๆ
ดิบ ๆ อาหารที่เป็ นพิษ อาหารที่ใส่ สารเคมีโดยไม่จาเป็ นเหล่านี้เป็ นต้น
2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้การพัฒนาที่อยูอ่ าศัยที่ดีข้ ึน สมัยโบราณ
มนุษย์อาศัยอยูใ่ นถ้ า ใต้ตน้ ไม้ หรื อสิ่ งก่อสร้างที่สร้างขึ้นมาอย่างง่าย ๆ จากวัสดุที่
หาได้ เช่น ดอกไม้ ใบตอง ต่อมาได้พฒั นาการก่อสร้างให้มีความคงทนแข็งแรง
ขึ้นจนมีความสะดวกสบาย ปลอดภัย และถูกต้องตามหลักสุ ขอนามัย
3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาด้านการแพทย์และ
สาธารณสุ ข มนุษย์สมัยก่อนเมื่อเกิดโรคระบาด เช่น อหิ วาตกโรค ฝี ดาษ ทาให้
มนุษย์ลม้ ตายเป็ นจานวนมาก แต่ในปั จจุบนั มนุษย์มีการพัฒนาด้านการแพทย์และ
สาธารณสุ ข ทาให้สามารถควบคุมและสามารถรักษาโรคติดต่อเหล่านี้ได้ จนโรค
บางโรคหายไปจากโลกนี้ได้ การวินิจฉัยด้วยเครื่ องมือที่ทนั สมัย เช่น อุลตราซาวน์
เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ ทาให้การวินิจฉัยโรคถูกต้อง แม่นยา
ทาให้แพทย์สามารถวางแผนวิธีการรักษาโรคได้ถกู ต้องและมี
ประสิ ทธิภาพ การรักษาโรคมีการพัฒนาเจริ ญขึ้น เช่น การผลิตยา การ
ผ่าตัดด้วยแสงเลเซอร์ การผ่าตัดโดยใช้คอมพิวเตอร์ การรักษาโรคด้วย
รังสี การรักษาโดยใช้ยาที่มีคุณภาพ สาหรับวิธีการป้ องกันโรคมนุษย์ก็
สามารถผลิตวัคซีนป้ องกันโรคต่าง ๆ ได้ เช่น วัคซีนป้ องกันโรคตับ
อักเสบ วัคซีนป้ องกันโรคโปลิโอเหล่านี้เป็ นต้น
4. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาด้านเครื่ องนุ่งห่มที่
ทันสมัย และเหมาะสมกับร่ างกาย ซึ่งต่างจากมนุษย์สมัยก่อนที่ใช้ใบไม้
เปลือกไม้ หนังสัตว์เป็ นวัสดุเพื่อทาเป็ นเสื้ อผ้า ต่อมามนุษย์รู้จกั เส้นใย
ต่าง ๆ จากฝ้ าย จากรังไหมและอื่น ๆ มาตัดเย็บเป็ นเสื้ อผ้าด้วย และเมื่อ
มนุษย์สามารถผลิตเส้นใยสังเคราะห์ทาให้สามารถผลิตเสื้ อผ้าด้วย
เครื่ องจักรที่ทนั สมัยและสามารถผลิตได้ปริ มาณมากมายจนเกิดความ
ต้องการของมนุษย์ในปั จจุบนั
5. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาด้านการสื่ อสารโทรคมนาคม
ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพจนได้สมญานามว่า “ยุคโลกาภิวตั น์” คือ มนุษย์สามารถ
ติดต่อสื่ อสารถึงกันและกันทัว่ ทั้งโลกได้อย่างรวดเร็ ว และถูกต้องโดยใช้วิธีการ
สื่ อสารดาวเทียม การสื่ อสารด้วยใยแก้วนาแสงทาให้ระบบสื่ อสารด้วยโทรศัพท์
วิทยุโทรทัศน์ โทรเลข โทรสาร และอื่น ๆ เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ มีความ
ถูกต้องแม่นยาและรวดเร็ ว
6. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาด้านการคมนาคมและการ
ขนส่ ง การคมนาคมและการขนส่ งในสมัยโบราณมีปัญหามากมาย เช่น ถนนไม่มี
คุณภาพ ยานพาหนะล้าสมัยแต่ในปั จจุบนั ถนนหนทาง ยานพาหนะได้พฒั นาไปได้
อย่างมีคุณภาพ เช่น รถไฟฟ้ า เครื่ องบิน เรื อเดินสมุทร ยานพาหนะเหล่านี้ ช่วยให้
การคมนาคมและการขนส่ งมีความสะดวก ปลอดภัยและรวดเร็ ว
7. วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรื อวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้วีการทางวิทยาศาสตร์
ซึ่ งประกอบด้วยปั ญหา การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการสรุ ปผล ซึ่ ง
การแก้ปัญหาเป็ นขั้นตอนดังนี้ทาให้มนุษย์หาวิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
8. วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์เกิดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ คือ ทาให้มนุษย์เป็ น
คนมีเหตุผล มีความอยากรู ้อยากเห็น มีความใจกว้าง มีความเพียรพยายาม มีความ
ซื่ อสัตย์สุจริ ต
9. วิทยาศาสตร์ช่วยให้เข้าใจปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งจะทาให้มนุษย์รู้จกั
กระบวนการที่จะทาให้โลกเกิดความสมดุลตามธรรมชาติ และทาให้มนุษย์
ตระหนักที่จะไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อมเหล่านี้ เป็ นต้น
เมื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีประโยชน์ต่อมนุษย์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
การจัดทา และพัฒนาหลักสู ตรซึ่ งต้องนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาบรรจุไว้ใน
หลักสู ตร อย่างน้อย 2 ลักษณะ ดังนี้
1. นาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนและสังคมมากาหนดใน
เนื้อหาของหลักสู ตร
2. นากระบวนการหาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้หรื อ
กิจกรรมการเรี ยนการสอน เพื่อสร้างนิสัยในการแก้ปัญหาและการสร้างเจตคติทาง
วิทยาศาสตร์
เนือ้ หา 2.4 เรื่อง รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตร
รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตร จะแสดงแนวคิดเพื่อเป็ นแนวทางการดาเนินการ
พัฒนาหลักสู ตรอย่างเป็ นระบบ รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตรที่เหมาะสมย่อมจะ
ส่ งผลถึงคุณภาพของหลักสู ตรอย่างเป็ นระบบ ดังนั้นจึงควรศึกษาทาความเข้าใจ
รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตร ที่นกั พัฒนาหลักสู ตรได้เสนอแนวทางไว้ เพื่อ
เปรี ยบเทียบ ปรับปรุ ง กาหนดรู ปแบบที่เหมาะสมกับสภาพความเป็ นจริ งของชีวิต
และสังคมของเรา
1. รู ปแบบของไทเลอร์
ไทเลอร์ (Tyler. 1971 : 1 – 2) กล่าวว่า ในการพัฒนาหลักสู ตรนั้นควรจะ
ตอบคาถามพื้นฐานได้ 4 ประการ คือ
(1) มีจุดมุ่งหมายทางการศึกษาอะไรบ้างที่โรงเรี ยนตั้งใจจะก่อให้เกิดแก่ผเู ้ รี ยน
(2) มีประสบการณ์ทางการศึกษาอะไรบ้างที่โรงเรี ยนควรจัดขึ้นเพื่อช่วยให้
บรรลุจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
(3) จะจัดประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไรจึงจะมีประสิ ทธิภาพ
(4) ประเมินผลประสบการณ์อย่างไรจึงจะตัดสิ นใจได้วา่ บรรลุถึงจุดมุ่งหมาย
ที่กาหนดไว้
หากพิจารณาคาถามดังกล่าวมา จะเห็นว่าเป็ นคาถามที่แสดงองค์ประกอบของ
หลักสูตรและยังแสดงลาดับขั้นกระบวนการพัฒนาหลักสูตรด้วย เพราะไทเลอร์ เห็นว่า
จะต้องตอบคาถามเรี ยงลาดับไปจากข้อแรกซึ่งเป็ นข้อที่สาคัญและเป็ นหลักในการตอบ
คาถามข้อต่อ ๆ มา รู ปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์อาจจัดเป็ นขั้นตอนได้ดงั นี้
1.1 กาหนดจุดมุ่งหมาชัว่ คราว รู ปแบบของการพัฒนาหลักสูตร
ของไทเลอร์น้ นั “ส่ วนที่ได้รับความสนใจมากที่สุดจากนักการศึกษา ได้แก่ ส่ วนแรก
ของรู ปแบบที่กล่าวถึงการเลือกสรรจุดมุ่งหมาย” (ธวัชชัย ชัยจิรฉายากุล 2527 : 150)
โดยครั้งแรกจะเป็ นการกาหนดจุดหมายชัว่ คราวขึ้นก่อน จุดหมายชัว่ คราวของหลักสูตร
นั้นจะกาหนดขึ้นโดยอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับผูเ้ รี ยน สังคม และเนื้อหาวิชาเป็ นพื้นฐาน
1.2 กาหนดจุดมุ่งหมายที่แน่นอน จุดมุ่งหมายที่แน่นอนเกิด
จากการนาเอาจุดมุ่งหมายชัว่ คราวไปตรวจสอบ กลัน่ กรองด้วยทฤษฎีการเรี ยนรู้
ปรัชญาการศึกษา และปรัชญาสังคม แล้วปรับปรุ งให้เหมาะสมสอดคล้องกัน
1.3 เลือกประสบการณ์การเรี ยนรู ้
1.4 กาหนดประสบการณ์การเรี ยนรู ้
1.5 กาหนดการประเมินผล
รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตรของไทเลอร์ มีกระบวนการดังแผนภูมิที่ 9
แผนภูมิที่ 9 รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตรของไทเลอร์
แหล่ งข้ อมูลนามากาหนดจุดมุ่งหมายชั่วคราว
ผู้เรียน
สั งคม
ตรวจสอบกลั่นกรอง
จุดมุ่งหมายชั่วคราว
จุดมุ่งหมายชั่วคราว
จุดมุ่งหมายแน่ นอน
ทฤษฎีการเรียนรู้
เลือกประสบการณ์
การเรียนรู้
ปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาสั งคม
จัดประสบการณ์
การเรียนรู้
กาหนดการประเมินผล
เนือ้ หาวิชา
องค์ ประกอบ
หลักสู ตร
2. รู ปแบบของทาบา
ทาบา (Taba. 1962 : 12) ได้เสนอกระบวนการพัฒนาหลักสู ตรเป็ นขั้น ๆ ดังนี้
2.1 สารวจความต้องการและความจาเป็ นต่าง ๆ ของสังคม
2.2 กาหนดจุดมุ่งหมายที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม
2.3 คัดเลือกเนื้อหาสาระ หรื อวิชาความรู ้ที่จะนามาสอนและสอดคล้องกับ
จุดมุ่งหมายที่ต้ งั ไว้
2.4 จัดระเบียบ จัดลาดับ แก้ไขปรับปรุ งเนื้อหาสาระที่คดั เลือกไว้
2.5 คัดเลือกประสบการณ์เพื่อการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ซึ่ งจะจามาเสริ มเนื้อหาสาระ
ให้สมบูรณ์
2.6 จัดระเบียบ จัดลาดับ แก้ไขปรับปรุ งประสบการณ์ต่าง ๆ ในอันที่จะช่วย
ให้ผเู ้ รี ยนเกิดความคิดรวบยอดและเจตคติที่ดี เป็ นขั้นตอนการวางแผนแปลง
เนื้อหาที่จะต้องสอนไปสู่ ประสบการณ์ในการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสม
2.7 กาหนดสิ่ งที่จะต้องประเมิน จากเนื้อหาสาระ
ประสบการณ์ที่กาหนดไว้น้ นั ตลอดจนกาหนดวิธีหรื อแนวทางในการ
ประเมินผล
แนวคิดการพัฒนาหลักสู ตรของทาบาจะเหมือนกับลาดับขั้นของ
ไทเลอร์เป็ นส่ วนใหญ่และจาก “กระบวนการพัฒนาหลักสู ตรที่ทาบาได้
เสนอไว้ 7 ขั้น เป็ นกระบวนการที่มีความเกี่ยวข้องเฉพาะการพัฒนา
เอกสารหลักสู ตรเท่านั้น ไม่ได้ครอบคลุมถึงการใช้หลักสู ตรและการ
ประเมินผลหลักสู ตรเลย” (สงัด อุทรานันท์ 2527 : 37)
รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตรของทาบามีกระบวนการดัง
แผนภูมิที่ 10
แผนภูมิที่ 10 รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตรของทาบา
สารวจความต้องการและความจาเป็ นของสังคม
กาหนดจุดมุ่งหมาย
คัดเลือกเนื้อหา
จัดระเบียบลาดับเนื้อหา
กาหนดประสบการณ์การเรี ยนรู้
จัดระเบียบลาดับประสบการณ์การเรี ยนรู้
กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการประเมินและวิธีประเมินผล
3. รู ปแบบของสงัด อุทรานันท์
สงัด อุทรานันท์ (2527 : 38) ได้เสนอว่ากระบวนการพัฒนา
หลักสูตร ควรมี 7 ขั้น ดังนี้
3.1 วิเคราะห์ขอ้ มูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาหลักสูตร
3.2 กาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
3.3 คัดเลือกและจัดเนื้อหาสาระและประสบการณ์การเรี ยนรู้
3.4 กาหนดมาตรการวัดและประเมินผล
3.5 นาหลักสูตรไปใช้
3.6 ประเมินผลหลักสูตร
3.7 ปรับปรุ งแก้ไขหลักสูตร
สาหรับการแก้ไขปรับปรุ งหลักสู ตรนั้น จะต้องปรับปรุ งที่
ขั้นตอนใดของกระบวนการพัฒนาหลักสู ตรก็ได้ แต่เมื่อเริ่ มปรับปรุ งที่
ขั้นตอนใดแล้ว จะต้องพิจารณาปรับปรุ งขั้นตอนอื่นที่มีผลกระทบกัน
ทั้งหมดด้วย
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามรู ปแบบของ สงัด อุทรานันท์
จะมีความต่อเนื่องสัมพันธ์กนั อย่างเป็ นวัฏจักร ดังแผนภูมิที่ 11
แผนภูมิที่ 11 วัฎจักรของกระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
วิเคราะห์
ข้ อมูลพืน้ ฐาน
ประเมินผล
การใช้ หลักสู ตร
กาหนด
จุดมุ่งหมาย
ปรับปรุง
แก้ ไข
นาหลักสู ตร
ไปใช้
คัดเลือกและ
จัดเนือ้ หาสาระ
กาหนดมาตรการ
วัดและประเมินผล
ที่มา : สงัด อุทรานันท์ (2527 : 39)
4. รู ปแบบของเซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และลีวสิ
เซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และลีวสิ กล่ าวว่ าระบบหลักสู ตรมี
องค์ ประกอบดังแผนภูมิที่ 12
แผนภูมิที่ 12 องค์ ประกอบของระบบหลักสู ตรของเซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และลีวสิ
แรงผลักดันภายนอก
- ข้อบัญญัติกฎหมาย
- งานวิจยั
- ความรู้เฉพาะสาขา วิชาชีพ
ผูร้ ับ
การศึกษา
จุดมุ่งหมาย
และวัตถุประสงค์
การออกแบบหลักสูตร
การนาหลักสูตรไปใช้
กระบวนการประเมินผล
พื้นฐานของหลักสูตร
- สังคม
- ผูเ้ รี ยน
- ความรู้วชิ าการ
ที่มา : เซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และลีวสิ (1981 : 29)
ความก้าวหน้า
ผูไ้ ด้รับ
การศึกษา
จากแผนภูมิที่ 12 กระบวนการของหลักสู ตรก็คือกระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
จึงสรุ ปได้วา่ กระบวนการพัฒนาหลักสู ตรของเซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และลีวิส มีดงั นี้
4.1 กาหนดจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์หลักสู ตร
4.2 ออกแบบหลักสู ตร
4.3 นาหลักสู ตรไปใช้
4.4 การประเมินผล
ในกระบวนการพัฒนาหลักสู ตรนั้น เซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และลีวิส เห็นว่าสิ่ ง
ที่มีอิทธิพลในกระบวนการพัฒนาหลักสู ตรมี 2 ประการ คือ พื้นฐานของหลักสูตร ได้แก่
สังคมผูเ้ รี ยน และความรู ้ทางวิชาการ และอีกประการคือแรงผลักดันภายนอก ได้แก่
ข้อบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง งานวิจยั และความรู ้เฉพาะสาขาวิชาชีพ ดังนั้นการ
พัฒนาหลักสู ตรจึงต้องคานึงถึงและให้สอดคล้องกับสิ่ งที่มีอิทธิพลดังกล่าว
กระบวนการพัฒนาหลักสู ตรของ เซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และลีวิส สามารถขยายความได้
ดังแผนภูมิที่ 13
แผนภูมิที่ 13 กระบวนการพัฒนาหลักสู ตรของ เซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และลีวสิ
จุดมุ่งหมาย
และ
วัตถุประสงค์
การออกแบบหลักสู ตร
- รับผิดชอบวางแผน
หลักสู ตร เป็ นผูต้ ดั สิ นใจ
ออกแบบหลักสู ตร
- นโยบายการเมืองและ
สังคมมีผลต่อการตัดสิ นใจ
ออกแบบหลักสู ตรในลาดับ
สุ ดท้าย
การนาหลักสู ตรไปใช้
- ผูส้ อนเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
ตัดสิ นใจเกี่ยวกับการเรี ยน
การสอน
- วางแผนหลักสู ตร
เสนอแนะวิธีสอนต่าง ๆ
ให้เลือก พร้อมทั้ง
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ
ทรัพยากรสื่ อการจัดการ
เป็ นการส่ งเสริ มเสรี ภาพ
และความยืดหยุน่ แก่ครู และ
ผูเ้ รี ยน
การประเมินผลหลักสู ตร
- ผูส้ อนเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
เกี่ยวกับการดาเนินงาน
ประเมินผลความก้าวหน้า
ของผูเ้ รี ยน
- ผูร้ ับผิดชอบการพัฒนา
หลักสู ตรเป็ นผูป้ ระเมินแผน
หลักสู ตร
- ข้อมูลที่ได้จากการ
ประเมินผล จะเป็ นพื้นฐาน
การตัดสิ นใจพัฒนา
หลักสู ตรครั้งต่อไป
ที่มา : เซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และลีวสิ
5. รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตรแบบครบวงจร
วิชยั วงษ์ใหญ่ (2530 : 62) ได้เสนอรู ปแบบการพัฒนาหลักสูตรที่เป็ น
ระบบ มีกระบวนการทางานต่อเนื่อง ครบวงจร โดยกล่าวว่า กระบวนการพัฒนา
หลักสูตรประกอบด้วย 3 ระบบ คือ ระบบร่ างหลักสูตร ระบบการนาหลักสูตรไปใช้
และระบบการประเมินหลักสูตร
กิจกรรมของแต่ละระบบ มีดงั นี้
1. ระบบร่ างหลักสูตร เป็ นกระบวนการของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เรี ยกว่า
สิ่ งกาหนดหลักสูตร การกาหนดรู ปแบบหลักสู ตร ตรวจสอบคุณภาพหลักสู ตร และ
ปรับแก้ก่อนนาไปใช้
2. ระบบการใช้หลักสูตร เป็ นกระบวนการของการอนุมตั ิหลักสูตร
การวางแผน การใช้หลักสู ตร และการนาหลักสู ตรไปใช้จริ งในโรงเรี ยน ซึ่ งเป็ นขั้นตอน
ของการบริ หารหลักสูตร
3. ระบบการประเมินหลักสูตร เป็ นขั้นสุ ดท้ายของกระบวนการ ประกอบด้วย
การวางแผนประเมิน การเก็บข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล และรายงานข้อมูล ข้อมูลที่ได้จาก
การประเมินผลหลักสู ตรจะย้อนกลับไปปรับปรุ งแก้ไขกระบวนการของระบบต่าง ๆ ต่อไป
กระบวนการของการพัฒนาหลักสูตรแบบครบวงจรมีลกั ษณะดังแผนภูมิที่ 14
แผนภูมิที่ 14 รูปแบบการพัฒนาหลักสู ตรแบบครบวงจรของ วิชัย วงษ์ ใหญ่
ระบบร่ างหลักสูตร
1.
2.
3.
4.
สิ่ งกาหนดหลักสู ตร
วิชาการสังคมเศรษฐกิจ
การเมือง
รู ปแบบของหลักสู ตร
หลักการ โครงสร้าง
องค์ประกอบหลักสู ตร
เนื้อ ประสบการณ์การ
เรี ยนการประเมินผล
ตรวจสอบคุณภาพ
หลักสู ตรผูเ้ ชี่ยวชาญ
การสัมมนาทดลองนา
ร่ องการวิจยั
ปรับแก้ก่อนใช้
คณะกรรมการ
ระบบการใช้หลักสูตร
1.
2.
3.
ที่มา : วิชัย วงษ์ ใหญ่ (2530 : 79)
การอนุมตั ิหลักสู ตร หน่วยงาน
กระทรวง ทบวง
การวางแผนการใช้หลักสู ตร
ประชาสัมพันธ์หลักสู ตรเตรี ยมความ
พร้อมของบุคลากร งบประมาณ
วัสดุหลักสู ตร บริ การสนับสนุน
อาคารสถานที่ ระบบบริ หาร การ
อบรมเชิงปฏิบตั ิการ การติดตามผล
การใช้หลักสู ตร
การบริ หารหลักสู ตร การดาเนินการ
ตามแผน กิจกรรมการเรี ยนการสอน
การจัดตารางสอน แผนการสอน
คู่มือผูเ้ รี ยน ความพร้อมของผูส้ อน
ความพร้อมของผูเ้ รี ยน การ
ประเมินผลการเรี ยน
การปรับปรุ งแก้ไข
ระบบการประเมินหลักสูตร
1.
2.
3.
4.
วางแผนการประเมิน
ประเมินย่อย ประเมิน
รวบยอด ระบบ
หลักสู ตร เอกสาร
หลักสู ตร ระบบการ
บริ หาร การสอนของ
ผูส้ อน ผลสัมฤทธิ์
ผูเ้ รี ยน
แผนการเก็บข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
รายงานข้อมูล
เนือ้ หา 2.5 เรื่องลาดับขั้นกระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตรตามแนวคิดนักพัฒนาหลักสู ตรที่กล่าวมา อาจสรุ ป
ลาดับขั้นกระบวนการได้ดงั ต่อไปนี้
1. รวบรวมข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสู ตร ข้อมูลที่เป็ น
ประโยชน์ในการพัฒนาหลักสู ตร ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานจากผูเ้ รี ยน สังคม วัฒนธรรม
เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ปรัชญาการศึกษา เนื้อหาวิชาการ และงานวิจยั กับงาน
ใช้หลักสู ตรที่ตอ้ งการพัฒนา เป็ นต้น ข้อมูลที่รวบรวมได้ควรเป็ นข้อมูลทั้งด้านสภาพ
ปั จจุบนั ปั ญหา ความต้องการในอนาคต โดยวิเคราะห์ได้มาอย่างกว้างขวาง ครอบคลุม
และเชื่อถือได้
2. กาหนดหรื อพัฒนาองค์ประกอบของหลักสู ตร ข้อมูลที่รวบรวมและวิเคราะห์
ได้จากกระบวนการขั้นแรก จะถูกนามาพิจารณาประกอบการกาหนด หรื อพัฒนา
องค์ประกอบของหลักสู ตร เพื่อให้หลักสู ตรที่ได้รับการพัฒนามีคุณค่า เหมาะสมกับ
สภาพการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคต สอดคล้องกับความต้องการของสังคม ขั้นนี้
สามารถเรี ยกได้วา่ เป็ นการออกแบบหลักสู ตร สิ่ งที่จะกาหนดมีดงั นี้
2.1 จุดมุ่งหมายหลักสู ตร
2.2 คัดเลือกและจัดลาดับเนื้อหา
2.3 คัดเลือกและจัดลาดับประสบการณ์การเรี ยนรู ้
2.4 กาหนดเกณฑ์และแนวทางการประเมินผล เนื้อหาประสบการณ์
การเรี ยนรู ้
3. ตรวจสอบคุณภาพของหลักสู ตรฉบับร่ าง เป็ นกระบวนการตรวจสอบคุณภาพ
ของหลักสู ตรก่อนประกาศใช้ในโรงเรี ยนทัว่ ไป การตรวจสอบจะทาได้ดงั นี้
3.1 ทบทวนและประเมินสาระขององค์ประกอบหลักสู ตรที่ร่างขึ้น
เป็ นเอกสารหลักสู ตรประเภทต่าง ๆ โดยอาจให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสู ตร
หลายฝ่ ายและผูเ้ ชี่ยวชาญพิจารณาวิเคราะห์วิจารณ์ แล้วปรับปรุ ง
3.2 สร้างเอกสารหลักสู ตรและวัสดุหลักสู ตรต้นแบบที่สอดคล้องกับ
แนวทางของหลักสู ตรฉบับใหม่ เพื่อนาไปทดลองใช้
3.3 นาหลักสู ตรที่พฒั นาแล้วไปทดลองใช้ ในโรงเรี ยนทดลอง
จานวนหนึ่ง เพื่อให้เกิดความแน่ใจและเป็ นการตรวจสอบปั ญหา สาระของ
หลักสู ตร เอกสารหลักสู ตร และวัสดุหลักสู ตรต้นฉบับ ปรับปรุ งแก้ไข เพื่อนา
หลักสู ตรไปใช้ในโรงเรี ยนทัว่ ไป
4. นาหลักสู ตรไปใช้ในโรงเรี ยนทัว่ ไป เป็ นการนาแนวคิดไปสู่ การปฏิบตั ิต่อ
ผูเ้ รี ยน แนวปฏิบตั ิการใช้หลักสู ตร มีดงั นี้
4.1 การเตรี ยมการใช้หลักสู ตร ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ การ
สร้างเอกสารหลักสู ตร วัสดุหลักสู ตร เตรี ยมเครื่ องมือเครื่ องใช้ อาคารสถานที่
และการจัดเตรี ยมงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสู ตรฉบับใหม่
4.2 การอบรมการใช้หลักสู ตรฉบับใหม่ เพื่อให้ผเู ้ กี่ยวข้องจะได้ นา
แนวคิดของหลักสู ตรไปปฏิบตั ิได้ตรงตามเจตนาของหลักสู ตรได้ถูกต้อง เช่น
อบรมผูบ้ ริ หารการศึกษาระดับต่าง ๆ การอบรมครู ผสู ้ อน เป็ นต้น สาระในการ
อบรมจะเป็ นไปตามบทบาทหน้าที่ของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสู ตรนั้น
4.3 การบริ หารหลักสูตร เป็ นกระบวนการปฏิบตั ิตามแผนการใช้
หลักสูตร ตามบทบาทหน้าที่ของผูใ้ ช้หลักสูตร เช่น หน่วยงานต้นสังกัด
โรงเรี ยนสนับสนุนด้านงบประมาณติดตามและนิเทศ ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนอานวย
ความสะดวก ควบคุม กากับ ติดตามและนิเทศครู ผสู้ อนทาหน้าที่ปฏิบตั ิ
การสอน เป็ นต้น
5. ประเมินโครงการพัฒนาหลักสูตร การประเมินผลนี้เป็ นการประเมินทั้ง
กระบวนการและผลผลิต การประเมินกระบวนการ เป็ นการประเมินขั้นตอนต่าง
ๆ ของกระบวนการพัฒนาหลักสูตรทั้งหมดว่ามีส่วนบกพร่ องขั้นตอนใด มาก
น้อยเพียงใด สาหรับการประเมินผลผลิตนั้น คือ การประเมินผูเ้ รี ยนเพื่อ
ตรวจสอบว่าผูเ้ รี ยนบรรลุจุดมุ่งหมายหลักสูตรมากน้อยเพียงใด ผลการประเมิน
ทั้งสองกรณี จะนาไปใช้ในการปรับปรุ ง แก้ไข และพัฒนาหลักสูตรครั้งต่อไป
กระบวนการพัฒนาหลักสูตาที่กล่าวมานั้น วัลลภ กันทรัพย์ กล่าวว่า
สามารถแบ่งกระบวนการพัฒนาได้ 2 ระดับ ดังนี้
1. ระดับแรก หมายถึง การพัฒนาที่ตวั หลักสู ตรเอง คือ หลักสู ตรย่อม
ประกอบด้วยหลักการ จุดหมาย จุดประสงค์ระดับต่าง ๆ โครงสร้างและ
เนื้อหาวิชา ตลอดจนแนวทางการประเมินผล สิ่ งต่าง ๆ เหล่านี้ เมื่อกาหนดหรื อ
จัดทาขึ้นมาแล้ว อาจยังขาดความเหมาะสมความสอดคล้องกลมกลืนกัน หรื อความ
ครบถ้วนรับกัน ดังนั้นเราอาจจะต้องมีการปรับปรุ งส่ วนนาของหลักสู ตร ได้แก่
หลักการ จุดหมายหรื อจุดประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพความต้องการของ
สังคมยิง่ ขึ้น เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ในตัวของหลักสู ตรเอง ซึ่ งจะมีผลทาให้
หลักสู ตรมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น การดาเนินการเช่นนี้เป็ นการพัฒนาที่ตวั หลักสู ตรเอง
2. ระดับที่สอง หมายถึง การพัฒนาในด้านการนาหลักสู ตรไปใช้ ได้แก่ การ
ปรับปรุ งในด้านการจัดการศึกษาตามหลักสู ตรซึ่ งครอบคลุมการจัดโรงเรี ยน การ
จัดการเรี ยนการสอน การจัดบุคลากร และวัสดุอุปกรณ์ในการเรี ยนการสอน
ตลอดจนการวัดและการประเมินผลการศึกษา อันเป็ นลักษณะของการนาหลักสู ตร
ไปใช้จริ ง ๆ ในโรงเรี ยน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดคุณลักษณะตามที่หลักสู ตรกาหนดเอง
การดาเนินการเช่นนี้เป็ นการพัฒนาด้านการนาหลักสู ตรไปใช้ ซึ่ งถือเป็ นการพัฒนา
หลักสู ตรอีกแง่หนึ่ง (วัลลภ กันทรัพย์ 2529 : 4)
เนือ้ หา 2.6 เรื่อง หลักการพัฒนาหลักสู ตร
กระบวนการพัฒนาหลักสู ตร จะสามารถพัฒนาหลักสู ตรได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพขึ้นอยูก่ บั การมีหลักการพัฒนาหลักสู ตรที่ดีดว้ ย หลักการ
พัฒนาหลักสู ตรที่ควรคานึงมีดงั ต่อไปนี้
1. “การพัฒนาหลักสู ตรมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน” (ปรี ชา ธรรมา
2519 : 84) เพราะหลักสู ตรสร้างขึ้นเพื่อใช้กบั คน การสร้างหลักสู ตรก็คือ
การสร้างคน การปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงหลักสู ตรก็คือการปรับปรุ ง
เปลี่ยนแปลงคน เมื่อเป็ นเช่นนี้นกั พัฒนาหลักสู ตรจึงต้องระลึกอยูเ่ สมอว่า
การกระทาใด ๆ ไม่วา่ ต่อส่ วนใดหรื อทุกส่ วนของหลักสู ตรย่อมหมายถึง
กระทาต่อคน นักพัฒนาหลักสู ตรจึงจาเป็ นต้องเข้าใจก่อนว่าคน (ผูเ้ รี ยน)
เป็ นอย่างไร มีสภาพธรรมชาติอย่างไร มีความสนใจความต้องการอย่างไร
หลักการนี้จะช่วยในการพัฒนาหลักสู ตร โดยเฉพาะในส่ วนที่เกี่ยวกับ
จุดมุ่งหมายและกระบวนการเรี ยนการสอน
2. การพัฒนาหลักสูตรจะต้องคานึงถึงสภาพปั ญหา และผลผลิตของ
หลักสูตรคือผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนเป็ นส่ วนหนึ่งของสังคมการดาเนินการปรับปรุ ง
เปลี่ยนแปลงหลักสูตรจึงต้องคานึงถึงสภาพปั ญหา และความต้องการ
สภาพปั ญหาและความต้องการของสังคมมีหลายด้าน เช่น
ด้าน
ปรัชญาการศึกษา ด้านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ด้าน
วิทยาการและเทคโนโลยี เป็ นต้น ข้อมูลจากสภาพปั ญหาและความ
ต้องการของสังคมจะเป็ นพื้นฐานการกาหนดองค์ประกอบของหลักสู ตร
3. การพัฒนาหลักสูตร จะต้องพิจารณาทุกส่ วนขององค์ประกอบ
หลักสูตร เพราะองค์ประกอบของหลักสูตรทุกองค์ประกอบมี
ความสัมพันธ์สอดคล้องกัน การปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบส่ วน
ใดส่ วนหนึ่งย่อมมีผลกระทบต่อส่ วนอื่น ๆ ด้วยเสมอ ดังนั้นการปรับปรุ ง
หรื อการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรแม้เพียงบางองค์ประกอบของหลักสู ตรก็
ตาม จะต้องพิจารณาผลกระทบและปรับปรุ งองค์ประกอบอื่นให้
สอดคล้องสัมพันธ์กนั ด้วย
4. การพัฒนาหลักสู ตรเป็ นกระบวนการต่อเนื่อง หยุดนิ่งไม่ได้ ทั้งนี้เพราะ
สังคมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ยิง่ สังคมเปลี่ยนแปลงพัฒนาไปเร็ วเพียงใด
หลักสู ตรก็จาเป็ นต้องพัฒนาตามไปให้ทนั สภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงนั้นด้วย
หลักสู ตรจึงต้องมีการพัฒนาอยูต่ ลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง ซึ่ งจะช่วยลดช่องว่าง
ระหว่างการศึกษาในโรงเรี ยนกับสภาพความเป็ นจริ งของสังคมกระบวนการพัฒนา
หลักสู ตรจึงมีลกั ษณะเป็ นวัฎจักร
5. การพัฒนาหลักสู ตรควรประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ าย แต่เดิมการสร้างและ
พัฒนาหลักสู ตรมักจะเป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กระทรวงศึกษาธิการ หรื อนัก
การศึกษาเท่านั้น ซึ่ งตามอุดมคติของการพัฒนาหลักสู ตรแล้ว บุคคลผูม้ ีส่วนร่ วมใน
การพัฒนาหลักสู ตรควรจะมีหลายฝ่ ายด้วยกัน ทั้งนี้เพื่อจะให้ได้หลักสู ตรที่
สอดคล้องกับผูเ้ รี ยน สังคม ทั้งระดับท้องถิ่น ประเทศชาติ และความเจริ ญก้าวหน้า
ทางวิชาการ บุคคลผูค้ วรมีส่วนร่ วมในการสร้างหรื อพัฒนาหลักสู ตร ได้แก่ ครู
ผูบ้ ริ หารการศึกษา ผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละเนื้อหาวิชา ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านหลักสู ตร เจ้าหน้าที่
กระทรวงศึกษาธิการ ตัวแทนประชาชน และผูเ้ รี ยน เป็ นต้น โดยแต่ละฝ่ ายจะมี
บทบาทในการพัฒนาหลักสู ตรแตกต่างกัน
6. การพัฒนาหลักสูตรต้องคานึงถึงความต่อเนื่องของระดับการศึกษา การ
จัดการศึกษาแต่ละระดับนั้นจะมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน เช่น ระดับมัธยมศึกษา
จะรับผูเ้ รี ยนต่อจากระดับประถมศึกษา หลักสูตรประถมศึกษาจะต้องเตรี ยมให้มี
พื้นฐานต่อการศึกษาตามหลักสูตรมัธยมศึกษาได้ เป็ นต้น เมื่อเป็ นเช่นนี้หลักสูตร
แต่ละระดับการศึกษาจึงควรต่อเนื่องสัมพันธ์กนั การพัฒนาหลักสูตรระดับใด
ระดับหนึ่งย่อมมีผลกระทบถึงหลักสูตรอีกระดับหนึ่ง ดังนั้นนักพัฒนาหลักสูตรจึง
ควรมีความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรระดับอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย เพื่อให้การพัฒนาหลักสูตร
ของตนสัมพันธ์กบั หลักสูตรระดับการศึกษาที่ต่อเนื่องกัน
7. “การพัฒนาหลักสูตรควรกระทาอย่างเป็ นระบบ” (Frymier. 1970 : 242)
การทางานที่จะบรรลุผลได้อย่างมีประสิ ทธิภาพจะต้องมีระบบการทางานที่ดี การ
พัฒนาหลักสูตรก็เช่นเดียวกันยิง่ การพัฒนาหลักสูตรต้องกระทาต่อเนื่องตลอดเวลา
หลายขั้นตอน ต้องใช้เวลา ใช้บุคคลหลายฝ่ ายยิง่ ต้องจัดระบบและมีการวางแผนที่
รอบคอบรัดกุม
8. การพัฒนาหลักสูตรต้องกระทาด้วยความซื่อสัตย์เชื่อถือได้ ข้อมูลที่
รวบรวมเพื่อเป็ นพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรควรได้มาอย่างเป็ นระบบ
กว้างขวาง ซื่อสัตย์ เชื่อถือได้ ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรจึงควรมา
จากรากฐานของการวิจยั
9. การดาเนินงานหลักสูตรควรยึดหลักประชาธิปไตย การดาเนินงาน
แบบประชาธิปไตยจะทาให้ผรู้ ่ วมงานมีอิสระในการแสดงความสามารถได้
เต็มที่ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ใช้สติปัญญาและเหตุผลในการตัดสิ นใจ
ผลงานย่อมเป็ นที่ยอมรับจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตร
เนือ้ หา 2.7 เรื่อง
การประเมินผลหลักสู ตร
หลักสูตรเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญในการจัดการศึกษา เพราะเป็ นการขยายแนวคิดใน
การจัดการศึกษาหรื อปรัชญาการศึกษาไปสู่ การปฏิบตั ิ ดังนั้นหากสามารถสร้าง
หลักสูตรที่ดีได้ยอ่ มจะทาให้การจัดการศึกษาบรรลุตามจุดประสงค์ที่วางไว้ การที่จะ
ทราบได้วา่ หลักสู ตรที่สร้างขึ้นไว้น้ นั เหมาะสมหรื อไม่เพียงใดนั้น จึงจาเป็ นต้องมีการ
ประเมินผล การประเมินผลหลักสูตรจึงเป็ นขั้นตอนที่ขาดไม่ได้ในกระบวนการพัฒนา
หลักสูตร และเนื่องจากหลักสูตรนั้นต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ไม่สามารถ
กาหนดไว้ตายตัวได้ การพัฒนาหลักสูตรจึงเป็ นกระบวนการที่ต่อเนื่องกันไปตั้งแต่การ
สร้างหลักสูตรจนถึงการนาไปใช้ในโรงเรี ยน
เรื่ องการประเมินผลหลักสูตรนี้ เริ่ มได้รับความสนใจในวงการศึกษามาตั้งแต่ปี
ค.ศ. 1960 เป็ นต้นมา โดย สตัฟเฟิ ล บีม (Stuffle beam) และคณะได้ให้แนวคิดใหม่
ในการประเมินผลหลักสู ตรว่า “การประเมินผลหลักสูตรเป็ นกระบวนการในการหา
ข้อมูล เก็บข้อมูล เพื่อจะนามาใช้ให้เป็ นประโยชน์ในการตัดสิ นใจหาทางเลือกอื่นที่
ดีกว่าของเดิม” และในการหาข้อมูลหรื อเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการประเมินผลนั้น ก็
จาเป็ นต้องใช้การวิจยั เพราะว่า “การประเมินสิ่ งใดก็ตามจะมีประสิ ทธิภาพไม่ได้ถา้
ไม่ใช่การวิจยั เป็ นเครื่ องมือ”
จุดมุ่งหมายในการประเมินผลหลักสู ตร
จุดมุ่งหมายในการประเมินผลหลักสู ตรที่ปฏิบตั ิกนั ส่ วนใหญ่มี 2 ประการ คือ
1. การประเมินผลเพื่อการปรับปรุ งหลักสู ตร เป็ นการประเมินผลในระหว่างการ
ปฏิบตั ิงานในการพัฒนาหลักสู ตร โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ผลการประเมินนั้นให้
เป็ นประโยชน์ในการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงหลักสู ตร การประเมินผลนี้จะกระทาเป็ น
ระยะ ๆ ตลอดเวลาของการใช้หลักสู ตร
2. การประเมินผลเพื่อสรุ ปผลคุณค่าของหลักสู ตร เป็ นการประเมินผลเพื่อ
สรุ ปว่าหลักสู ตรได้สนองความต้องการของผูเ้ รี ยนและสังคมเพียงใด ควรจะใช้ได้
ต่อไปหรื อควรจะยกเลิกทั้งหมดหรื อยกเลิกเพียงบางส่ วน
นอกจากสองประการข้างต้น ทิศนา แขมมณี ยังเห็นว่า การประเมินหลักสู ตร
ควรจะมีจุดมุ่งหมายเพื่อ
3. วัดผลดูวา่ ผลผลิตหรื อผูเ้ รี ยนนั้นเป็ นอย่างไร การวัดผลผลิตนั้นก็คือการ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนนั้นเอง
สาระที่จะประเมิน
ในการประเมินผลหลักสู ตรนั้น เป็ นกระบวนการละเอียดซับซ้อน และมี
ขอบเขตกว้างขวาง อาจต้องอาศัยบุคคลหรื อหน่วยงานหลายฝ่ ายร่ วมมือแบ่งงานและ
แบ่งแรงกันทา แต่กต็ อ้ งมีการวางแผนร่ วมกัน หรื อมีหน่วยงานกลางประสานแผน
ทั้งหมด เพื่อให้ผลการประเมินครอบคลุมทุกส่ วนที่ตอ้ งการ ซึ่ งจะทาให้ได้ขอ้ มูลที่
เชื่อถือได้ ในการประเมินผลหลักสู ตรนั้นมีขอบเขตที่จะประเมิน 4 ด้าน คือ
1. ด้านตัวหลักสู ตร
2. ด้านกระบวนการนาหลักสู ตรไปใช้
3. ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของเด็ก
4. ด้านโครงการประเมินผล
ด้ านตัวหลักสู ตร การวิเคราะห์หลักสู ตรเป็ นการประเมินผลหลังจากที่ได้
พัฒนาหลักสู ตรออกเป็ นเอกสารที่กาหนดองค์ประกอบของหลักสู ตรที่ครบถ้วน แต่
ยังมิได้นาไปทดลองใช้ หรื อจะเป็ นการวิเคราะห์หลักสู ตรที่กาลังใช้อยูก่ ไ็ ด้ แต่การ
วิเคราะห์พิจารณาในด้านของตัวหลักสู ตรที่เป็ นเอกสารโดยยังไม่เกี่ยวข้องไปถึง
การศึกษาปั ญหาเมื่อนาไปใช้จริ ง เช่นตัวอย่างการวิเคราะห์จุดหมายของหลักสู ตร
ทั้งจุดมุ่งหมายทัว่ ไป จุดมุ่งหมายเฉพาะหรื อจุดมุ่งหมายในการสอนว่า จุดมุ่งหมาย
เหล่านี้สอดคล้องกับผูเ้ รี ยน สภาพแวดล้อมหรื อไม่เพียงใด การใช้ภาษายาก
คลุมเครื อหรื อไม่สมเหตุสมผลในเชิงปฏิบตั ิหรื อไม่ เป็ นต้น
ด้ านกระบวนการนาหลักสู ตรไปใช้ เป็ นการวิเคราะห์ดูผลการนาหลักสู ตรไป
ใช้ในโรงเรี ยน การประเมินผลขั้นนี้ เป็ นการประเมินการปฏิบตั ิการทั้งหมดใน
โรงเรี ยน เครื่ องมือที่ใช้อาจจะออกมาในรู ปเกณฑ์การประเมินผลโรงเรี ยน ซึ่ ง
ประกอบด้วยการประเมินผลหลายด้าน เช่น ด้านการสอน การจัดกิจกรรม
ประสบการณ์ การบริ หาร สภาพแวดล้อม สื่ อการเรี ยน งบประมาณ การบริ การ
ด้านสุ ขภาพอนามัย สวัสดิการในโรงเรี ยน เป็ นต้น
การประเมินผล
หรื อการวิเคราะห์กระบวนการนาหลักสู ตรไปใช้น้ ี Taba
ได้ให้หลักเกณฑ์ในการดาเนินงานตามลาดับขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. กาหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินอย่างชัดเจน
2. คัดเลือกและสร้างเครื่ องมือที่เหมาะสมในการนาไปค้นหาข้อมูล
3. นาเครื่ องมือไปใช้ประเมินผลหลักสู ตรตามหลักเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้
4. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับภูมิหลังของผูเ้ รี ยน และลักษณะการสอนเพื่อนามา
ประกอบการแปรผล
5. แปรผลของการประเมิน เพื่อนาไปปรับปรุ งหลักสู ตรและการสอนต่อไปนี้
ด้ านผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของเด็ก เป็ นการวัดพฤติกรรมที่
เปลี่ยนแปลงไปของนักเรี ยนไม่ใช่เพียงผลการสอบที่โรงเรี ยนจัดขึ้นเท่านั้น แต่
หมายถึงพฤติกรรมทั้งมวลตามจุดประสงค์ของหลักสูตร ทั้งนี้เพื่อประเมินว่า
นักเรี ยนบรรลุตามจุดประสงค์ที่หลักสูตรกาหนดไว้หรื อไม่เพียงใดอันจะนาผลนี้
ไปแก้ไขข้อบกพร่ องที่มีผลต่อการเรี ยนของเด็กซึ่งประกอบด้วยปั จจัยหลาย
ประการ เช่น ความบกพร่ องทางกายของนักเรี ยน ทางสติปัญญา ความยากง่าย
ของหนังสื อเรี ยน สื่ อการเรี ยน สภาพสังคม และเศรษฐกิจของนักเรี ยน เป็ นต้น
ในการประเมินผลผูเ้ รี ยนนั้น จะต้องคานึงถึงพฤติกรรมที่คาดหวังไว้ใน
หลักสูตรเป็ นสาคัญ แล้วเลือกวิธีการ เครื่ องมือ รวบรวมวิเคราะห์ขอ้ มูล เพื่อ
ประเมินผลดังแผนภูมิที่พฒั นามาจากแนวคิดของ Tyler ต่อไปนี้
แผนภูมิที่ 15 แนวคิดการประเมินผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
กาหนดสถานการณ์ จาลอง
พฤติกรรมที่กาหนด
ในหลักสู ตร
สร้ างเครื่องมือ
เลือกวิธีการวัด
ผู้เรียน
รวบรวม
วิเคราะห์
ข้ อมูล
ประเมินผล
ด้ านโครงการประเมินผล
แม้วา่ นักพัฒนาหลักสูตรจะได้กาหนด
แผนงานในการประเมินผลหลักสูตรไว้ดีแล้วก็ตาม เมื่อได้นาโครงการ
ประเมินผลไปปฏิบตั ิแล้ว ก็ควรจะได้มีการวิเคราะห์หาประสิ ทธิภาพของ
โครงการประเมินผลด้วย ในการวิเคราะห์โครงการประเมินผลนี้ มีองค์ประกอบ
4 ประการที่ควรพิจารณา คือ
1. ความเหมาะสมของการประเมินผล
2. ประสิ ทธิภาพของการประเมินผล
3. ความเที่ยงตรงของการประเมินผล
4. ความเชื่อมัน่ ได้ของการประเมินผล
ในการกาหนดโครงการประเมินผลของหลักสูตร ไม่วา่ จะประเมินด้านใด
ก็ตาม มีขอ้ ควรคานึงสาหรับโครงการประเมินผลหลักสูตร 5 ประการ คือ
1. วัตถุประสงค์ในการเรี ยนการสอน ควรกล่าวไว้อย่างชัดเจน ควรได้รับการ
ประเมินผลจะได้ดาเนินไปอย่างมีผลดี
2. พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนและการสอนของครู ควรได้รับการสังเกตด้วย
3. มาตรฐานที่ต้ งั ไว้ในการประเมินผล ควรจะใช้เพื่อปรับปรุ งพฤติกรรมของ
ผูเ้ รี ยนในอนาคตด้วย
4. มาตรฐานที่ต้ งั ไว้ในการประเมินควรจะชัดเจน
5. ในการประเมินผลนั้น ผูเ้ รี ยนและผูส้ อนควรจะได้มีบทบาทร่ วมด้วย
เพื่อให้วิธีการดาเนินการประเมินผลหลักสู ตรทาได้ครอบคลุมโครงการประเมินผล
หลักสู ตรหลาย ๆ ด้านดังกล่าวแล้ว จึงขอเสนอวิธีการประเมินผลหลักสู ตรเป็ น
ขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นตอนในการประเมินผลหลักสู ตร
การประเมินผลหลักสู ตรอาจมีลาดับขั้นตอนในการดาเนินงานดังต่ อไปนี้
1.
กาหนดตัวแบบในการประเมิน
2.
กาหนดรายละเอียดในแบบประเมิน
3.
กาหนดแบบแผนการวิจยั และสร้างเครื่ องมือ
4.
นาเครื่ องมือที่สร้างขึ้นไปใช้ (เก็บข้อมูล)
5.
วิเคราะห์ขอ้ มูลจากเครื่ องมือที่นาไปใช้
6.
อภิปรายผลและสรุ ปผลการประเมิน
การกาหนดตัวแบบในการประเมิน
ตัวแบบ (Model) ในการประเมินถูกาหนดขึ้นเพื่อจากัด
ขอบเขตในการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรให้เฉพาะเจาะจงตามที่ ผู้
ประเมินต้องการ ทั้งนี้เพราะหลักสู ตรมีความหมายกว้างขวางและ
ประกอบด้วยองค์ประกอบหลาย ๆ ส่ วน แนวทางในการกาหนด
ตัวแบบสามารถพิจารณาได้จากแผนภูมิแสดงมิติของหลักสู ตร
ดังต่อไปนี้
แผนภูมทิ ี่ 16 ตัวแบบในการประเมิน
จุดมุ่งหมาย
เนื้อหาอัตราเวลาเรี ยน
โครงสร้าง
กระบวนการเรี ยนการสอน
การประเมินผล
การเตรี ยม
กลุ่มตัวอย่าง
กระบวนการ
จากรู ปแบบดังกล่าวสามารถอธิบายความหมายหรื อลักษณะในแต่ละด้านดังนี้
1. ด้ านโครงสร้ างของหลักสู ตร หลักสู ตรมีส่วนประกอบที่สาคัญ 4 ส่ วน คือ
1.1 จุดมุ่งหมายของหลักสู ตร ซึ่ งยังแบ่งออกเป็ น 3 ระดับ คือ
- จุดมุ่งหมายทัว่ ไป
- จุดมุ่งหมายเฉพาะวิชาหรื อกลุ่มประสบการณ์
- จุดมุ่งหมายในการเรี ยนการสอน
1.2 เนื้อหาของหลักสู ตร เป็ นองค์ประกอบที่ประกอบด้วยเนื้อหา
หรื อประสบการณ์ที่จะเป็ นสื่ อนาผูเ้ รี ยนไปสู่ จุดมุ่งหมาย การกาหนดเนื้อหาอาจมี
2 แบบ คือ
- กาหนดเป็ นรายวิชา
- กาหนดในรู ปกลุ่มวิชาหรื อกลุ่มประสบการณ์
1.3 กระบวนการเรี ยนการสอน ซึ่ งประกอบได้ดว้ ยการใช้สิ่งต่อไปนี้
- วิธีสอน เทคนิคการสอน
- วัสดุอุปกรณ์และแหล่งวิชาการต่าง ๆ
1.4 การประเมินผล เป็ นการประเมินผลว่าผูเ้ รี ยนได้เปลี่ยนพฤติกรรมไปตามที่
คาดหวังไว้ในหลักสู ตรหรื อไม่เพียงใด การประเมินผลการสอนยังแบ่งออกเป็ น 2
ลักษณะ คือ
- การประเมินเพื่อปรับปรุ งการเรี ยนการสอน
- การประเมินเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยน
2. ด้ านกระบวนการ เป็ นกระบวนการของการใช้หลักสู ตร ประกอบด้วยขั้นตอน
ใหญ่ ๆ 3 ประการ คือ
2.1 ขั้นเตรี ยม เป็ นขั้นสร้างความพร้อมก่อนที่จะนาหลักสู ตรไปใช้ในโรงเรี ยน
สิ่ งที่ตอ้ งเตรี ยมมีหลายอย่าง เช่น
- บุคลากร
- วัสดุอุปกรณ์ ตารา
- อาคารสถานที่ แหล่งวิชาการ เป็ นต้น
2.2 ขั้นใช้ เป็ นการนาสิ่ งที่เตรี ยมไปใช้ในสถานการณ์จริ ง นัน่ คือ การนา
หลักสู ตรไปใช้โรงเรี ยน การดาเนินการในขั้นนี้คือ การปฏิบตั ิงานในโรงเรี ยนใน
ทุก ๆ ด้าน
2.3 ขั้นติดตามผล เป็ นการตรวจสอบภายหลังที่ได้มีการใช้หลักสู ตรแล้ว
การติดตามผลอาจทาได้ 2 ลักษณะเป็ นอย่างน้อย คือ
- ติดตามผลระยะสั้น
- ติดตามผลระยะยาว
3. ด้ านกลุ่มตัวอย่ าง กลุ่มตัวอย่างเป็ นผูท้ ี่ให้ขอ้ มูลในการประเมิน สามารถ
แบ่งออกได้ 4 ประเภท คือ
- ครู ซึ่ งหมายรวมถึงผูส้ อน ผูบ้ ริ หาร ครู ฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้ง
บุคลากรต่าง ๆ ในโรงเรี ยน
- นักเรี ยน
- ผูป้ กครอง
- ผูเ้ กี่ยวข้อง หมายถึงผูท้ ี่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาทั้งโดยตรง
และโดยอ้อม แต่วา่ ไม่ใช่บุคคลในโรงเรี ยน เช่น ศึกษานิเทศก์ คณะกรรมการ
การศึกษาของโรงเรี ยน เป็ นต้น
การประเมินผลหลักสู ตร กระทาในรู ปของการติดตามผลนัน่ เอง ซึ่ งกระทาทั้ง
ในระยะสั้นและระยะยาว กระทากว้างขวางและเฉพาะเจาะจง ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ความ
ต้องการของผูป้ ระเมินว่าต้องการประเมินในตัวแบบย่อย (Micro model) หรื อตัว
แบบใหญ่ (Macro model) ตัวอย่างการกาหนดตัวแบบสามารถกาหนดจากแผนภูมิ
สามมิติดงั ตัวอย่างต่อไปนี้
ก. ตัวแบบย่ อย เนือ้ หา – เตรียม – ครู ซึ่งหมายความว่าจะ
ประเมินด้านเนื้อหาในกระบวนการขั้นเตรี ยมการใช้หลักสูตร โดยใช้ครู เป็ น
กลุ่มตัวอย่าง
ครู
เตรียม
เนือ้ หา
ข. ตัวแบบใหญ่ โครงสร้ าง – ใช้ – ครู ซึ่งหมายความว่า จะ
ประเมินด้านโครงสร้างของหลักสูตร ในกระบวนการใช้หลักสูตรขั้นนา
หลักสูตรไปใช้ โดยใช้ครู เป็ นกลุ่มตัวอย่าง
ครู
จุดมุ่งหมาย
เนือ้ หา
ใช้
กิจกรรมการเรียนการสอน
ประเมินผล
โครงสร้ าง
การกาหนดรายละเอียดของตัวแบบในการประเมินผล (หลักสูตร)
ครู
เตรียม
ประเมินผล
รายละเอียดของตัวแบบต่อไปนี้เป็ นตัวแบบ การประเมินผล – เตรี ยม – ครู
เป็ นการประเมินผลหลักสูตรในด้านการประเมินผลการเรี ยน และทาการ
ประเมินในตอนเตรี ยมก่อนนาหลักสูตรไปใช้ กลุ่มตัวอย่างก็คือ ครู การ
ประเมินตามตัวแบบนี้จะเป็ นการตรวจสอบว่าจะนาหลักสูตรไปใช้จริ ง ครู มี
ความเข้าใจและมีเครื่ องมือเกี่ยวกับการประเมินผลพร้อมมากน้อยเพียงใด
รายละเอียดสามารถกาหนดได้ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้
แนวการประเมินผลการเรียนตามหลักสู ตร
ก.
รายละเอียดทีค่ รู ต้องเตรียม (เกณฑ์ ทจี่ ะประเมิน)
การประเมินเพื่อปรับปรุ งการเรี ยน การสอน
1. การประเมินผลก่อนเรี ยน
-
2. การประเมินผลระหว่างเรี ยน
-
ข.
การประเมินผลเพื่อสรุ ปผลการเรี ยน
1. การประเมินผลรายวิชา
-
2. เกณฑ์การจบหลักสูตร
-
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมในรายวิชานั้น
ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรี ยน
ประวัติการเรี ยนรายวิชาที่เป็ นพื้นฐานของนักเรี ยน
ข้อสอบเพื่อวินิจฉัยอื่น ๆ
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของรายวิชานั้น ๆ
ข้อทดสอบย่อยในแต่ละรายวิชา
แบบการวัดผลวิธีอื่น ๆ
สื่ อการสอนและอุปกรณ์ที่ช่วยสอนซ่อมเสริ ม
ข้อสอบรวมของแต่ละรายวิชา
แบบการวัดผลวิธีอื่น ๆ
สมุดตรวจเวลาเรี ยน
ข้อตกลงกับผูเ้ รี ยนในการประเมินผล
วิธีการให้ระดับผลการเรี ยน
แจ้งให้ผทู้ ี่เกี่ยวข้องทราบ
ทารายละเอียดระบบบันทึก
หมายกาหนดการเกี่ยวกับเรื่ องต่าง ๆ เป็ นต้น
หลังจากทารายละเอียดของแบบประเมินแล้ว ขั้นต่อไปคือ การกาหนด
แบบแผนการวิจยั และสร้างเครื่ องมือ เพื่อจะนาเครื่ องมือไปใช้ในการเก็บข้อมูล
ตามที่ผปู้ ระเมินต้องการ
การกาหนดแบบแผนการวิจัยและการสร้ างเครื่องมือ
เป็ นการกาหนดวิธีการในการวิจยั อย่างละเอียด ตลอดจนเป็ นการสร้าง
เครื่ องมือในการวิจยั การวิจยั ที่เกี่ยวกับการประเมินผลหลักสูตรส่ วนใหญ่เป็ น
การวิจยั เชิงบรรยายและทดลองเป็ นส่ วนมากซึ่งแต่ละตัวแบบในการประเมินผล
อาจจะต้องใช้เครื่ องมือในการวิจยั หลายชนิด และมีรูปแบบต่างกันได้ ทั้งนี้
เพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่เที่ยงตรงและเชื่อมัน่ ได้ ต่อไปนี้เป็ นตัวอย่างเครื่ องมือชนิด
หนึ่งจากตัวแบบเรื่ อง การประเมินผล – เตรี ยม – ครู เป็ นเครื่ องมือแบบ
(Check List)
รายการ
ก. การประเมินเพื่อปรับปรุ งการเรี ยนการสอน
1. การประเมินผลก่อนเรี ยน
- จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมในรายวิชานั้น
- ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรี ยน
- ประวัติการเรี ยนรายวิชาที่เป็ นพื้นฐาน
ของนักเรี ยน
- ข้อสอบเพื่อวินิจฉัยอื่น ๆ
2. การประเมินผลระหว่างเรี ยน
- จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของรายวิชานั้น ๆ
- ข้อทดสอบย่อยในแต่ละรายวิชา
- แบบการวัดผลวิธีอื่น ๆ
- สื่ อการสอนและอุปกรณ์ที่ช่วยสอนซ่อมเสริ ม
ไม่ มี
มี
ชัดเจน
ไม่ ชัดเจน
หมายเหตุ
รายการ
ข. การประเมินผลเพื่อสรุ ปผลการเรี ยน
1. การประเมินผลรายวิชา
- ข้อสอบรวมของแต่ละรายวิชา
- แบบการวัดผลวิธีอื่น ๆ
- สมุดตรวจเวลาเรี ยน
- ข้อตกลงกับผูเ้ รี ยนในการประเมินผล
- วิธีการให้ระดับผลการเรี ยน
2. เกณฑ์การจบหลักสู ตร
- แจ้งให้ผเู ้ กี่ยวข้องทราบ
- ทารายละเอียดระบบบันทึก
- หมายกาหนดการเกี่ยวกับเรื่ องต่าง ๆ เป็ นต้น
ไม่ มี
มี
ชัดเจน ไม่ ชัดเจน
หมายเหตุ
ตัวอย่ างแบบประเมินผลการใช้ หลักสู ตรสาหรับครูใหญ่ – ครู – นักเรียน
โรงเรียน .................................. อาเภอ ................. จังหวัด ......................... สังกัด ..........................
วันที่ .......... เดือน .................................... พ.ศ. ...........................
รายการ
ครูใหญ่
1. หลักสูตร แผนการสอน คู่มือครู แบบเรี ยน
- ความเพียงพอกับการใช้
2. การส่งเสริ มให้ครู เข้าใจและใช้หลักสูตร
- การประชุมซักซ้อมความเข้าใจ
- การจัดให้มีการสาธิตหรื อพาไปดูการสอน
- การร่ วมมือกับเจ้าหน้าที่การศึกษาของ จ.ว.
ประชุมสัมมนาปรับปรุ งแก้ไขปัญหา
3. การจัดตารางสอน
- ความเหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อหา กิจกรรม
- การจัดทากาหนดการสอน
ดีมาก
4
ดี
3
พอใช้
2
ไม่ พอใช้
1
ไม่ ได้
0
หมาย
เหตุ
รายการ
4. การช่วยเหลือครู ทาการสอน
- การจัดครู เข้าสอนตามความถนัด
- การเพิ่มพูนความรู้ทกั ษะและวิธีการสอนแก่ครู
- การช่วยแก้ปัญหาในการสอน
- การจัดหาและช่วยทาอุปกรณ์การสอน
5. การส่งเสริ มให้ครู ทาและใช้อุปกรณ์การสอน
- การจัดหาวัสดุสาหรับทาอุปกรณ์
- การประชุมครู ร่วมกันทาอุปกรณ์
6. การประเมินผล วัดผล
- การประชุมเพื่อซ้อมความเข้าใจและกาหนดแนวทางการวัดผล
- การทางานของคณะกรรมการการประเมินผลของโรงเรี ยน
- การวางเกณฑ์ในการประเมินผลของ ร.ร. ตามหลักสูตรใหม่
7. การเพิ่มพูนความรู้แก่เด็ก - ครู
- ความสม่าเสมอของการจัดหาหนังสื อ ความรู้ บันเทิงสาหรับเด็ก
- ความสม่าเสมอในการจัดหาหนังสื อ ความรู้เกี่ยวกับหลักสูตร
วิธีการสอนแก่ครู
- การส่งครู เข้าอบรมหรื อศึกษาต่อ
- จัดประชุมทางวิชาการเพิม่ พูนความรู้ดา้ นการใช้หลักสูตร
ดีมาก
4
ดี
3
พอใช้
2
ไม่ พอใช้
1
ไม่ ได้
0
หมาย
เหตุ
รายการ
ครู
1. วิธีสอน
- การเลือกใช้วิธีสอน
- พฤติกรรมการสอนของครู
- การรู้จกั ปรับปรุ ง การหาวิธีใหม่ ๆ มาใช้
2. การทาอุปกรณ์การสอน
- การเลือกใช้อุปกรณ์การสอน
- ความสม่าเสมอในการทาอุปกรณ์การสอน
3. การวัดผล
- การเลือกใช้วิธีวดั ผล
- ความสม่าเสมอในการวัดผล
- การนาผลของการวัดผลไปใช้
4. การช่วยเหลือ น.ร.
- การสอนซ่อมเสริ ม
5. บรรยากาศในห้องเรี ยน
- การตกแต่งห้องเรี ยน
- การเปลี่ยนแปลงที่นงั่ ของ น.ร. ให้เหมาะกับการเรี ยนรู้
ดีมาก
4
ดี
3
พอใช้
2
ไม่ พอใช้
1
ไม่ ได้
0
หมาย
เหตุ
รายการ
นักเรียน
1. พฤติกรรมของนักเรี ยน
- การแสดงออกในชั้นเรี ยน
- การแสดงออกนอกชั้นเรี ยน
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
- จานวนนักเรี ยนที่ผา่ นไม่ผา่ นเกณฑ์
- ผลงานของนักเรี ยน
อืน่ ๆ
1. การจัดอาคารสถานที่
- ความสะอาด ร่ มรื่ น สวยงาม
- ความเพียงพอของสถานที่ในการจัดกิจกรรม
2. การจัดบริ การในโรงเรี ยน
- มุมหนังสื อหรื อห้องสมุด
- ความถูกสุ ขลักษณะของส้วม น้ าดื่ม น้ าใช้
ที่รับประทานอาหาร ฯลฯ
ดีมาก
4
ดี
3
พอใช้
2
ไม่ พอใช้
1
ไม่ ได้
0
หมาย
เหตุ
ในการสร้างเครื่ องมือสาหรับการวิจยั นั้น มีได้หลายชนิด อาจจะเป็ น
- แบบสัมภาษณ์ เช่น แบบสัมภาษณ์ครู ใหญ่เรื่ องการบริ การ บริ การ หลักสู ตร เป็ นต้น
- แบบสอบถาม เช่น แบบสอบถามเกี่ยวกับความเข้าใจเรื่ องหลักสู ตรหรื องานที่ปฏิบตั ิ
เป็ นต้น
- แบบสังเกต เช่น แบบสังเกตการสอน เป็ นต้น
- แบบทดสอบ เช่น แบบทดสอบสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เป็ นต้น
หลังจากสร้างเครื่ องมือและกาหนดวิธีการวิจยั เรี ยบร้อยแล้ว ก็ดาเนินการนา
เครื่ องมือไปใช้เพื่อรวบรวมข้อมูล จากนั้นก็จะนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสรุ ปผล
การวิจยั ประเมินผลในครั้งนั้น ๆ
อย่างไรก็ตาม สิ่ งที่ควรพึงระลึกอยูเ่ สมอในการประเมินผลหลักสู ตรก็คือ
1. การประเมินผลหลักสูตรจะต้องกาหนดลงไปอย่างชัดเจนว่า ประเมินอะไรให้แน่นอน
2. การหาข้อมูลเป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างยิง่ ในการประเมินผลหลักสู ตร
3. การรวบรวมข้อมูลมาเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และกาหนดเครื่ องมือในการประเมิน
จะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ
4. การวิเคราะห์ผลการประเมิน ต้องทาอย่างระมัดระวัง และมีความเที่ยงตรง
สรุ ปแนวคิดต่ อเนื่องประจาหน่ วย
เมื่อสภาพสังคมและแนวคิดในการจัดการศึกษาเปลี่ยนไป หลักสู ตรก็ควร
ได้รับการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับกาลเวลา ซึ่งเรี ยกว่าเป็ นการพัฒนา
หลักสูตร
ปรัชญาการศึกษาเป็ นข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญที่จะนาไปสู่แนวคิดหลักของการ
กาหนดองค์ประกอบของหลักสูตร ส่ วนการจะใช้ปรัชญาการศึกษาใดนั้นก็ข้ ึนอยูก่ บั
ความเชื่อของสังคมนั้น ๆ
สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง ความก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถแสดงถึงปัญหาและความต้องการของสังคม
ในด้านต่าง ๆ ดังนั้นการจัดทาและพัฒนาหลักสู ตร จึงสนองปั ญหาและความต้องการ
ดังกล่าว
นอกจากนี้ในการจัดทาและพัฒนาหลักสูตรยังต้องคานึงถึงพื้นฐานทางจิตวิทยา
พัฒนาการและจิตวิทยาการเรี ยนรู้ อันจะทาให้การจัดการเรี ยนการสอนสอดคล้องกับ
ความต้องการและธรรมชาติผเู้ รี ยน
รู ปแบบของการพัฒนาหลักสู ตร มีหลายรู ปแบบ แล้วแต่แนวคิดของนักการศึกษา
แต่รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรที่สมบูรณ์จะครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบหลักสู ตร การนา
หลักสูตรไปใช้และการประเมินผลหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสู ตรเป็ นกระบวนการที่ต่อเนื่อง เป็ นวัฏจักรต้องอาศัยข้อมูล
พื้นฐานหลายด้านเป็ นพื้นฐานในการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง และต้องดาเนินการอย่างเป็ นระบบ
มีการตรวจสอบ เชื่อถือได้ โดยอาศัยความร่ วมมือจากบุคลากรหลายฝ่ าย ดังนั้นการพัฒนา
หลักสูตรจึงต้องกระทาอย่างมีหลักการที่ดีจึงจะได้หลักสูตรที่นาไปใช้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
การประเมินผลหลักสูตรเป็ นกระบวนการตรวจสอบคุณภาพของหลักสู ตร ทั้งก่อนนา
หลักสูตรไปใช้จริ ง ขณะใช้หลักสูตรและหลักการใช้หลักสู ตรนั้นระยะหนึ่งทั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อปรับปรุ งหลักสูตร ตัดสิ นใจคุณค่าของหลักสู ตรและตรวจผลสัมฤทธิ์ของผลผลิตหรื อผูเ้ รี ยน
สาระที่จะประเมินผลหลักสูตร สามารถกาหนดได้ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านตัวหลักสู ตร
ด้านกระบวนการนาหลักสูตรไปใช้ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน และด้านโครงการ
ประเมินผล
กระบวนการประเมินผลหลักสู ตรอาจกาหนดขั้นตอนได้ดงั นี้คือ กาหนดตัวแบบ
ในการประเมิน กาหนดรายละเอียดในแบบประเมิน กาหนดแบบแผนการวิจยั และสร้างเครื่ องมือ
การนาเครื่ องมือที่สร้างไปใช้เก็บข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล และอภิปรายสรุ ปผลการประเมิน
หน่ วยที่ 2
การพัฒนาหลักสู ตร
หัวเรื่อง
1.
ความจาเป็ นในการพัฒนาหลักสู ตร
1.1 อนิจจัง
1.2 ความหมายของการพัฒนาหลักสู ตร
2.
พื้นฐานในการจัดทาและพัฒนาหลักสู ตร
2.1 พื้นฐานด้านปรัชญาการศึกษา
2.2 พื้นฐานด้านเศรษฐกิจ
2.3 พื้นฐานด้านสังคมและวัฒนธรรม
2.4 พื้นฐานด้านการเมืองการปกครอง
2.5 พื้นฐานด้านจิตวิทยา
2.6 พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. กระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
3.1 รู ปแบบการพัฒนาหลักสู ตร
3.2 ลาดับขั้นกระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
3.3 หลักทัว่ ไปในการพัฒนาหลักสู ตร
4. การประเมินผลหลักสู ตร
4.1 จุดมุ่งหมายในการประเมินผลหลักสู ตร
4.2 สาระที่ประเมิน
4.3 ขั้นตอนในการประเมินผลหลักสู ตร
4.4 การกาหนดตัวแบบของการประเมิน
จุดประสงค์
1. หลังจากอ่านสถานการณ์ที่กาหนดให้ผเู ้ รี ยนสามารถอธิบายความจาเป็ นที่
ต้องพัฒนาหลักสู ตรได้ถูกต้อง
2. โดยไม่ดูตาราผูเ้ รี ยนสามารถสรุ ปความหมายของการพัฒนาหลักสู ตรได้
2
ความหมาย
3. โดยไม่ดูตาราผูเ้ รี ยนสามารถบอกข้อมูลที่เป็ นพื้นฐานในการจัดทาและ
พัฒนาหลักสู ตรได้อย่างน้อย 4 ด้าน
4. โดยไม่ดูตาราผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายเหตุผลที่ตอ้ งใช้ขอ้ มูลพื้นฐาน ในการ
จัดทาและพัฒนาหลักสู ตรได้ถูกต้องอย่างน้อย 3 ด้านที่กาหนดให้
5. เมื่อกาหนดหลักสู ตรที่ใช้ในปั จจุบนั ให้ 1 หลักสู ตร ผูเ้ รี ยนสามารถ
วิเคราะห์รายละเอียดขององค์ประกอบของหลักสู ตรนั้น ด้านความสอดคล้อง
กับข้อมูลพื้นฐานในการจัดทาหลักสู ตรของไทย
6. ผูเ้ รี ยนสามารถสรุ ป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ของรู ปแบบกระบวนการพัฒนา
หลักสูตรของนักการศึกษาที่กาหนดได้ถูกต้อง
7. อธิบายลาดับขั้นกระบวนการพัฒนาหลักสู ตรที่ตนเองกาหนดขึ้นได้ อย่างน้อย
1 รู ปแบบ
8. สรุ ปหลักการสาคัญในการพัฒนาหลักสู ตรได้อย่างน้อยนี้ 4 ข้อ
9. โดยไม่ดูตาราผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายจุดมุ่งหมายของการประเมินผลหลักสู ตรได้ถูกต้อง
10. เมื่อกาหนดสาระหรื อขอบเขตที่จะต้องประเมินผลหลักสู ตรให้ ผูเ้ รี ยนสามารถ
อธิบายเหตุผลและความจาเป็ นที่ตอ้ งประเมินในด้านนั้นได้ถูกต้อง
11. โดยไม่ดูตาราผูเ้ รี ยนสามารถสรุ ปขั้นตอนของกระบวนการประเมินผลหลักสู ตรได้ถูกต้อง
12. ผูเ้ รี ยนสามารถประเมินผลหลักสู ตรตามขอบเขตการประเมินที่กาหนดให้ 1 เรื่ อง
กิจกรรมการเรียนและแบบฝึ กปฏิบตั ิ
กิจกรรม 2.1 เรื่อง ความจาเป็ นในการพัฒนาหลักสู ตร
1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรี ยน หน่วยที่ 2 เนื้อหา 2.1 เรื่ อง อนิจจัง
2. ทาแบบฝึ กปฏิบตั ิ 2.1
แบบฝึ กปฏิบัติ 2.1 เรื่อง ความจาเป็ นในการพัฒนาหลักสู ตร
หลังจากอ่านเนื้อหา 2.1 เรื่ อง อนิจจัง แล้ว ท่านได้ขอ้ คิดเกี่ยวข้องกับ
หลักสู ตรว่าอย่างไร
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
กิจกรรม 2.2 เรื่อง ความหมายของการพัฒนาหลักสู ตร
1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรี ยน หน่วยที่ 2 เนื้อหา 2.2 เรื่ อง ความหมาย
ของการพัฒนาหลักสู ตร
2. ทาแบบฝึ กปฏิบตั ิ 2.2
แบบฝึ กปฏิบัติ 2.2 เรื่อง ความหมายของการพัฒนาหลักสู ตร
หลังจากอ่านเนื้อหา 2.2 เรื่ อง ความหมายของการพัฒนาหลักสู ตรแล้ว
ท่านคิดว่าการปรับปรุ งหลักสู ตรประถมศึกษา พ.ศ. 2521 มาเป็ นฉบับ พ.ศ. 2521
(ปรับปรุ ง 2533) เป็ นการพัฒนาหลักสู ตรในความหมายใด เพราะเหตุใด และการพัฒนา
หลักสู ตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษาไปเป็ นการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ในปี 2544
เป็ นการพัฒนาหลักสู ตรในความหมายใดเพราะเหตุใด
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
กิจกรรม 2.3 เรื่อง พืน้ ฐานในการจัดทาและพัฒนาหลักสู ตร
1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรี ยน หน่วยที่ 2 เนื้อหา 2.3 เรื่ อง
พื้นฐานในการจัดทาและพัฒนาหลักสู ตร
2. ทาแบบฝึ กปฏิบตั ิ 2.3
แบบฝึ กปฏิบัติ 2.3 เรื่อง พืน้ ฐานในการจัดทาและพัฒนาหลักสู ตร
ก
จงนาเครื่ องหมายหน้าข้อความต่อไปนี้ ไปใส่ ในกรอบสี่ เหลี่ยมที่
แสดงถึงข้อมูลพื้นฐานในการจัดทาและพัฒนาหลักสู ตรที่สอดคล้องกัน
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
ปฏิรูปนิยม
หลักสู ตรสร้างคุณลักษณะคนในการผลิตและการบริ โภค
ความก้าวหน้าด้านการสื่ อสารทางอินเตอร์เน็ต
นิสัยในการทางานให้สาเร็ จ ความขยัน อดทน
แรงจูงใจช่วยให้เกิดความพร้อมในการเรี ยน
(6) ธรรมชาติของมนุษย์เหมือนกันทุกแห่ง คือ ความสามารถในการใช้เหตุผล
(7) วัยผูเ้ รี ยนเกี่ยวข้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสู ตร
(8) หลักสู ตรควรปลูกฝังให้เด็กเป็ นพลเมืองดีตามลัทธิการปกครองของรัฐ
(9) การใช้พลังงานอย่างประหยัดและถูกวิธี
(10) พัฒนาการของเด็กแต่ละวัยมีลกั ษณะเฉพาะ
(11) การศึกษาคือชีวิต ชีวิตเปลี่ยน การศึกษาก็เปลี่ยน
(12) การสอนมารยาทไทย
(13) เศรษฐกิจจะดีข้ ึนอยูก่ บั คุณภาพคนในระบบเศรษฐกิจนั้น
(14) ครู ควรรู ้วา่ นักเรี ยนมีวิธีเรี ยนรู ้อย่างไร
(15) โรงเรี ยนมีหน้าที่สร้างนักเรี ยนให้เป็ นตัวของตัวเอง มีลทั ธิ ที่จะเลือกเอง
(16) การเรี ยนการสอนเน้นลักษณะประชาธิปไตย
(17) สอนให้ภูมิใจในความเป็ นไทย
(18) ทุกคนเรี ยนรู ้การออมและการรู ้จกั ใช้จ่าย
(19) การบาเพ็ญประโยชน์เพื่อหมู่บา้ นและชุมชน
(20) การเรี ยนรู ้เกี่ยวกับอาชีพที่เหมาะสมกับท้องถิ่น
พืน้ ฐานในการจัดทาและพัฒนาหลักสู ตร
ปรัชญาการศึกษา
การเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ
จิตวิทยา
สั งคม วัฒนธรรม
วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี
ข. จงบอกรายละเอียดของข้อมูลพื้นฐานในการจัดทาและพัฒนาหลักสู ตร แล้วโยงไปสู่ การกาหนดใน
องค์ประกอบของหลักสู ตร ข้อมูลพื้นฐานบางประการ อาจไปกาหนดในองค์ประกอบของหลักสู ตรหลายด้านได้
ข้ อมูลพืน้ ฐาน
องค์ ประกอบของหลักสู ตร
ปรัชญาการศึกษา
เศรษฐกิจ
สั งคมและ
วัฒนธรรม
จุดมุ่งหมาย
ประเพณี ทอ้ งถิ่น
เนือ้ หาและอัตรา
เวลาเรียน
การเมืองการ
ปกครอง
กระบวนการ
เรียนการสอน
จิตวิทยา
การวัดและ
ประเมินผล
วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี
กิจกรรม 2.4 เรื่อง รูปแบบของการพัฒนาหลักสู ตร
1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรี ยน เนื้อหา 2.4 เรื่ อง รู ปแบบของการพัฒนาหลักสูตร
2. ทาแบบฝึ กปฏิบตั ิ 2.4
แบบฝึ กปฏิบัติ 2.4 เรื่อง รูปแบบของการพัฒนาหลักสู ตร
จงบอกลักษณะเด่นและลักษณะด้อยของรู ปแบบการพัฒนาของนักการศึกษา
ที่กาหนดต่อไปนี้
ลักษณะด้อย
ลักษณะเด่น
รู ปแบบไทเลอร์
รู ปแบบทาบา
รู ปแบบสงัด อุทรานันท์
รู ปแบบเซเลอร์ อเล็ก
ซานเดอร์ และลีวิส
รู ปแบบครบวงจรของ
วิชยั วงษ์ใหญ่
กิจกรรม 2.5 เรื่อง ลาดับขั้นกระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรี ยน หน่วยที่ 2 เนื้อหา 2.5 เรื่ อง ลาดับขั้น
กระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
2. ทาแบบฝึ กปฏิบตั ิ 2.5
แบบฝึ กปฏิบัติ 2.5 เรื่อง ลาดับขั้นกระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
ก. จงจัดลาดับขั้นตอนข้างล่างนี้ใหม่ให้ถกู ต้องตาม ลาดับขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
โดยนาหมายเลขข้อความไปเรี ยงลาดับก่อนหลังในช่องขวามือจากบนลงล่าง
1. พิจารณาองค์ประกอบของหลักสู ตรที่ร่างขึ้นเพื่อตรวจสอบ
2. สร้างเอกสารหลักสู ตร
3. กาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสู ตร
4. อบรมครู เพื่อการใช้หลักสู ตร
5. คัดเลือกและจัดอันดับเนื้อหาวิชา
6. คัดเลือกและจัดอันดับประสบการณ์การเรี ยนรู ้
7. ประเมินผลโครงการพัฒนาหลักสู ตร
8. ปฏิบตั ิการสอน การบริ หาร และบริ การหลักสู ตร
9. กาหนดแนวทางการประเมินผลเนื้อหาและประสบการณ์
10. รวบรวมข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ในการพัฒนาหลักสู ตร
11. นาหลักสู ตรที่พฒั นาแล้วไปทดลองใช้
ข.
ท่านคิดว่าลาดับขั้นกระบวนการพัฒนาหลักสู ตรที่เหมาะสมของท่าน
ควรเป็ นอย่างไร
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
......................................................................................................................................
กิจกรรม 2.6 เรื่อง หลักการพัฒนาหลักสู ตร
1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรี ยน หน่วยที่ 2 เนื้อหา 2.6 เรื่ อง หลักการพัฒนาหลักสู ตร
2. ทาแบบฝึ กปฏิบตั ิ 2.6
แบบฝึ กปฏิบัติ 2.6 เรื่อง หลักการพัฒนาหลักสู ตร
จงตอบคาถามต่ อไปนี้
1. ที่วา่ “การพัฒนาหลักสู ตรมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน” หมายความว่าอย่างไร
และจะนาหลักการนี้ไปใช้ในการพัฒนาหลักสู ตรอย่างไร
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
2. ทาไมการพัฒนาหลักสู ตรจะต้องพิจารณาทุกส่ วนองค์ประกอบของหลักสู ตร
อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
3. เพราะเหตุใดการพัฒนาหลักสู ตรจึงหยุดนิ่งไม่ได้
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
4. ประโยชน์ของการใช้หลักประชาธิปไตยในการพัฒนาหลักสู ตรนั้นมี
อย่างไรบ้าง
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
5. บุคคลใดฝ่ ายใดบ้างที่ควรมีส่วนร่ วมในการพัฒนาหลักสู ตร และควรมี
บทบาทต่างกันอย่างไร
...........................................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
6. ความซื่ อสัตย์ เชื่อมัน่ ได้ในการดาเนินการพัฒนาหลักสู ตร หมายความว่า
อย่างไรและจะนาไปปฏิบตั ิในกรณี ใดบ้าง
...........................................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
กิจกรรม 2.7 เรื่อง การประเมินผลหลักสู ตร
1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรี ยน หน่วยที่ 2 เนื้อหา 2.7 เรื่ อง การประเมินผลหลักสู ตร
2. ทาแบบฝึ กปฏิบตั ิ 2.7
แบบฝึ กปฏิบัติ 2.7 เรื่อง การประเมินผลหลักสู ตร
ก. ให้สรุ ปขั้นตอนกระบวนประเมินผลหลักสูตรมาพอเข้าใจ
...........................................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
................. ..........................................................................................................................
ข. ให้ผเู้ รี ยนประเมินผลหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1 เรื่ อง ตามตัวแบบในการ
ประเมินที่ท่านสร้างขึ้นเอง ทารายงานส่ งผูส้ อนตามระยะเวลาที่กาหนด