ปรัชญาการศึกษา

Download Report

Transcript ปรัชญาการศึกษา

ปรัชญาการศึกษา
ดร.สุ มาลี พงศ์ ตยิ ะไพบูลย์
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธม มจิต โต)
 ความคิดแบบปรัชญา คือกระบวนการในการ
แก้ปัญหา ที่เริ่มต้นด้วยความสงสัยใฝ่รู้ แล้วค้นคิด
อย่างมีเหตุผลเพือ
่ แสวงหาคาตอบ
 ปรัชญา: เกิดจากธรรมชาติความอยากรูอ
้ ยากเห็น
ของคนในทุกเรือ
่ ง
 นักปรัชญา: เกิดขึน
้ เมือ
่ ประมาณ ๒,๕๐๐ ปี
 มหาวิทยาลัย: เกิดขึน
้ ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี
ปั จจัยที่มีผลต่อการกาหนดปรัชญาการศึกษา
เศรษฐกิจ
การเมือง
ประวัติศาสตร์
กฎหมาย
วรรณกรรม
ปรัชญา
การศึกษา
สังคม
วิทยาศาสตร์/
เทคโนโลยี
ึ ษา
การศก
สื่อสารมวลชนและการสื่อสาร

Manhood and womanhood are free gifts from God.
 Adulthood must be earned.
Media
Parents
Teachers
Literature
Music
Religious leaders
Professionals
http://www.utm.edu/research/iep/e/ethics.utm
Education
Meaningful(20%)
Liberal arts
Useful (80%)
Professional
subjects
พ ัฒนาการทีค
่ าดหว ัง
ึ ษา
คนมีการศก
Head
Heart
คนป่าเถือ
่ น -ในจิตใจ
Hand
ั
ึ ษา
สงคมที
ม
่ ก
ี ารศก
One never goes so far as when one
doesn't know where one is going.
Author - Johann Wolfgang von
Goethe (1749 1832)
กล่ าวถึง
1. สิ่ งประเสริฐ 3 อย่ างของโลกได้ แก่
1. ความดี
2. ความงาม
3. ความจริง
2. ความเรืองปัญญา และ คุณธรรม
(wisdom & goodness)
ึ ษา
ปร ัชญาการศก
“การรูจ้ กั คิด บ่งบอกถึงความเป็ นคน”
Characteristics of an Effective Teacher





Up-to-date professional knowledge, skill and competence
in the subject
AFFECTIVE CHARACTERISTICS: love of the subject, a
desire to share that love with others, a willingness to go on
learning, a desire to help others learn and develop, etc.
An understanding of how people learn
PERSONAL CHARACTERISTICS: a sense of humour,
patience, confidence, capacity for hard work
Competence with teaching techniques, including
audiovisual and other methods, competence with
assessment methods
คุรุฐานิยธรรม (กัลยาณมิตรธรรม)





ปิโย – เป็นที่รกั (เพราะทาตนให้เป็นที่รกั )
ครุ - เป็นทีเ่ คารพ (เพราะหนักแน่น)
ภาวนีโย – เป็นทีส่ รรเสริญ (เพราะมีความรู้ เชี่ยวชาญ)
วัตตา – เป็นผูว้ า่ กล่าว เพียรพร่าสอน พร่าเตือน
วจนักขโม – เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคา แม้ถูกกระทบกระทัง่
เสียดสี ลองภูมิ
 คัมภีรังกถังกัตตา – เป็นผูก
้ ล่าวถ้อยคาลึกซึง้ สอนเรือ
่ งที่
ลุ่มลึกให้เข้าใจแจ่มแจ้งได้
 โนจัฏฐาเน นิโยชเย -พึงนาไปในฐานะทีด
่ ี
ครุ
ปิโย
โนจัฏฐาเน
นิโยชเย
คัมภีรณังกถังกัต
ตา
ภาวนีโย
วัตตา
วจนักขโม
A tree is known by its fruits.
มโนท ัศน์เกีย
่ วก ับน ักเรียน
• A child is not a vase to be filled, but
a fire to be lit. FranÇois Rabalais
• เด็กมิใช่แจกันทีผ
่ ู้ใหญ่จะเลือกปักดอกไม้ได้
ตามใจ แต่เป็นไฟทีต
่ ้องจุดให้เกิดประกาย
ึ ษา: นิยาม
ปร ัชญาการศก
The philosophy of education is the study of the
purpose, process, nature and ideals of
education. This can be within the context of
education as a societal institution or more
broadly as the process of human existential
growth, i.e. how it is that our understanding of the
world is continually transformed via physical,
emotional, cognitive and transcen-dental
experiences. It can naturally be considered a
branch of both philosophy and education.
Some influential educational philosophers in
Western culture
• Plato: to differentiate children suitable to the various
castes, the highest receiving the most education, so that they
could act as guardians of the city and care of the less able.
Education would be holistic, including facts, skills, physical
discipline, and music and art, which he considered the highest
form of endeavour.
• Aristotle: considered human nature, habit and reason to be
equally important forces to be cultivated in education. One
of education’s primary missions for Aristotle, perhaps its most
important, was to produce good and virtuous citizens for the
polis.
Philosophy of Education
• Aristotle’s philosophy (cont’d): All who have
mediated on the art of governing mankind have
been convinced that the fate of empires depends
on the education of youth.
• Rudolf Steiner (1861-1925): emphasizes a balance of
developing the intellect (head), feeling and artistic
life (or heart), and practical skills (or hands). The
education focuses on producing free individuals,
and Steiner expected it to enable a new, freer
social order to arise, through the creative, free
human beings that it would develop.
ปรัชญา (Philosophy)
ไพทากอรัส (Pythagoras) เมธียคุ กรีก
ใช้เป็ นครัง้ แรกเท่าทีเ่ ริม่ มีการบันทึก
 คาว่า Philosophy มาจากคาในภาษากรีกทีว่ า่
Philos = ความรัก ความสุขใจ ความเลือ่ มใส
+
Sophia = ความรู้ ความสามารถ ความฉลาด ปญั ญา
เมือ่ รวมกันแล้วจะมีความหมาย = Love of Wisdom

ความหมายตามรูปศัพท์ จากรากศัพท์นี้ เน้ นที่ ทัศนคติ
นิสยั ความตัง้ ใจ และกระบวนการแสวงหาความรู้
คาว่า “ปรัชญา” ในภาษาไทย พระเจ้าวรวงศ์เธอกรม
หมืน่ นราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงบัญญัตใิ ห้ใช้คาว่า
ปรัชญา ซึง่ มีความหมาย = ความรูอ้ นั ประเสริฐ
ความรอบรู้ รูก้ ว้างขวาง

เน้นทีต่ วั ความรูห้ รือผูร้ ู้ ทีเ่ ป็ นความรูอ้ นั ลึกซึง้
ลักษณะของปรัชญา
1) ทาหน้ าทีร่ วบรวมรายละเอียดต่ างๆ ของโลก และชีวติ ไว้ ท้ังหมด
2) พยายามหาคาตอบทีเ่ ป็ นจริง ที่เป็ นนิรันดร์ สามารถอธิบายสิ่ งต่ างๆ
ที่เกิดขึน้ ได้
3) ใช้ วธิ ีการทางตรรกวิทยา ในการหาความจริง (ความเป็ นเหตุ เป็ น
ผล)
4) เนือ้ หาของปรัชญาจะเปลีย่ นแปลงตามยุค ตามสมัย เพือ่ ก่ อให้ เกิด
ประโยชน์ ต่อมวลมนุษยชาติ
สาขาของปรัชญา 3 สาขาหลัก
1) อภิปรัชญา (Metaphysics) หรือ
ภววิทยา (Onthology) เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับ
ความจริง (Reality)
เพื่อค้นพบ ความจริงทีส่ ู งสุ ด (Ultimate Reality)
คือ ความจริ งที่เป็ นธรรมชาติ จิตวิญญาณ
รวมทั้งเรื่ องพระเจ้า อันเป็ นบ่อเกิดของศาสนา
2) ญาณวิทยา (Epistemology)
การศึกษาเกีย่ วกับเรื่อง ความรู้ (knowledge)
ธรรมชาติของความรู้
บ่ อเกิดของความรู้
ขอบเขตของความรู้
อาจได้ มาจากแหล่ งต่ างๆ เป็ นคัมภีร์ในศาสนาต่ างๆ ตารา
การสั งเกต
3) คุณวิทยา (Axiology)
ศึกษาเรื่ องเกี่ยวกับ คุณค่ า หรื อ ค่ านิยม (Values)
แบ่งเป็ น 2 ประเภท
3.1 จริยศาสตร์ (Ethics)
คือ คุณค่าแห่งความประพฤติ หลักแห่งความดี ความถูกต้อง เป็ น
คุณค่าภายใน
3.2 สุ นทรียศาสตร์ (Anesthetics)
คือ คุณค่าความงามทางศิลปะ เป็ นคุณค่าภายนอก
เบอทรัน รัสเซล (Bertrand Russell) ได้กล่าวว่า
“ปรัชญา จะอยูก่ ่ ึงกลางระหว่าง เทววิทยา (Theology)
และ วิทยาศาสตร์ (Science)
เหมือนเทววิทยา ตรงที่วา่ ด้วยเรื่ องที่ไม่สามารถหาความรู้ได้
อย่างแน่นอน
เหมือนวิทยาศาสตร์ ตรงที่ใช้หลักเหตุผล ยิง่ กว่าอาศัยอานาจอื่น
ใดเป็ นเกณฑ์”
ปรัชญาการศึกษา ตามความคิดของ Godfrey Thomson
ใน A Modern Philosophy of Education
“… การพิจารณาดูการศึกษาโดยตลอด แล้ วพยายามทีจ่ ะได้
ความคิดทีล่ งรอยเกีย่ วกับการศึกษาทั้งหมดนั้นให้
สมเหตุสมผล และให้ ใช้ ได้ ผลมากทีส่ ุ ดเท่ าทีจ่ ะทาได้ …”
กล่าวถึง
1. สิ่ งประเสริฐ 3 อย่ างของโลกได้ แก่
1. ความดี
2. ความงาม
3. ความจริง
2. ความเรืองปัญญา และ คุณธรรม
(wisdom & goodness)
ึ ษา
ปรัชญาการศก
“การรูจ้ กั คิด บ่งบอกถึงความเป็ นคน”
ปรัชญาพืน้ ฐาน ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการศึกษา ได้ แก่
1. ลัทธิจิตนิยม (Idealism) ถือจิตเป็ นสิ่ งสาคัญ
(The World of Mind) บิดาของลัทธิน้ ี คือ Plato
ที่เชื่อว่า การศึกษาคือการพัฒนาจิตใจมากกว่าอย่างอื่น ส่ งเสริ ม
การพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ศิลปะต่างๆ การจัดการศึกษา จึง
เน้นอักษรศาสตร์ & ศิลปะศาสตร์
การเรี ยนการสอนใช้หอ้ งสมุด เป็ นแหล่งค้นคว้า ถ่ายทอด
2) ลัทธิวตั ถุนิยม หรือสั จจนิยม (Realism)
มีความเชื่อในโลกแห่งวัตถุ (The World of
Things) ถือว่า ความจริ งที่แท้ คือ วัตถุที่ปรากฏต่อ
สายตา สัมผัสได้ บิดาคือ Aristotle
เป็ นต้นกาเนิดของการศึกษาทางวิทยาศาสตร์
3) ลัทธิประสบการณ์ นิยม (Experimentalism)
หรื อ เรี ยกว่า ปฏิบัตนิ ิยม (Pragmatism)
เชื่อในสิ่ งที่พบเห็นในชีวติ ประจาวัน และสิ่ งทีม่ นุษย์คิด
กระทา รู้สึก จนเกิดการเปลี่ยนแปลงในผูก้ ระทา
ผูน้ าความคิดนี้คือ
William James และ John Dewey
โดย James เชื่อว่ า
ประสบการณ์ + การปฏิบัตเิ ป็ นสิ่ งสาคัญ
ส่ วน Dewey เชื่อว่ า
มนุษย์ จะได้ รับความรู้ เกีย่ วกับสิ่ งต่ างๆ จากประสบการณ์
เท่ านั้น
“การศึกษาในแนวคิดนี้ จะเชื่อในการลงมือกระทา เพือ่ หา
ความจริงด้ วยคาตอบของตนเอง”
4) ลัทธิอตั ถิภาวะนิยม (Existentialism)
เชื่อในสิ่ งทีม่ ีอยู่จริงๆเท่ านั้น (The World of Existing)
ปรัชญานีจ้ ะให้ ความสิ่ งสาคัญกับมนุษย์ ว่ามีความสาคัญสู งสุ ด
มีความเป็ นตัวของตัวเอง สามารถเลือกกระทาสิ่ งใดๆ ได้ตาม
ความพอใจ แต่ ต้ องรับผิดชอบในสิ่ งที่กระทานั้นๆ
สรุป ปรัชญาการศึกษา คือ
แนวความคิด
หลักการ
ในการกาหนดแนวทางการจัดการศึกษา
กฎเกณฑ์
นักการศึกษาได้ ยดึ เป็ นหลักในการดาเนินการทางการศึกษา
เพือ่ ให้ บรรลุเป้าหมาย และวิเคราะห์ ทาความเข้ าใจ เกีย่ วกับ
การศึกษา
“ปรัชญาการศึกษา เปรียบเสมือนเข็มทิศ”
ลัทธิปรัชญาการศึกษามีหลายลัทธิ
ทีน่ ิยมกว้ างขวาง ได้ แก่
1) ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม
(Essentialism)
2) ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม
(Perennialism)
3) ปรัชญาการศึกษาพิพฒั นาการนิยม
(Progressivism)
ลัทธิปรัชญาการศึกษามีหลายลัทธิ
ทีน่ ิยมกว้ างขวาง (ต่ อ)
4) ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม
(Reconstructionism)
5) ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวะนิยม
(Existentialism)
กิจกรรมค้ นคว้ า และนาเสนอ
ให้นกั ศึกษา ป. โท ค้นคว้ารายละเอียด แต่ละปรัชญาทางการศึกษา
และแนวคิดที่เกี่ยวข้อง
ตามหัวข้อที่ให้เลือก ในคาบวันอาทิตย์ที่ 12 มิ.ย. 2554

นาเสนอพร้อมการเขียนบทความสอดแทรกปรัชญาการศึกษาเข้าไปด้วย โดยให้
วิเคราะห์วา่ สาระวิชาที่ท่านสอนเกี่ยวข้องกับ
1. ปรัชญาการศึกษาใด เช่นสารัตถนิยม นิรันตรนิยม พิพฒั นการนิยม
ปฏิรูปนิยม อัตถิภาวะนิยม ฯลฯ
2. แนวคิดจิตวิทยากลุ่มใด เช่น พฤติกรรมนิยม ปั ญญานิยม
มนุษยนิยม ปั ญญาทางสังคม จิตวิเคราะห์ ฯลฯ
3. ทฤษฏีการเรี ยนรู้ต่างๆ นักจิตวิทยาการเรี ยนรู้ค่ายต่างๆ
ปรัชญา
การศึกษา
ทฤษฎีการ
ศึกษา
ปรัชญาจิตวิทยา
ตัวแปรวิจัยใน
ทฤษฎีจิตวิทยา
ทฤษฎีการเรียนรู้
Thesis ทฤษฎีพฒั นาการมนุษย์
ทฤษฏีบุคลิกภาพ
ทฤษฎีการจูงใจ
ทฤษฎีจิตวิทยาการสอน