ภาวะผูน้ า จิตวิญญาณ และการพัฒนามนุษย์ รศ. เรณู อาจสาลี คณะพยาบาลศาสตร์ ม.เวสเทิรน์ กาญจนบุรี 21 กุมภาพันธ์ 2557 การเป็ นผูน้ าทางจิตวิญญาณ หมายถึง การมุง่ เน้นฝึ กฝนกล่อมเกลาจิตใจ ได้เข้าสูค่ วามดี งาม ความมีคณ ุ ธรรมจริยธรรม เคารพผูอ้

Download Report

Transcript ภาวะผูน้ า จิตวิญญาณ และการพัฒนามนุษย์ รศ. เรณู อาจสาลี คณะพยาบาลศาสตร์ ม.เวสเทิรน์ กาญจนบุรี 21 กุมภาพันธ์ 2557 การเป็ นผูน้ าทางจิตวิญญาณ หมายถึง การมุง่ เน้นฝึ กฝนกล่อมเกลาจิตใจ ได้เข้าสูค่ วามดี งาม ความมีคณ ุ ธรรมจริยธรรม เคารพผูอ้

ภาวะผูน้ า จิตวิญญาณ และการพัฒนามนุษย์
รศ. เรณู อาจสาลี
คณะพยาบาลศาสตร์
ม.เวสเทิรน์ กาญจนบุรี
21 กุมภาพันธ์ 2557
การเป็ นผูน้ าทางจิตวิญญาณ
หมายถึง การมุง่ เน้นฝึ กฝนกล่อมเกลาจิตใจ ได้เข้าสูค่ วามดี
งาม ความมีคณ
ุ ธรรมจริยธรรม เคารพผูอ้ น่ื เอื้อเฟื้ อ เห็นอก
เห็นใจผูอ้ น่ื ลดละความเห็นแก่ตวั และกิเลศตัณหา โดยใช้หลัก
ของศาสนา หรืออาจใช้หลักทางการศึกษา หรือใช้หลักพัฒนาการ
ด้านคุณธรรม
การเรียนรูภ้ ายในตน
คือ การเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาตนเองในด้านอารมณ์ จิตใจ และ จิตวิญาญาณ
การเรียนรูบ้ ูรณาการ
พัฒนาผูเ้ รียนอย่างน้อย ๕ ด้าน
พัฒนาการด้านพุทธิปัญญา (intellectual development)
- พัฒนาการด้านอารมณ์ (emotional development)
- พัฒนาการด้านสังคม (social development)
- พัฒนาการด้านกายภาพ (Psysical development)
- พัฒนาการด้านจิตวิญญาณ (spiritual development)
-
การเป็
ผูน้ าทางด้
าในด้านใด
นใด ผูค้ นสัมผัสได้จากพฤติกรรม การกระทา
การเป็นนผู
ทีส่ ะท้อนถึงความมีจติ ใจสูงได้แก่
• ความซือ่ สัตย์สุจริต
• การเห็นแก่สว่ นรวม
การพัฒนาทางจิตวิญญาณ เป็ นการพัฒนาการอย่างพลวัตตาม
ปั จจัยต่าง ๆ ในสังคม การเป็ นอาจารย์ในสถาบันอุคมศึกษา ก็ได้
ทาหน้าทีเ่ ป็ นผูน้ า ทางจิตวิญญาณผ่านภารกิจสร้างสรรค์ทาง
ทางวิชาการอีกทางหนึ่ง
การเปลีย่ นแปลงของจิตสานึก
กับงานจิตวิทยาเท่าทันตัวตน
การเปลีย่ นแปลงของจิตสานึก
เป็ นส่วนสาคัญของการพัฒนามนุษย์ เป็ นการเปลีย่ นแปลงใน
ระดับลึก ทีส่ ง่ ผลต่อจิตวิญญาณของแต่ละบุคคล เป็ นการเปลี่ยนแปลงจะ
เกิดขึ้นจากภายในก่อน และส่งผลออกมาสูภ่ ายนอกผ่านการเลือกกระทาสิง่
ต่าง ๆ อย่างตระหนักรูแ้ ละเท่าทัน และยอมรับผลของการกระทาทีเ่ ลือกนัน้
ด้วยสภาวะทีม่ น่ั คง สงบ และปลอดโปร่ง
การเปลีย่ นแปลงของจิตสานึก
เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทีส่ ลับซับซ้อนเป็ นพลวัต
ตลอดชัว่ ชีวติ มนุษย์โดยมีเป้ าหมายอันสูงสุด คือการมีสติ
ตระหนักรู ้ และเกิดการหลอมรวม บรูณาการ ของ กาย ใจ
และ จิตวิญญาณเข้าด้วยกัน
คนที่รจู ้ กั ตนเอง เข้าใจตนเอง ค้นพบตนเองและเข้าถึง
ความสมบูรณ์ของศักยภาพที่ตนมี
การเปลีย่ นแปลงของจิตสานึกผ่านงาน
Voice Dialogue
• งานทีพ่ ฒ
ั นามาจาก ดร. ฮัล และ ชิครา สโตนส์ นักจิตวิทยา
ที่ ได้พฒ
ั นาเป็ นทฤษฎี จิตวิทยาตัวตน
• โดยใช้เครือ่ งมือสัมภาษณ์ตวั ตน (voice dialogue)
การเปลีย่ นแปลงของจิตสานึกสามารถเกิดขึ้นได้ ๓ ระดับ
 ระดับแรก
ระดับของการมีสติ
 ระดับทีส่ อง ระดับของการมีประสบการณ์กบั ตัวตนต่างๆ
 ระดับทีส่ าม ระดับของผูก้ ระทาการทีร่ ูเ้ ท่าทัน
กระบวนการเท่าทันตัวตน (aware ego process)
จะเกิดขึ้นได้เมื่อบุคคลมีสติตระหนักรูแ้ ละมีประสบการณ์ตรง
หลักของงาน voice dialogue
แก่ผูส้ มั ภาษณ์ตวั ตน (Voice Dialogue Facilitator)
องค์ประกอบการสัมภาษณ์ตวั ตน
๑ การสารวจตัวตนภายใน (Exploration of Subpersonalities)
๒ แยกแยะอีโก้ หรือ ผูก้ ระทาการได้ชดั ขึ้น (Clarification of ego)
๓ การพัฒนาตัวสติ (Enhancement of Awareness)
จิตตปั ญญาศึกษา
เป็ นกระบวนการศึกษาในตนเองและเชือ่ มโยงออกสูส่ รรพสิง่
อย่างเป็ นองค์รวม สามารถนามาประยุกต์เข้ากับการสอนในเรื่อง
การดูแลมนุษย์ อย่างเป็ นองค์รวมได้
ช่วยให้เกิดการเรียนรูก้ บั ตัวตน
และครอบครัวได้ดี
การเรียนรูเ้ ชิงจิตตปั ญญาศึกษามี 7 องค์ประกอบ
มุง่ เน้นให้เกิดการใคร่ครวญภายในใจตนเอง
 การพิจารณาตระหนักรูจ้ ากความรูส้ ึกส่วนลึกภายใน (Ccntemplation)
 ความรักความเมตรา (Compassion)
่ื และสิ่งอืน่ อย่างรอบด้าน (Connection)
 เชือ่ มความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับผูอ้ น
 เผชิญหน้ากับความจริง (Confronting)
 หลักความต่อเนื่อง (Continuit)
่ (Commitiment)
 หลักความมุง่ มัน
 หลักชุมชนแห่งการเรียนรู ้ (Community)
กระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดของจิตตปั ญญา
(Contemplative Education)
เป็ นการเรียนการสอนทีม่ ุง่ เน้นให้ผเู ้ รียนได้เรียนรูจ้ ากด้านใน
ของตนเอง เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง(Transformative learning)
และนาไปสูก่ ารเข้าใจบุคคลอืน่ เพิ่มมากขึ้น
การจัดกระบวนการการสอนตามแนวจิตตปั ญญาศึกษา
สามารถสร้างการเรียนรูอ้ ย่างลึกซึ้ง ทาให้เกิดการหยัง่ รูภ้ ายใน
และ กระทบต่อสภาวะตัวตนด้านในของผูเ้ รียน ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรม เจตคติ ทัศนคติทยี่ งั่ ยืน
ผลของการฝึ กเจริญสติต่อการตระหนักรูต้ นเอง
่ ึ กง่าย
 การเจริญสติเป็ นเทคนิคทีฝ
สะดวก สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวันได้ดมี ากการเรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและการ
ทางานในอิริยาบถต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวันได้ ทาให้จติ สงบผ่อนคลาย เข้าใจ
ธรรมชาติของอารมณ์ตา่ ง ๆ ความคิดฟุ้ งซาน กังวลลดลง
 มีความเครียดในจิตใจลดลง มีความเมตตาต่อผูอ้ น
ื่ เพิ่มขึ้น ในสภาวะทีม่ ีสติจะ
ทาให้จติ มีสมาธิและตัง้ มัน่ มีความสงบผ่อนคลาย ฝึ กบ่อยจะมีสติเพิ่มขึ้น เกิด
เป็ นปั ญญาภายในจิต ทีจ่ ะรูท้ นั อารมณ์และความคิดฟุ้ งซาน เห็นความไม่เทีย่ ง
แล้วปล่อยวาง
 ทาให้ความเครียดและกังวลลดลง สามารถเข้าใจตนเอง รูท
้ นั ความคิด
อารมณ์ ทาวานและเรียนได้ดขี ้ ึน มีสมาธิมากขึ้น ความผิดพลาดน้อยลง รูจ้ กั
ว่างแผนงาน คิดก่อนทารวมทัง้ มีความคิดสร้างสรรค์
การเจริญสติ
คือการฝึ กจิตให้รูอ้ ยูก่ บั ปั จจุบนั เริม่ ต้นให้รูอ้ ยูท่ กี่ าย รู ้
ถึงอารมณ์ และความคิด เมื่อจิตรูอ้ ยูก่ บั ปั จจุบนั ความคิดจะสงบ
เป็ นความสงบทีแ่ ท้จริง ทีอ่ อกจากความคิด จิตว่าง เป็ นกลาง มี
อิสสระ ความทุกข์ ก็ลดน้อยลง เพราะความทุกข์เกิดจาก
ความคิด ปั ญญาจะช่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้และสามารถ
พัฒนาศักยภาพของตนเองได้ทุกด้าน (ประเวศ วสี ๒๕๔๗)
จิตตปั ญญาศึกษา
เป็ นการศึกษาทีม่ ุง่ พัฒนาความเป็ นมนุษย์ ด้วยการ
ปลูกฝังความตระหนักภายในตน ความเมตตา และจิตสานึกต่อ
ส่วนรวม เน้นการนาปรัชญาและศาสนาธรรมพัฒนาจิต ฝึ ก
ปฏิบตั จิ นมีสติและเกิดประโยชน์แก่ตนเอง ผูอ้ นื่ และสังคมได้
กิจกรรมหลักทีใ่ ช้ ได้แก่ กิจกรรมสุนทรียศิลป์ กิจกรรมโยคะ
กิจกรรมสุนทรียสนทนา กิจกรรมผ่อนคลายตระหนักรู ้ และ
กิจกรรมการสะท้อนคิด
กิจกรรมสุนทรียศิลป์
เป็ นการสัมผัสสิง่ สวยงามทีเ่ กิดจากธรรมชาติความงามที่
เกิดจากศิลปะ เป็ นประสบการณ์ทเ่ี กิดเป็ นผลรวมทีส่ มบูรณ์ของ
การกระทบรูจ้ ากศิลปะทางภาพลักษณ์หรือศิลปะทางการเห็น การ
ศิลปะการเคลื่อนไหวหรือศิลปะการแสดง เพื่อสร้างเสริมให้การ
ดาเนินชีวติ ได้รบั รูใ้ นคุณค่าของความงามอันจะนาไปสูค่ วามสานึก
ในคุณค่าแห่งสุนทรียะ เพื่อสนองจิตและวิญญาณให้พฒ
ั นาไปสู่
ความเป็ นอิสระทางปั ญญา กิจกรรมทีอ่ บรมได้แก่ ทัศนศิลป์
ดนตรี และนาฎศิลป์
กิจกรรมโยคะ
เป็ นวิธกี ารทีช่ ว่ ยเสริมสร้างสุขภาพกายและจิตให้คงสภาพ
สมดุลอยูเ่ สมอ เมื่อปฏิบตั อิ ยูเ่ สมอจะช่วยให้จติ ใจผ่อนคลาย มีสติ
อยูก่ บั ตน
กิจกรรมสุนทรียสนทนา
เป็ นกิจกรรมร่วมกันเป็ นกลุม่ โดยมีขอ้ ตกลงเบื้องต้น
เป็ นการสือ่ สารอย่างสันติทส่ี ามารถเข้าไปรับฟังได้อย่างลึกซึ้ง
กิจกรรมผ่อนคลายตระหนักรู ้
เป็ นการฝึ กสิต สมาธิ ตระหนักรูท้ ุกขณะทีเ่ กิดขึ้นภายใน
กิจกรรมประกอบด้วยการฝึ กสติ การสวดมนต์ การผ่อนคลาย
ด้วยเสียงตนตรี การเดินจงกรมและกาหนดรูล้ มหายใจ
กิจกรรมการสะท้อนคิด
เป็ นการพิจารณาสิง่ ต่าง ๆ อย่างใคร่ครวญทัง้ นี้หลักใน
การจัดกิจกรรมพิจารณาตามหลักจิตตปั ญญา 7 ได้แก่ หลักการ
พิจารณาด้วยใจอย่างใคร่ครวญ หลักความรักความเมตตา
หลักการเชือ่ มโยงสัมพันธ์ หลักการเผชิญหน้า หลักความ
ต่อเนื่อง หลักพันธะสัญญา และ หลักชุมชนแห่งการเรียนรู ้
สถาบันอุดมศึกษา
เป็ นแหล่งศึกษาเรียนรูฝ้ ึ กฝนศิลปะวิทยาการอย่างเป็ น
องค์รว่ ม บทบาทด้านจิตวิทญญาณ ย่อมบูรณาการอยูใ่ น
การศึกษาทีด่ าเนินไปอย่างถูกต้อง ส่วนหนึ่งผ่านไปยังภาคส่วน
ของสังคม สถาบันย่อมมีโอกาสในการพัฒนาตนเองด้านจิต
วิญญาณ ร่วมกับการทาหน้าทีเ่ ป็ นผูน้ าทางจิตวิญญาณให้กบั
สังคม
Good bye
สวัสดีคะ่