การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในชุมชน

Download Report

Transcript การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในชุมชน

ทัศนมิติของการพัฒนา
ทรัพยากรมน ุษย์และช ุมชน
(Perspectives of HCRD)
ผศ.น.ท.ดร.สุมิตร สุวรรณ
วิธีการพัฒนาทรัพยากรมน ุษย์ในช ุมชน
• การฝึ กอบรม/ประชุม/สัมมนา
• การศึกษาดูงาน/ทัศนศึกษา
• การแลกเปลี่ยน/การเรียนรู ้
• การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ
• การจัดห้องสมุด/แหล่งเรียนรู ้
• การมีส่วนร่วม
• ประชาสังคม
• การสร้างเครือข่าย
• การศึกษาชุมชน
• การพัฒนาคุณภาพชีวิต
• วัฒนธรรมท้องถิ่น/ชุมชน
• การเสริมสร้างเศรษฐกิจ
การเรียนร ้ ู
นักมนุษยนิยม (Humanism)
• ให้ความสาคัญกับผูเ้ รียน โดยเน้นศักดิ์ศรี
ความเป็ นมนุษย์
• ผูเ้ รียนได้รบั ประสบการณ์ตา่ งๆ และ
จะสามารถตัดสินใจได้ดว้ ยตัวเอง
การเรียนร ้ ู
หลักการเรียนรูท้ ี่เน้นผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง
• เป็ นความต้องการ/ความสนใจ/เกี่ยวข้องกับ
การดาเนินชีวิตของผูเ้ รียน
• มีส่วนสร้างสรรค์ความรู ้ และเป็ นผูท้ ี่เชื่อมโยงความรู ้
ด้วยตนเอง มีความรูส้ ึกว่าตนเองมีส่วนได้ส่วนเสีย
ในการเรียนรูน้ ้นั
การมีสว่ นร่วม
• กระบวนการดาเนินงานร่วมกันระหว่างประชาชน
องค์กรรัฐ องค์กรเอกชน
• ได้โครงการที่ตรงกับปั ญหา/ความต้องการ
• ประชาชนยอมรับและรูส้ ึกเป็ นเจ้าของ
• พัฒนาขีดความสามารถประชาชนมากขึ้น
การมีสว่ นร่วม
กระบวนการ...
• ร่วมคิดค้นหาปั ญหา/สาเหตุ/ความต้องการ
• ร่วมวางแผนโครงการแก้ปัญหา/สนองความต้องการ
• ร่วมปฏิบตั ิตามแผนงาน/โครงการ
• ร่วมติดตามและประเมินผลโครงการ
การมีสว่ นร่วมและการเรียนรู้
การมีสว่ นร่วม
การศึกษาช ุมชน
การประเมินผล
การปฏิบตั ิ
การเรียนรู้
การวางแผน
ประชาสังคม (Civil Society)
การที่คนในสังคมซึ่งมีจติ สานึก
(Consciousness) มารวมกันด้วย
ความรักและความเอื้ออาทรให้เกิด
ความร่วมมือกัน เช่น มูลนิธิ
สมาคม ชมรม ชุ มนุ ม เครือข่าย
กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมู่บา้ น...
ประชาสังคม (Civil Society)
กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง...
• รัฐบาล พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ
• เป็ นแหล่งทุนหมุนเวียน
• พัฒนาอาชีพ รายได้
• ให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน
• ให้พึ่งตนเองได้อย่างยั ่งยืน
• กระตุน้ เศรษฐกิจในฐานราก
การสร้างเครือข่าย
ขั้นที่ 1 การจัดตั้งกลุม่
- การค้นหาผูน้ า
- กาหนดความต้องการ
- การเข้าร่วมกลุม่ โดยสมัครใจ ซื่อสัตย์และภักดี
- สิ่งแวดล้อมที่คล้ายคลึงกัน
- มีวยั ใกล้เคียงกัน
- เพศเดียวกัน
- ความสัมพันธ์ไม่ขดั แย้ง
- สถานการณ์บีบตัว
การสร้างเครือข่าย
ขั้นที่ 2 การเคลื่อนไหวของกลุม่
- การประชุมพบปะแลกเปลี่ยน
- การส่งเสริมแนวคิด ยกระดับจิตของสมาชิก
- การมีระเบียบวินยั /กฎเกณฑ์ของกลุม่
- การส่งเสริมสัมพันธภาพบุคคล
- การส่งเสริมกิจกรรม
- การส่งเสริมวิชาการ/ความรู ้
- การส่งเสริมผลประโยชน์รว่ ม
- การส่งเสริมและดารงไว้ซึ่งสถานภาพผูกพัน
การสร้างเครือข่าย
ขั้นที่ 3 การเจริญเติบโตของกลุม่
- การทากลุม่ เล็กให้เป็ นกลุม่ ใหญ่
- การนาตัวแทนของแต่ละกลุม่ มารวมกัน
- การสร้างผลประโยชน์รว่ ม
- การสร้างกิจกรรมพึ่งพา
- การสนธิวิชาการ/ความรู ้
- การสร้างพลังร่วม (ทุน วิชาการ กาลังคน)
- การลดความสิ้นเปลือง
- การสร้างพลังต่อรอง
การศึกษาช ุมชน
ชยันต์ วรรธนะภูต.ิ ..
เป็ นการศึกษาและอธิบายอย่างเป็ นระบบว่า
ชุมชนนั้นมีสภาพโดยรวมเป็ นอย่างไร
มีเงื่อนไขทาง ด้านสิ่งแวดล้อม รูปแบบการผลิต
การทามาหากิน ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก
การจัดระเบียบสังคม โครงสร้างอานาจ
ชาวบ้านวิธีการแก้ปัญหาเป็ นอย่างไร...
การศึกษาช ุมชน
วิธีการ...
1.การศึกษาชุมชนแบบเอกสาร
2.การศึกษาชุมชนแบบสารวจ
3.การศึกษาชุมชนแบบมีส่วนร่วม
- การสังเกต
- การสัมภาษณ์
- การสนทนากลุม่
การศึกษาช ุมชน
การวิเคราะห์ชุมชน (กาญจนา แก้วเทพ)
1.ดูมิติทางประวัติศาสตร์ (อดีต-ปั จจุบนั )
2.วิเคราะห์เชิงโครงสร้าง มีระบบ ระเบียบ
3.วิเคราะห์/สารวจปั ญหา ความสามารถ ศักยภาพ
4.เครือข่าย กลไก เงื่อนไขที่เสริมสร้าง
สืบทอดหรือทาลายเหตุการณ์น้นั ๆ
การศึกษาช ุมชน
กาญจนา แก้วเทพ...
1.มนุษย์มีลกั ษณะเป็ นองค์รวม (Holistic) เช่น
เรื่องข้าว
2.มนุษย์เป็ นศูนย์กลาง ต้องสร้างกระบวนการ
และเงื่อนไขที่เหมาะสม
3.ต้องแยกวัฒนธรรมออกเป็ นระดับต่างๆ
เพื่อการเข้าใจและการพัฒนาที่เหมาะสม
การพัฒนาค ุณภาพชีวิต
 มีปัจจัย 4 (อาหาร ที่อยู่ เสื้อผ้า ยารักษาโรค ...)
 มีสวัสดิการ
 มีสิ่งอานวยความสะดวก
 มีโครงสร้างพื้นฐาน
 มีเงิน...
การพัฒนาค ุณภาพชีวิต
แบ่งออกเป็ น 4 ด้าน
1. ทางกาย - มีรา่ งกายที่แข็งแรงสมบูรณ์
2. ทางจิต - มีความสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด
3. ทางสังคม - ครอบครัว ที่ทางาน เพื่อนบ้าน
4. ทางปั ญญา - ลดละความเห็นแก่ตวั
การพัฒนาค ุณภาพชีวิต
• การบริโภคอาหาร
• การออกกาลังกาย
• การให้ทาน
• การฝึ กสมาธิ
• การฟั งเพลง
• การพักผ่อน
• การท่องเที่ยว
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
การพัฒนาค ุณภาพชีวิต
• การสร้างการยอมรับ
• การบาเพ็ญประโยชน์
• การปฏิบตั ิตนจารีตประเพณี
ศีลธรรม และกฎหมาย
• การศึกษา
• การอ่านหนังสือ
• การฝึ กอบรม
ด้านสังคม
ด้านปั ญญา