5. อ.ศิริพร_การให้คำปรึกษา

Download Report

Transcript 5. อ.ศิริพร_การให้คำปรึกษา

การให้คาปรึกษา
ความหมายและวิธกี าร
โดย ศิริพร สะโครบาเน็ค
เนือ้ หาของเรือ่ งการให้คาปรึกษา
การให้ คาปรึกษาคืออะไร
ใครบ้ างที่ต้องการคาปรึกษา
ใครบ้ างที่สามารถให้ คาปรึกษา
 วิธกี ารให้ คาปรึกษา
ความรุนแรงในครอบครัวต้ องเกิดขึ้นในบ้ านเท่านั้น ?
ใครบ้างต้องการคาปรึกษา ในปริบทของความรุนแรงในครอบครัว
ใครบ้างทีส่ ามารถให้คาปรึกษา ในปริบทของความรุนแรงในครอบครัว
การให้คาปรึกษา คือ
 การบริการที่ให้ แก่บุคคลซึ่งกาลังประสบปัญหา และต้ องการความ
ช่วยเหลือจากผู้มีประสบการณ์ มีความรู้ในการให้ คาปรึกษา
 ตระหนักว่าปัญหาที่ประสบอยู่มีผลต่อตัวบุคคล ทาให้ เกิด
ความเครียด ความเจ็บปวด หากไม่ได้ รับการแก้ ไขจะมีผลต่อการ
พัฒนาความสามารถ ความสัมพันธ์ ต่อการดารงชีวิตอย่างปกติสขุ
 การให้ คาปรึกษาอยู่บนพื้นฐานความเข้ าใจในมนุษย์ และเห็น
ศักยภาพของผู้ประสบปัญหาว่าสามารถปรับเปลี่ยนแก้ ไขปัญหา
ของตนได้
 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้รับคาปรึกษาและผู้ให้ คาปรึกษา
การให้คาปรึกษาเกีย่ วข้องกับคนสองคน
• คนที่ประสบปัญหาต้ องการความช่วยเหลือ
• คนที่ให้ คาแนะนาซึ่งได้ รับการฝึ นฝนให้ มีทกั ษะเป็ น
มืออาชีพในการช่วยเหลือแก้ ไขปัญหา
• กระบวนการที่เป็ นมิตร เอื้ออาทร คิดเชิงบวก
• เป้ าหมายเพื่อให้ ผ้ ูท่ตี ้ องการความช่วยเหลือได้ รับ
ทิศทาง ที่จะทาให้ เขาบรรลุเป้ าหมาย สามารถแก้ ไข
ปัญหา และพัฒนาชีวิตได้ อย่างเต็มศักยภาพของตน
การให้คาปรึกษา กับ การแนะแนว แตกต่างกันอย่างไร
การให้คาปรึกษา
การแนะแนว
• รับฟังปัญหา
• แนะนาทิศทางให้ พัฒนาทักษะ
• หาทางแก้ ไข
เพื่อให้ บรรลุเป้ าหมาย
• กระบวนการช่วยให้ ผ้ ูประสบ • ผู้แนะแนวเป็ นผู้ช้ ีทางที่
ปัญหาเข้ าใจปัญหาของตน
เหมาะสมให้
มองเห็นศักยภาพของตน
• ไม่ได้ เป็ นกระบวนการต่อเนื่อง
• ผู้รับคาปรึกษา ผู้ประสบปัญหา ของความสัมพันธ์ท่มี ีการพัฒนา
เป็ นผู้ค้นพบหนทางแก้ ไข
ศักยภาพ
ตัดสินใจด้ วยตนเอง
• กระบวนการต่อเนื่อง
ผู ใ้ ห้คาปรึกษาสามารถทาให้ทุกคนพอใจได้ไหม
แต่เราสามารถช่วยเขาให้ เห็นศักยภาพของตนเองได้
สต๊อคโฮลม ซินโดรม Stockholm Syndrome
โรคความผูกพันกับผู้กระทา
เหตุการณ์ท่พี นักงานธนาคารถูกจับเป็ นตัวประกัน ๖ วัน (สิงหาคม ๒๕๑๖)
ผู้ถูกกระทามีความรู้สกึ เชิงบวกกับผู้กระทา จนถึงขั้นปกป้ อง และพัฒนา
ความสัมพันธ์เชิงบวกกับผู้กระทา และมีอคติต่อตารวจ เจ้ าหน้ าที่ คนอื่น
สาเหตุ
 ระยะเวลานานของสถานการณ์วิกฤต ที่ถูกกระทา
 ผู้กระทายังติดต่อสัมพันธ์ไม่ได้ แยกออกจากผู้ถูกกระทา
 ผู้กระทาแสดงความอ่อนโยนแก่ผ้ ูท่ถี ูกกระทา ไม่ทาร้ าย
Battered person syndrome, เด็กที่ถูกล่วงเกินทางเพศ ฯลฯ
วิธกี ารให้คาปรึกษา
การสื่อสารที่สร้ างความเชื่อมั่นว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ โดยมองเห็นความเข้ มแข็ง
ของผู้ท่ตี ้ องการคาปรึกษา
ประเมินและสรุปปัญหา และความต้ องการ ด้ วยการรับฟังอย่างตั้งใจ
๒. กาหนดเป้ าหมาย ร่ วมกับผู้รับคาปรึกษาในการหาทางออกให้ กบ
ั ปัญหา
๓. วางแผนร่ วมกันกับผู้รับคาปรึกษา ในการดาเนินการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ บรรลุ
เป้ าหมาย
๑.
การรับฟั งอย่างตัง้ ใจ บทเริม่ ต้นของการให้คาปรึกษา
กรณีศึกษา
พลมีลูกสาวคนเดียว คือพลอย อายุ ๑๕ ปี กาลังศึกษาชั้นมัธยมปี ที่
๔ พลอยตั้งใจเรียนและพลต้ องการสนับสนุนให้ พลอยได้ เรียน
จนถึงขั้นมหาวิทยาลัย
วันหนึ่งขณะเดินทางกลับบ้ าน พลอยถูก ชัย เด็กวัยรุ่นในหมู่บ้าน
ข่มขืน
พลและได้ พาพลอยไปแจ้ งความ และต่อมาชัยได้ ถูกจับ และ
ดาเนินคดี
สามเดือนต่อมาพลอยพบอาการผิดปกติในร่างกาย จึงได้ ไปตรวจที่
โรงพยาบาลและพบว่าเธอกาลังตั้งครรภ์
พลและพลอยกลุ้มใจมาก
พลจึงได้ ไปขอคาปรึกษาจากเจ้ าหน้ าที่นักสังคม
ส่วนพลอยได้ ไปขอคาปรึกษาจากครูในโรงเรียน
คาแนะนาแบบไหนทีเ่ ราควรให้ในกรณีน้ ี
 กรอบศีลธรรม
 เสนอข้ อมูลทางเลือกต่าง และผลที่
 ตาหนิตเิ ตียน blaming victim
จะเกิดขึ้น
 ส่งเสริมให้ ผ้ รู ับคาปรึกษาตัดสินใจ
เลือกทางที่ต้องการ
 ให้ ข้อมูลหน่วยงาน แหล่งให้
ความข่วยเหลือที่ต้องการ
 ไปทาอะไรมาถึงเกิดเรื่องได้
 แต่งตัวอย่างไร
-
รู้สกึ ผิด
ด้ อยค่า
เสริมสร้ างพลัง
EMPOWERMENT
เทคนิคการรับฟั งอย่างตัง้ ใจ
 ให้ ความสนใจกับผู้รับคาปรึกษา ไม่ทาสิ่งอื่นขณะรับฟังเรื่องราวปัญหา
 ซักถามเป็ นระยะ โดยใช้ ผ้ ชู ่วยทั้งห้ า how who when where what
 สรุปความเข้ าใจ โดยใช้ ถ้อยคาของตน เพื่อช่วยให้ ผ้ รู ับคาปรึกษาเข้ าใจปัญหา ความ




ต้ องการ และตรวจสอบความเข้ าใจของผู้ให้ คาปรึกษา
จดบันทึก โดยใช้ keyword หรือ mind map เพื่อช่วยความทรงจา และความ
เข้ าใจ
กระตุ้นให้ กาลังใจ ทั้งทางคาพูด หรือ ท่าทาง เช่น พยักหน้ า ยิ้ม
เป็ นกลาง ไม่ตอกยา้ หรือมีอคติใด
ให้ ความเห็นใจ และเข้ าใจ (สมมุตติ นเองอยู่ในสภาพเดียวกัน Empathy)
กระบวนการให้คาปรึกษา
รับฟังปัญหาอย่าง
ตั้งใจ
ไม่วอกแวก
สุภาพ
เห็นอกเห็นใจ
เอื้ออาทรเพื่อนมนุษย
สะท้ อนปัญหา สรุป
เพื่อตรวจสอบความ
เข้ าใจ และให้ ผ้ ูรับ
คาปรึกษาได้ มองเห็น
ปัญหาที่ประสบอยู่
และความต้ องการได้
ชัดเจน เป็ นระบบ
ร่วมคิดค้ นหาทางออกโดย
ให้ ผ้ ูประสบปัญหาเป็ นผู้
ตัดสินใจ และค้ นพบ
ศักยภาพ พลัง
ความสามารถของตน
เสริมสร้ างพลัง
ความพึงพอใจ
ข้อพึงระวังในคาพู ดเมือ่ ให้คาปรึกษาแนะนา
T
H
I
N
K
TRUE
HELPFUL
INSPIRING
NECESSARY
KIND
จริงไหม
เป็ นประโยชน์ไหม
เป็ นแรงใจไหม
จาเป็ นไหม
เมตตาปรานีไหม
อคติทมี่ ตี ่อปัญหาความรุนแรงในครอบครัวมีอะไรบ้าง
มายาคติ ภาพเหมารวมเรือ่ งความรุนแรงในครอบครัว
 ความรุนแรงเป็ นเรื่องส่วนตัว ลิ้นกับฟัน
 ความรุนแรงเป็ นวิธกี ารสั่งสอนผู้หญิง ให้ เป็ นภรรยา และแม่ศรีเรือน
 ความรุนแรงเป็ นเรื่องของคนไร้ การศึกษา ครอบครัวหาเช้ ากินค่า
 ผู้หญิงมีส่วนทาให้ ผ้ ชู ายใช้ ความรุนแรง
 ผู้ชายเครียด ทางานหนัก
 ผู้ชายดื่มเหล้ าขาดการควบคุมสติ
ความกังวลของผู ถ้ ูกกระทาความรุนแรง
 ความหวาดกลัว สวัสดิภาพของตนเองและ ลูก หรือสมาชิกคนอื่นในครอบครัว ไม่






เชื่อว่าจะมีใครช่วยได้
การถูกปฏิเสธ หรือแสดงว่าไม่เชื่อเรื่องราวที่เกิดขึ้น ท้ อถอยและเครียด
ความรับผิดชอบต่อความสัมพันธ์ หรือเชื่อว่าตนเองจะแก้ ไขรับมือได้
ยังมีความหวังว่าผู้ใช้ ความรุนแรงจะเปลี่ยนพฤติกรรม
ความอาย ความรู้สกึ ไม่สบายใจ การตาหนิตนเอง
อยู่ด้วยกันเพราะเห็นแก่ลูก
การต้ องพึ่งพาทางเศรษฐกิจ
ผู ใ้ ห้คาปรึกษาต้องเข้าใจปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
• ความสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างหญิงชาย
• การละเมิดสิทธิมนุษยชน ความปลอดภัยในชีวิตและร่ างกาย
•
•
•
•
•
ศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์ของผู้หญิง
รูปแบบของความรุนแรงในครอบครัวที่กระทาต่อผู้หญิง ร่างกาย จิตใจ และทาง
เพศ
ตระหนักให้ ความสาคัญต่อความปลอดภัย ความมั่นคงของผู้ถูกกระทา
รู้จักกระบวนการและกลไกในการคุ้มครอง ช่วยเหลือผู้หญิง
โครงสร้ างทางสังคมที่เหลื่อมลา้ ทั้งทางชนชั้น และทางเพศสภาพ
ส่งเสริมศักยภาพของผู้ถูกกระทาให้ สามารถตัดสินใจ แก้ ไข เปลี่ยนแปลง ปัญหาที
ตนเผชิญอยู่
การให้คาปรึกษาทีเ่ สริมสร้างพลัง และส่งเสริมการตัดสินใจ
ความพิการอย่าง
เดียวในชีวิต คือ
ทัศนคติท่ไี ม่ดี
บทบาทสมมุติ เรื่องของปอง
ควรให้ คาแนะนาอย่างไรที่เสริมสร้ างพลังและส่งเสริมการตัดสินใจ
กรณีความรุนแรงในครอบครัว
เรื่องของปอง
ปองอายุ ๒๓ ปี แต่งงานกับชัย และมีลูกสาวด้ วยกัน ๑ คนอายุ ๖ ปี เย็นวันหนึ่ง
ชัยพาเพื่อนมากินเหล้ าและสั่งให้ ปองทากับข้ าว ขณะที่ปองอยู่ในครัวชัยเดิน
เข้ ามาและด่าว่าทากับข้ าวชักช้ า เขาผลักปองล้ มลงและเริ่มตบตี ปองหยิบมีด
ขึ้นมาขู่ไม่ให้ ทาร้ ายตน ชัยกลับเข้ ามาบีบคอ เธอพยายามดิ้นรนต่อสู้ เธอจา
ไม่ได้ ว่าแทงเขาตอนไหน สิ่งที่เธอรู้กค็ ือไม่อยากให้ เขาตาย เธอเรียก
รถพยาบาลพาเขาไปโรงพยาบาล
ปองต้ องการผู้ให้ คาปรึกษา ว่าเธอควรจะจัดการชีวิตต่อไปอย่างไร
เราจะให้ คาปรึกษาที่เสริมสร้ างพลัง
และช่วยให้ ปองได้ ตัดสินใจด้ วยตนเองอย่างไรในกรอบ พ.ร.บ.ฯ
คาพู ดทีผ่ ู ถ้ ูกกระทาความรุนแรงควรได้ยนิ
 สิ่งที่เกิดขึ้นไม่ใช่ความผิดของคุณ ไม่มึใครตาหนิคุณได้
 สิ่งที่เราเป็ นห่วงคือเรื่องความปลอดภัยของคุณและลูก
 สถานการณ์อาจจะแย่ลงมากขึ้น
 เราอยู่กบ
ั คุณ
 คุณสมควรจะได้ รับสิ่งที่ดีกว่านี้
 คุณสามารถเปลี่ยนแปลงชีวิตของคุณได้
การเปลีย่ นแปลง อาจนามาซึง่ ความเจ็บปวด
ทุกคนต้ องการความสุข
ไม่มีใครต้ องการความเจ็บปวด
แต่เธอไม่สามารถพบแสงรุ้งได้
หากปราศจากสายฝน
หากอยู่ร่วมกันอย่างสันติไม่ได้ การแยกจากกันอาจเป็ นทางออกที่เหมาะสม
Counselor advocate
ผู้ให้ คาปรึกษาแนะนาเพื่อการเปลี่ยนแปลง
 เป็ นหัวใจของการทางานให้ คาปรึกษาแนะนาช่วยเหลือปัจเจก/กลุ่มคน
 ก้ าวออกจากการให้ คาปรึกษาแนะนาแบบเดิม ที่สนใจเฉพาะตัวบุคคล
 ใส่ใจกับสภาพแวดล้ อมทางสังคมที่มผ
ี ลกระทบต่อปัจเจก/กลุ่มคน
 ลงมือปฏิบต
ั เิ พื่อสร้ างการผลักดันเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้ อม สภาพทางสังคม
เพื่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้ างที่ส่งผลดีต่อปัจเจก/กลุ่มคน
House and Home
คาถาม
ข้ อสงสัย
ในเรื่องการให้ คาปรึกษา
“เราเกิดมาบนโลกใบนี้เพื่อช่วยเหลือคนอื่น
หากเราไม่สามารถช่วยพวกเขาได้
ก็อย่าทาร้ ายเขา”
ดาไล ลามะ
ร่วมกันออกเดินทางเพือ่ ให้คาปรึกษาแก่ผูป้ ระสบปัญหาความรุนแรง