นโยบายด้านยาเสพติดของ สพฐ.

Download Report

Transcript นโยบายด้านยาเสพติดของ สพฐ.

นโยบาย : การขับเคลือ่ น
ระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
ให้ พ้นภัยยาเสพติด
08/04/58
1
่ ยเหลือน ักเรียน
ระบบดูแลชว
08/04/58
2
นโยบายการแก้ ปัญหา
- การป้องกัน
- การเฝ้ าระวัง
- การแก้ ไขปัญหาและส่ งเสริม
- ทางานร่ วมกับภาคีเครือข่ าย
08/04/58
3
ท ักษะชวี ต
ิ
08/04/58
4
08/04/58
5
การแนะแนว
08/04/58
6
ขอบข่าย
แนะแนว
จัดตาม
พัฒนาการ
แต่ละช่วงวัย
การศึกษา
อาชีพ
ชีวิตและสังคม
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมต้น
มัธยมปลาย
ในห้องเรียน
• รักและเห็นคุณค่าในตนเอง
• วางแผนการเรียน อาชีพ
มีทกั ษะชีวิตที่จาเป็ น
• ปรับตัวและอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่น
อย่างมีความสุข
ชัว่ โมงแนะแนว
โฮมรูม ทักษะชีวิต
บูรณาการท ุกกลมุ่ สาระ
แนวทางการจัด
บริการแนะแนว/ให้คาปรึกษา
นอกห้องเรียน
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา
ป้องกันและแก้ไข
ส่งต่อผูเ้ ชี่ยวชาญ
08/04/58
7
น ักเรียนเพือ
่ นทีป
่ รึกษา(YC)
08/04/58
8
ความคาดหวังของ สพฐ.
รู ปแบบการขับเคลื่อนของ
สพท. และสถานศึกษา
08/04/58
9
วิสัยทัศน์ดา้ นยาเสพติดของกระทรวงศึกษาธิการ
“สถานศึกษาไทยเข้ มแข็ง ปลอดยาเสพติดอย่ างยัง่ ยืนก้ าวสู่
ประชาคมอาเซียนอย่ างมั่นใจภายในปี ๒๕๕๘ ”
(ASEAN Drug Free Schools)
นโยบายด้ านยาเสพติดของ สพฐ.
“ปี การศึกษา ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ เป็ นปี แห่ งการดูแล
ช่ วยเหลือนักเรียนให้ พ้นภัยยาเสพติด”
08/04/58
10
08/04/58
ยุทธศาสตร์
เป้าหมาย
1. สร้ างภูมคิ ุ้มกันและป้ องกัน
ยาเสพติด
2. แก้ ไขปัญหาผู้เสพ / ผู้ตดิ ยาเสพติด
3. จัดระบบกลไลการบริหารจัดการ
ด้ านยาเสพติด
4. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา
5. บูรณาการการทางานกับหน่ วยงาน
ทีเ่ กีย่ วข้ องกับทุกภาคส่ วน
1. เยาวชนอายุ 7 – 19 ปี มีภูมคิ ุ้มกัน
ด้ านยาเสพติด
2. โรงเรียนขยายโอกาสและ
มัธยมศึกษาเฝ้ าระวังยาเสพติด
3. สพท. มีแผนและระบบงานรองรับ
ยุทธศาสตร์
4. ผู้บริหาร ครู และบุคลากร
ทางการศึกษามีส่วนร่ วมในการสร้ าง
ภูมคิ ุ้มกันและแก้ ไขปัญหายาเสพติด
5. สพท. มีเครือข่ ายสร้ างภูมคิ ุ้มกัน
และแก้ไขปัญหายาเสพติด
ฯลฯ
11
สพท.
(ผอ.สพป. / สพม.)
ก.ต.ป.น.
อ.ก.ค.ศ.
กาหนดยุทธศาสตร์
เป้าหมาย
08/04/58
ก.พ.ท.
12
ส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามประเมินผล และนิเทศ
1. กาหนดยุทธศาสตร์ แผนงาน แนวทางของ สพท. ด้ านป้ องกันปัญหาเด็ก
และเยาวชน
2. กาหนดโครงสร้ าง บทบาทและหน้ าทีข่ องผู้รับผิดชอบในการดาเนินงาน
3. ส่ งเสริมและสนับสนุนการสร้ างภูมิคุ้มกันปัญหาและทักษะชีวติ
4. พัฒนาระบบข้ อมูลนักเรียนและระบบกลไกการบริหารจัดการปัญหาเด็ก
และเยาวชนในสถานศึกษา
5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ กีย่ วข้ อง
6. ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการดาเนินงานของสถานศึกษา
7. รายงานผลการติดตาม ประเมินผลและนิเทศ ปรับปรุงการดาเนินงาน
ฯลฯ
08/04/58
13
สถานศึกษา
(ผอ.ร.ร.)
คณะกรรมการ
สถานศึกษา
คณะกรรมการระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
กลยุทธ์ ๔ ต้ อง ๒ ไม่
- ต้ องมียุทธศาสตร์ การป้ องกันและแก้ ไขปัญหายาเสพติดที่
สอดคล้ องกับสภาพปัญหาและบริบทของพืน้ ที่
- ต้ องมีแผนงานยาเสพติดในสถานศึกษาที่ชัดเจน
- ต้ องพัฒนาระบบงานรองรับยุทธศาสตร์ ได้ แก่ ระบบ
ป้ องกัน ระบบเฝ้ าระวัง ระบบดูแลช่ วยเหลือ และระบบ
บริหารจัดการ
- ต้ องมีเครือข่ ายการทางานระหว่ างนักเรียน ครู ผู้ปกครอง
และชุมชน
- ไม่ ปกปิ ดข้ อมูลกลุ่มเสพ กลุ่มติด กลุ่มค้ ายาเสพติด
- ไม่ ผลักดันปัญหา ไม่ ไล่ นักเรียนออกจากสถานศึกษา
ให้ นาไปบาบัดรักษาเมื่อหายแล้ วให้ กลับมาเรียนตามปกติ
08/04/58
เป้ าหมาย
สถานศึกษาทุกแห่ ง
สามารถป้ องกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพติด
อย่างยัง่ ยืน
14
จัดดาเนินงาน โครงการ กิจกรรม เช่น
- จัดทาข้อมูลนักเรี ยนด้านยาเสพติดด้วยระบบการรายงาน ศพส.
เสริ มสร้างภูมิคุม้ กันยาเสพติดให้กบั นักเรี ยน โดยตารวจ D.A.R.E.
พระสอนศีลธรรม
- จัดกิจกรรมป้องกันและเฝ้ าระวังในสถานศึกษา
- ลดพืน้ ที่เสี่ ยง เพิม่ กิจกรรมสร้ างสรรค์ ในสถานศึกษา
- จัดระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษาให้ เข้ มแข็ง
- จัดการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสู ตร
- พัฒนาทักษะชีวติ
ฯลฯ
กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน
08/04/58
เผยแพร่ ประชาสั มพันธ์ วิธีการปฏิบัติที่เป็ นเลิศ
15
ประเด็นเน้ นยา้ 
ปี แห่ งการดูแลช่ วยเหลือนักเรียนให้ พ้นภัย
ยาเสพติด เน้ นให้ โรงเรียนให้ การดูแลช่ วยเหลือ
นักเรียนตามกระบวนการ 5 ขั้นตอน และให้
ความสาคัญเป็ นกรณีพเิ ศษกับการจัด
กิจกรรมต่ าง ๆ ดังนี้
08/04/58
16
1. ครูทุกคนให้ การดูแลช่ วยเหลือนักเรียนด้ วย
ความเอาใจใส่ สามารถนาหลักการ 5 ขั้นตอน
ของระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียนไปปรับใช้
ในชั้นเรียนได้ อย่ างเหมาะสม
08/04/58
2. ครู ผู้ปกครอง และนักเรียน
ร่ วมกันเรียนรู้ปัญหา และแสวงหา
แนวทางในการป้ องกัน แก้ ไขปัญหา
พฤติกรรมนักเรียนด้ วยแนวคิดและ
วิธีการที่สร้ างสรรค์
17
3. ผู้บริหารโรงเรียนตระหนักถึงคุณค่ าและ
ความสาคัญของระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
และสามารถบูรณาการเข้ าระบบอืน่ ๆ ทีม่ ีอยู่ใน
โรงเรียน
4. โรงเรียนทุกแห่ งมีระบบการดูแล
ช่ วยเหลือนักเรียนที่เข้ มแข็ง
08/04/58
18
5. โรงเรียนทุกแห่ งปลอดจากการใช้ ความ
รุนแรงทุกรู ปแบบ
6. โรงเรียนแต่ ละแห่ งมีความวิธีการและ
นวัตกรรมใหม่ ๆ ในการพัฒนาส่ งเสริม
ป้ องกัน แก้ไข และดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
08/04/58
19
7. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาทุกแห่ งมีฐานข้ อมูล
และระบบสารสนเทศเกีย่ วกับการดูแล
ช่ วยเหลือเป็ นปัจจุบัน
8. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาทุกแห่ งมียุทธศาสตร์
มาตรการและแนวทางในการพัฒนา
ระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
ที่เป็ นเอกภาพ
08/04/58
20
9. โรงเรียนและเขตพืน้ ที่การศึกษามีเครือข่ าย
ความร่ วมมือในการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
ทีค่ รอบคลุมทั้งในทุกด้ านสุ ขภาพ
10. ในสั งคมมีทัศนะและมีความเชื่อ
ทีถ่ ูกต้ องตรงกันว่ า เด็กไม่ ใช่ ปัญหา
ของสั งคม แต่ ปัญหาสั งคมส่ งผล
กระทบต่ อพฤติกรรมของเด็ก
08/04/58
21
สวัสดี
08/04/58
22