การย่อความ - e

Download Report

Transcript การย่อความ - e

การย่ อความ
การย่ อความ
คือ การเก็บเนือ้ ความ ใจความสาคัญใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่ างถูกต้ องครบบริบูรณ์ ตาม
ต้ นเรื่อง แล้วนามาเรียบเรียงใหม่ เป็ นข้ อความ
สั้ น ๆ โดยมิให้ ความหมายเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม
การย่ อความที่ดี ต้ องใช้ ท้งั ทักษะการฟัง
การอ่าน และการเขียน
2
จุดประสงค์ ของการย่ อความ
แบ่ งเป็ น 3 ประการ คือ
1. เก็บเนือ้ เรื่อง : การอ่ านเพือ่ เก็บใจความสาคัญ
ของเรื่องที่อ่านสิ่ งสาคัญคือ ใจความที่เก็บมาต้ อง
สมบูรณ์ พอทีจ่ ะทาให้ ผู้อ่านทีไ่ ม่ รู้ เรื่องมาก่ อน
เข้ าใจเรื่องราว มักใช้ กบั ประวัติ จดหมายโต้ ตอบ
ข่ าวเหตุการณ์ ต่าง ๆ
3
2. เก็บความคิด: เพือ่ เข้ าใจความคิดที่เรื่องนั้น
แสดงเอาไว้ ผู้ย่อต้ องเข้ าใจความคิดเรื่องให้
ตรงกับเป้ าหมายมากทีส่ ุ ดมักใช้ กบั เรื่องทีแ่ สดง
ความคิดเห็นบทวิจารณ์
3. เก็บความรู้ เพือ่ งานวิจยั : เก็บเฉพาะความรู้ ที่
ต้ องการใช้ ในเรื่องที่ค้นคว้ า หรืออาจเป็ นเพียง
ความคิดรอง
4
การย่ อความควรยึดหลัก ดังนี้
1. อ่ านเรื่องที่จะย่ อให้ ละเอียด
2. แยกข้ อความเป็ นตอน ๆ แล้ วพยายาม
อ่ านจับใจความของเรื่องไปทีละตอนจนจบ
5
3. นาใจความสาคัญที่ได้ มาเรียบเรียงใหม่
โดยยึดหลัก
3.1 การเรียงลาดับเรื่อง ไม่ จาเป็ นต้ องเรี ยงตามเดิม
3.2 ใช้ สานวนภาษาของตนเองทั้งหมด
3.3 ไม่ มีเกณฑ์ กาหนดตายตัวว่ าต้ องเหลือกีส่ ่ วน
ของข้ อความเดิม
6
3.4 ใช้ สรรพนามบุรุษที่ 3 ถ้ ากล่ าวถึงผู้เกีย่ วข้ อ
ให้ ใช้ ชื่อโดยตรง
3.5 ใช้ คาที่เข้ าใจง่ าย สื่ อความหมายชัดเจน
3.6 คาสนทนาของบุคคลให้ สรุปโดยใช้
ใจความสาคัญ
3.7 ถ้ าของเดิมมีคาราชาศัพท์ เมื่อย่ อแล้ ว
ต้ องใช้ คาราชาศัพท์
7
3.8 ไม่ ควรใช้ อกั ษรย่ อ คาย่ อ ในข้ อความ
ที่ย่อแล้ ว
3.9 เขียนใจความที่ย่อต่ อเนื่องกันไป
3.10 ถ้ าเรื่องเดิมเป็ นร้ อยกรอง ให้ ย่อเป็ น
ร้ อยแก้ ว
8
4. อ่านทบทวนเรื่องที่ย่อเสร็จแล้ วอีกครั้ง
เพือ่ ดูว่านาใจความสาคัญมาครบถ้ วนหรือไม่
5. การเขียนเนือ้ เรื่องที่ย่อแล้ว ก่อนเขียนต้ อง
บอกทีม่ าของเรื่องย่ อ เพือ่ ช่ วยให้ ผู้อ่านทีส่ นใจ
ไปอ่านรายละเอียดเพิม่ เติมจากเรื่องเดิม
6. รู ปแบบการขึน้ ต้ นย่ อความ
9
หลักสาคัญในการย่ อความ
ผู้ย่อต้ องเข้ าใจและสามารถเก็บใจความของ
เรื่องได้ ถูกต้ องและนามาเรียงให้ กระชับ
ซึ่งการทาได้ ดงั นีต้ ้ องอาศัยหลักการอ่ าน
การฟัง การเขียน มาประกอบ
และฝึ กฝนบ่ อย ๆ
10
สรุปประโยชน์ ของการย่ อความ
1. ใช้ เก็บข้ อมูลเพือ่ เขียนเรียงความ และเขียน
รายงานวิชาการ
2. ใช้ บันทึกทางวิชาการเพือ่ ทบทวนความคิด
ความจาในการดูตาราเตรียมสอบ
3. ใช้ เป็ นตอนจบของเรียงความ/รายงานวิชาการ
11
ตัวอย่ างการย่ อความ
1. จากการจับใจความสาคัญ จากการตอบ
คาถาม ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่
อย่างไรเพราะเหตุใด
2. จากการวิเคราะห์ประเด็นความและ
พลความ
12
การสรุปความ
การสรุปความ เป็ นวิธีการย่ ออย่ างสั้ นทีส่ ุ ด คือ
จะกล่ าวแต่ เพียงความคิดที่สาคัญที่สุด และ
ผู้สรุปความจาต้ องเข้ าใจ และตีความเองว่ า
ผู้เขียนเขียนในทานองใด โดยผู้สรุปต้ องใช้
ข้ อความของตนเอง สรุปข้ อความทีอ่ ่ าน
ให้ ตรงกับความมุ่งหมายของเนือ้ เรื่อง
13
สิ่ งที่จาเป็ นในการย่ อความ
1. ความเข้ าใจ
พืน้ ฐาน
เกีย่ วกับเรื่อง
ทีจ่ ะสรุป
2. ความคิดหลัก
ทีเ่ ป็ นจุดเด่ น
ของเรื่อง
3. ความชัดเจน
ของบท
สรุปความ
14
วิธีสรุ ปความตามลาดับขัน้
1. ขัน้ อ่ าน : อ่ านให้ เข้ าใจ ให้ ได้ ความคิดที่
สาคัญ 2 ครั ง้
2. ขั้นคิด : คิดเป็ นคาถาม – อะไรเป็ นจุดสาคัญ
ของเรื่อง
: จุดสาคัญนั้นสั มพันธ์ กบั สิ่ งใด จดไว้
สั้ น ๆ
: คิดวิธีเขียนสรุปความให้ กะทัดรัด
ชัดเจน
15
วิธีเขียนสรุปความ
1. อ่ านเรื่องทีจ่ ะสรุ ป 2 ครั้ง
: ครั้งแรก - อ่านคร่ าว ๆ ให้ เข้ าใจเรื่อง จับใจ
ความโดยส่ วนรวม
: ครั้งที่ 2 - อ่านจับใจความสาคัญที่เป็ น
ความคิดหลัก แต่ ละย่ อหน้ า ถ้ าย่ อหน้ า
ใด
ไม่ มคี วามคิดหลักต้ องสรุปมาเป็ นภาษา
16
2. เรียบเรียงใจความที่ได้ มาจากแต่ ละย่ อหน้ า
ด้ วยภาษาของตนเอง เชื่อมโยงความคิดหลัก
เป็ นเหตุ-ผล ตามลาดับ หรือ อาจเรียงลาดับ
ความคิดใหม่ เพือ่ ให้ รัดกุมโดยใช้
“คาเชื่อม”
ที่เหมาะสม
17
สรุป
1. ผู้ทจี่ ะสรุ ปความได้ ดี - ต้ องมีทักษะในการย่ อความ
ดี
2. การสรุ ปความจะเป็ นประโยชน์ - เมือ่ ต้ องการพูด/
เขียนอย่ างสั้ นทีส่ ุ ด
3. การสรุ ปความจะแสดงถึงความมุ่งหมายของผู้เขียน
ถ้ าบอกได้ ว่า ผู้เขียนในทานองใด เช่ น สั่ งสอน
อธิบาย
18
ดังนั้น
1. ควรอ่านอย่ างรอบครอบ และ เป็ นกลาง
2. ใช้ วธิ ีการอ่านช่ วย
วิธีการที่ 1 ก. อ่านอย่ างรวบรัด
- จับใจความจากตอนต่ าง ๆ
- อ่ านย่ อหน้ าแรกและย่ อหน้ าสุ ดท้ าย
ก่ อน เพือ่ จับใจความคิดว่ าผู้เขียนมีความมุ่งหมาย
อะไร เห็นด้ วยหรือไม่ ฯลฯ ซึ่งจะทาให้ จับเค้ า
ความที่สาคัญของเรื่องได้
19
ข. ขั้นต่ อไป อ่านเฉพาะประโยค
แรก
และประโยคสุ ดท้ ายของย่ อหน้ าอืน่ ๆ เพือ่ ดู
ส่ วนนาเรื่อง กลางเรื่อง และตอนจบจะทาให้
ผู้ย่อรู้ ว่าตอนใดมีใจความสาคัญกับการที่จะ
เก็บความมาย่ อ
20
วิธีการที่ 2 - การตั้งคาถามเพือ่
ช่ วยจับ
ประเด็นสาคัญ ซึ่งจะสามารถนาคาตอบมา
เรียงเป็ นย่ อ/สรุปตัความได้
้งคาถาม
มีผลอย่ างไร
ใคร
ทาอะไร
อย่ างไร
เมื่อใด
ที่ไหน
เพราะเหตุใด
21