สื่อสาร และสื่อสารมวลชน

Download Report

Transcript สื่อสาร และสื่อสารมวลชน

การสื่ อสาร
Communication
Paisarn Kanchanawong
รูปนีส้ ื่ อสารเรื่องอะไร
Blue Screen
การสื่ อสารเป็ นเครื่องมือ หรือ อาวุธ :
สาเนียงส่ อภาษา กิริยาส่ อ…..
การสื่ อสารเป็ นเครื่องมือ หรือ อาวุธ :
สาเนียงส่ อภาษา กิริยาส่ อ…..
การสื่ อสารมีความสาคัญกับมนุษย์มาตั้งแต่กาเนิดเนื่องจากมนุษย์
ต้องอยูใ่ นสังคมและใช้การสื่ อสาร เป็ นเครื่ องมือในการบอกความ
ต้องการของตนเองต่อผูอ้ ื่น การสื่ อสารจึงเป็ นสื่ อกลางที่ทาให้มนุษย์
สามารถอยูร่ ่ วมกันในสังคมได้อย่างราบรื่ น
ความสาคัญของการสื่ อสารในด้านต่างๆ
• ด้านสังคม
• ด้านการเมือง
• ด้านเศรษฐกิจ
• ด้านต่างประเทศ
• ด้านการท่องเที่ยว
• ด้าน….
“ ที่มดหยุดทักกัน เพราะมันต้องการสื่ อสารกัน มด
เป็ นสัตว์ที่ไม่มีท้ งั หูและเสี ยง แต่มนั สามารถส่ งข่าว
ถึงกันและกันได้ดว้ ยภาษาร่ างกาย และด้วยการขับ
สารเคมีออกจากต่อมพิเศษและมดจัดว่าเป็ นสัตว์ที่มี
การสื่ อสารต่อกันอย่างดีเยีย่ ม…. ”
การสื่ อสารของมด
การสื่ อสารของแมลง : การ
เต้นราของผึ้ง
การสื่ อสารในหมู่ผ้ งึ ผึ้งสารวจ (scout honeybee)
สามารถส่ งข่าวให้ผ้ งึ งาน (worker) ที่อยูใ่ นรังให้รู้คุณภาพ
ของแหล่งอาหารและทิศทางตลอดจนระยะทางจากรังถึง
แหล่งอาหารนั้น การสื่ อสารนี้ตอ้ งอาศัยการแสดงท่าทาง
เสี ยง สารเคมี และการสัมผัสกัน
การสื่ อสารของมนุษย์
A breif History of communication
วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่ อสารมาประยุกต์ใช้
•
•
•
•
•
•
เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล
เพื่อส่ งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว
เพื่อลดเวลาการทางาน
เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ งข่าวสาร
เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ
เพื่อช่วยปรับปรุ งการบริ หารขององค์การ
ความหมายจากวิกพิ เี ดีย สารานุกรมเสรี
• การสื่ อสาร คือกระบวนการสาหรับแลกเปลี่ยน สาร
รู ปแบบอย่างง่ายของสาร คือ จะต้องส่ งจากผูส้ ่ งสาร
หรื ออุปกรณ์เข้ารหัส ไปยังผูร้ ับสารหรื ออุปกรณ์
ถอดรหัส
“Communication” มาจากภาษาละตินว่า Communis
หมายถึง Commonness ในภาษาอังกฤษ/แปลเป็ น
ภาษาไทยว่า “ความร่ วมมือกันหรื อความเหมือนกัน”
• สกนธ์ ภู่งามดี (2546 : 67) ได้อา้ งอิงทรรศนะของ ลองเจเนค
เกอร์ และพริ งเกิล ว่า การติดต่อสื่ อสารคือ กระบวนการ
ปฏิสมั พันธ์ (interactive process) ระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้น
ไป
• กระบวนการสื่ อสารจะเกิดจากผูส้ ่ ง (Sender) เป็ นผูเ้ ริ่ ม
กระบวนการโดยการส่ องข้อมูล ข่าวสาร (Message
Transmission) ไปยังผูร้ ับ (Receiver) ที่อาจเป็ นคนเดียวหรื อกลุ่ม
ทั้งนี้ขอ้ มูลที่ส่งจะเป็ น ข้อเท็จจริ ง (Facts) รวมทั้งความรู้สึก
(Feelings) และทัศนคติ (Attitude) ของผูส้ ่ ง จากนั้นผูร้ ับจะส่ ง
ข้อมูลกลับ (Return Message) ไปยังผูส้ ่ ง ทั้งนี้ กระบวนการรับส่ ง จะดาเนินไปจนกว่าจะเข้าใจข่าวสารอย่างเต็มที่หรื อพอใจ
องค์ ประกอบพืน้ ฐานของการสื่ อสาร
sender
ผูส้ ่ งสาร
ตีความ
ผูร้ ับสาร
Message
สาร
Encoder
receiver
decoder
ช่องทาง
Chanel
ผูร้ ับสาร
ตีความ
ผูส้ ่ งสาร
decoder Response Encoder
ปฏิกิริยา
ตอบสนอง
สภาพแวดล้อมของการสื่ อสาร
โมเดลการติดต่อสื่ อสาร (Communication model)
message
message
Sender
Encoding
message
Channel
message
Decoding
Receiver
Feedback
โมเดลประกอบด้วย 7 ส่ วนคือ 1) แหล่งข่าว(source) หรื อผูส้ ่ งข่าว
(Sender) 2) การใส่ รหัส (Encoding) 3) ข่าวสาร (message) 4) ช่องทาง
ข่าวสาร (Channel) 5) การถอดรหัส (Decoding) 6) ผูร้ ับสาร (Receiver)
และ 7) การป้ อนกลับ (feedback)
1) แหล่งข่าว(source) หรื อผูส้ ่ งข่าว (Sender)
– เป็ นการนาเสนอข่าวและเป็ นผูใ้ ส่ รหัส (encoding) ซึ่งผูส้ ่ งข่าว
ที่ประสบความสาเร็ จจะต้องมีคุณสมบัติ คือ
•
•
•
•
1) ทักษะ (skill)
2) ทัศนคติ (attitudes)
3) ความรู้ (knowledge)
4) ระบบวัฒนธรรมทางสังคมของผูส้ ่ ง (Social-cultural system)
2) การใส่ รหัส (encoding)
– คือการเปลี่ยนใจความที่สื่อสาร (message) เป็ นรู ป
สัญลักษณ์ (ภาษาพูด ภาษาเขียน สัญลักษณ์ต่างๆ) ซึ่ ง
การใส่ รหัสจะต้องอาศัย ทักษะ ทัศนคติ ความรู ้ และ
ระบบวัฒนธรรมของสังคม
3) ข่าวสาร (message)
– เกิดจากแหล่งข่าวสาร (source / sender) โดยจะต้องนามา
ใส่ รหัสข่าวสารอาจจะอยูใ่ นรู ปลักษณะคาพูด ตัวอักษร
รู ปภาพ ลักษณะท่าทาง ข่าวสารของบุคคลใช้เพื่อ
โยกย้ายความหมาย
4) ช่องทางข่าวสาร (Channel)
– คือ เครื่ องมือ (สื่ อ) ซึ่ งนาข่าวสารไปยังผูร้ ับ
ประกอบด้วย ช่องทางที่เป็ นทางการ (formal) และ
ช่องทางที่ไม่เป็ นทางการ (informal) ซึ่ งเกี่ยวข้องกับ
กิจกรรมของงาน อาจใช้คน หรื อ สื่ อก็ได้
– ได้แก่ โทรศัพท์ ?????????????
5) การถอดรหัส (decoding)
– คือการแปลสัญลักษณ์ในข่าวสาร ซึ่ งการแปลข่าวสารจะ
ถูกจากัดด้วยทักษะ ทัศนคติ ความรู ้ และระบบ
วัฒนธรรมของสังคมของทั้งผูส้ ่ งข่าวและผูร้ ับข่าวสาร
เช่น แหล่งผูส้ ่ งข่าวสารที่ตอ้ งมีความชานาญในการอ่าน
หรื อการฟัง และทั้งคู่ตอ้ งมีเหตุผล มีทศั นคติ และมีภูมิ
หลังด้านวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการ
รับและการส่ งสาร
6) ผูร้ ับข่าวสาร (receiver)
– คือ บุคคล หรื อกลุ่มคนซึ่ งเป็ นผูร้ ับข่าวสาร (message)
โดยการแปลรหัสออกมา (Decoding) ซึ่ งจะถูกจากัดด้วย
ทักษะ ทัศนคติ ความรู ้ และระบบวัฒนธรรมของสังคม
7) การป้ อนข้อมูล (feedback)
– เป็ นการตรวจสอบถึงความสาเร็ จในการโยกย้ายข่าวสาร
ของบุคคลว่าตรงกับความตั้งใจหรื อไม่
รู ปแบบของการสื่ อสาร
• วัจนภาษา (verbal communication) เป็ นการสื่ อสารเฉพาะ
รู ปแบบที่ใช้คา เท่านั้น ได้แก่ การพูด การเขียน การฟัง การอ่าน
• อวัจนภาษา (nonverbal communication) เป็ นการสื่ อสารโดยไม่
ใช้คาใดๆ แต่ใช้ส่วนต่างๆ ของร่ างกายแทนได้แก่
–
–
–
–
–
–
การแสดงออกทางหน้าและดวงตา
การแสดงออกทางมือและร่ างกาย
การใช้เสี ยงแสดงอารมณ์
รู ปลักษณ์ของผูพ้ ดู
การสัมผัสตัวกัน
การใช้พ้นื ที่และเวลา
ตัวอย่างการสื่ อสารโดยอวัจนภาษา
กิจกรรมเกมใบ้ คา
กติกา
• มีผเู ้ ล่น 2 คน
• ผูเ้ ล่นคนที่ 1 ดูขอ้ ความและให้อธิ บายให้ผู ้
เล่นคนที่ 2 ด้วยอวัจนภาษา
• ผูเ้ ล่นคนที่ 2 เฉลยคาตอบจากการอธิบาย
ของผูเ้ ล่นคนที่ 1
โจทย์
1
3
2
4
5
การใช้ การสื่ อสารในชีวติ ประจาวัน
• การสื่ อสารอีเล็คทรอนิกส์ ได้แก่
– โทรศัพท์
– อินเตอร์เน็ต
– E-mail
– การใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ
– การสื่ อสารด้วย VDO แบบปฏิสมั พันธ์
การใช้ การสื่ อสารในชีวติ ประจาวัน
• การสื่ อสารโดยใช้สื่อสิ่ งพิมพ์ ได้แก่
– ใบปลิว
– แผ่นพับ
– ใบแทรก
– รายงานประจาปี
– วารสารวิชาการ
– จดหมายข่าว
การใช้ การสื่ อสารในชีวติ ประจาวัน
• การสื่ อสารรู ปแบบอื่น ได้แก่
– การจัดงานแสดงสิ นค้าและการเปิ ดตัว
– การสื่ อสารระหว่างวัฒนธรรม
– การสื่ อสารการเมือง
– การสื่ อสารในองค์กร
ประเภทของการสื่ อสาร
1) สื่ อสารทางเดียว (Simplex) ข้อมูลส่ งได้ทางเดียวเท่านั้น
บางครั้งก็เรี ยกว่า การส่ งทิศทางเดียว (Unidirectional Data Bus) เช่น
การส่ งข้อมูลไปยังเครื่ องพิมพ์ การกระจายเสี ยงของสถานีวทิ ยุ เป็ นต้น
2) สื่ อสารสองทางครึ่ งอัตรา (Half Duplex) ข้อมูลสามารถส่ ง
ได้ท้ งั สองสถานี แต่จะต้องผลัดกันส่ งและผลัดกันรับ จะส่ งและรับ
พร้อมกันไม่ได้ เช่น วิทยุสื่อสารของตารวจ เป็ นต้น
3) สื่ อสารสองทางเต็มอัตรา (Full Duplex) ทั้งสองสถานี
สามารถรับและส่ งได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์
เป็ นต้น
กิจกรรมรู ปแบบการสื่ อสาร
1. ให้นกั ศึกษาจับคู่เลือกคนที่อยูใ่ กล้ตวั
2. คนทีห่ นึ่ง เป็ นผูพ้ ดู มีหน้าที่พดู เรื่ องสิ่ งที่ประทับใจ
ที่สุดที่ผา่ นมาในวัยเด็ก โดยใช้เวลาประมาณ 3 นาที
3. คนทีส่ อง เป็ นผูฟ้ ัง มีหน้าที่ฟังอย่างเดียวห้ามพูด แสดง
เพียงแต่ท่าทางว่าเข้าใจ หรื อไม่เข้าใจ
4. ให้คนที่สองออกมาเล่าเรื่ องที่ได้ฟังมา
สิ่ งที่ได้
• การเป็ นผูพ้ ดู และผูฟ้ ังที่ดี
• การสรุ ปผล
ิ
ก
จ
กรรม
• จัดกลุ่ม 2 กลุ่มๆละ จานวน 6 คน
•
•
•
•
ในแต่ละกลุ่ม จะให้ 2 คนอ่านโจทย์ให้เข้าใจในเวลา 4 นาที
หลังจากนั้นให้เล่าให้คนที่สามฟังคนละ 2 นาที
คนที่สามเล่าให้คนที่ สี่ และห้า และหกฟังคนละ 2 นาที
คนสุ ดท้ายให้เขียนรายละเอียดที่ได้ฟังมาทั้งหมดลงใน
กระดาษแล้วอ่านเปรี ยบเทียบกับโจทย์
กิจกรรม
มีชายคนหนึ่งชื่อ ลี กุน แช เป็ นชาวสิ งคโปร์ มีเพื่อนชื่อ
แล กุน ชี ซึ่งเป็ นชาวไต้หวันทั้งสองคนก็ได้ชวนกัน
ไปหาดใหญ่ที่ประเทศไทย โดยเข้าพักที่โรงแรม
ดุสิต เจ.บี. ห้อง 4427 ในวันต่อมาได้ชวนกัน
ออกไปที่ทะเล โดยเหมารถ 2 แถวในราคา 100 บาท
ระหว่างที่เล่นน้ าทะเล ลี กุน แช ก็เห็นปลาตัวใหญ่
จึงบอก แล กุน ชี ให้ไปจับแต่พอ แล กุน ชี จับขึ้นมา
กลับพบว่าเป็ นเพียงหมาเน่าตัวเดียว
ข้อผิดพลาดของการสื่ อสาร
?????
• การกรองข่าวสาร - ตัวสารมีปัญหา
• การรับรู ้แบบเลือกสรร เช่น ความต้องการ การจูงใจ
ประสบการณ์ ภูมิหลัง และลักษณะส่ วนตัว
• อารมณ์ ทัศนคติของผูร้ ับ
• ภาษา – การตีความหมายได้หลายอย่าง
• ????
การสื่ อสารที่มีประสิ ทธิภาพ
การสื่ อสารอาจจะมีอุปสรรคที่ทาให้ไม่ได้ผลตามที่ตอ้ งการ มณฑล
ใบบัว (2536 : 72-73) ได้กล่าวถึงอุปสรรคตามองค์ประกอบ
ของการสื่ อสารดังนี้
1. คุณลักษณะของผู้ส่งสาร
•
•
•
•
ทักษะในการสื่ อสาร
ทัศนคติในการสื่ อสาร
ระดับความรู ้
สถานภาพในระบบสังคมและวัฒนธรรม
การสื่ อสารที่มีประสิ ทธิภาพ
2. คุณลักษณะชองผู้รับสาร
•
•
•
•
ทักษะในการสื่ อสาร
ทัศนคติในการสื่ อสาร
ระดับความรู ้
สภานภาพในระบบสังคมและวัฒนธรรม
การสื่ อสารที่มีประสิ ทธิภาพ
3. คุณสมบัตขิ องสาร
• สารนั้นจะต้องมุ่งถึงผูร้ ับสารและได้รับความสนใจจากผูร้ ับ
สาร
• สารนั้นต้องมีสญ
ั ญลักษณ์แสดงถึงความเหมือนกันของผู้
ส่ งสารและผูร้ ับสาร
• สารนั้นต้องเร้าความต้องการของผูร้ ับ และผูร้ ับได้รับการ
ตอบสนองตามความต้องการ
4. คุณสมบัตขิ องช่ องทางในการสื่ อสาร
ความสั มพันธ์ ระหว่ างกระบวนการสื่ อสารกับการออกแบบ
และการผลิตงานโฆษณา
• ด้วยเหตุที่งานโฆษณาเป็ นช่องทางการสื่ อสาร อย่างหนึ่งระหว่าง
ผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภคกลุ่มเป้ าหมาย ดังนั้น การผลิตงานโฆษณาที่
มีคุณภาพ และบรรลุเป้ าหมายทางการตลาดของผูผ้ ลิตสิ นค้า
หรื อบริ การจึงต้องอาศัยการออกแบบเป็ นเครื่ องมืออย่างหนึ่ง ใน
การสร้างสรรค์งานโฆษณา พร้อมกับการนาเอาองค์ความรู ้
เกี่ยวกับกระบวนการสื่ อสาร ที่มีคุณภาพมาประยุกต์ใช้ เพื่อให้
ผลงานโฆษณาสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมาย ได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพมากที่สุด
สื่ อสารมวลชน
Mass Communication
แนวคิดการสื่ อสาร สื่ อสารมวลชน และสื่ อมวลชน
• อุบลรัตน์ ศิริยวุ ศักดิ์ และคณะ (2547 : 4-5) ได้อธิบายความสัมพันธ์ของ
แนวคิดการสื่ อสาร สื่ อสารมวลชน และสื่ อมวลชน ว่า การสื่ อสารของ
มนุษย์เป็ นทั้งศาสตร์ (Science) และศิลป์ (arts)
• เป็ นกระบวนการในการถ่ายทอดความรู ้สึกนึกคิด อารมณ์ ข่าวสารข้อมูล
ความรู ้ ภูมิปัญญา ค่านิยมความเชื่อ มรดกทางวัฒนธรรม หรื อที่เรี ยกรวม
ๆ ว่า เป็ นการถ่ายทอดสารจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ง เพื่อ
วัตถุประสงค์ในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์กนั ทางานร่ วมกัน กระชับ
มิตรไมตรี ระหว่างกัน ถ่ายทอดความบันเทิงเริ งรมย์ การรังสรรค์สุนทรี ย ์
หรื อเพื่อประโยชน์ดา้ นธุรกิจการค้า
แนวคิดการสื่ อสาร สื่ อสารมวลชน และสื่ อมวลชน
• องค์ประกอบพื้นฐานของกระบวนการสื่ อสาร (Communication
process) จึงประกอบด้วย ฝ่ ายผูส้ ื่ อสาร (sender) ซึ่งมีความประสงค์จะ
สื่ อสาร (message) ไปยังผูร้ ับสาร (receiver) โดยผ่านช่องทางการสื่ อสาร
(channel of communication) ซึ่งอาจจะมีรูปแบบต่าง ๆ ที่หลากหลาย
ภายใต้บริ บทแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรม (socio cultural context) ที่
กระบวนการสื่ อสารดาเนินไป
ระดับการสื่ อสารแบ่ งตามขนาดของผู้สื่อสาร
• ระดับบุคคล คือ ระหว่างคนสองคน ที่เรี ยกว่า การสื่ อสารระหว่างบุคคล
(interpersonal communication) หรื อการสื่ อสารเฉพาะหน้า (face – to –
face communication)
• ระดับกลุ่มบุคคล หรื อที่เรี ยกว่า การสื่ อสารระหว่างกลุ่ม (group
communication)
• ระดับองค์ กร หมายถึง การสื่ อสารระหว่างกลุ่มคนที่รวมตัวกันและ
ทางานในลักษณะเป็ นองค์กร (organizational communication) ใน
รู ปแบบต่าง ๆ เช่น หน่วยงานราชการ บริ ษทั ห้างร้าน สมาคม หรื อ
มูลนิธิ
• ระดับมวลชน หรื อที่เรี ยกว่า การสื่ อสารมวลชน (mass communication)
ความหมายของการสื่ อสารมวลชน
• กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ เป็ นผูเ้ สนอ โดยนาเอาคาว่า “การสื่ อสาร”
(communication) มารวมกับคาว่า “มวลชน” (mass) หมายถึง คนจานวนมาก ๆ
• สื่ อสารมวลชน จึงหมายถึง สื่ อสารไปสู่มวลชน (“สื่ อสารมวลชน คืออะไร”,
2507)
• ต่อมา กระทรวงศึกษาธิการได้บญั ญัติศพั ท์คาว่า “สื่ อมวลชน” ขึ้น เป็ นคาที่ตรง
กับคาว่า “mass media” ซึ่งเป็ นการย่นย่อจากคาว่า “สื่ อในการสื่ อสารมวลชน”
หรื อ “medium / media of communication”
• ปัจจุบนั มีการใช้คาว่าสื่ อมวลชนอย่างแพร่ หลาย โดยหมายถึง ช่องทางการ
สื่ อสารประเภทต่าง ๆ เช่น สื่ อหนังสื อพิมพ์ นิตยสาร ภาพยนตร์
วิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์
• พจนานุกรมการสื่ อสารมวลชน ให้ความหมายว่า
– การสื่ อสารมวลชน เป็ นแบบหนึ่งของการสื่ อสาร สามารถกระจาย
เรื่ องราวความรู ้ เปิ ดเผยไปสู่คนส่ วนใหญ่ ซึ่งมีลกั ษณะไม่เหมือนกัน
และไปถึงผูร้ ับพร้อมกัน
• การสื่ อสารมวลชน เป็ นกระบวนการส่ งข่าวสาร ความรู ้สึกนึกคิด ไปยังคน
จานวนมาก ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า Mass Communication
– Mass หมายถึง มวลชน หรื อประชาชนผูร้ ับสารทัว่ ไป ซึ่งมีจานวนมาก
– Communication หมายถึง การสื่ อสารหรื อการสื่ อความหมาย
• สรุ ปหมายถึงการสื่ อสารหรื อการสื่ อความหมายระหว่างกลุ่มบุคคล หรื อ
องค์กรหนึ่ง กับ ประชาชนทัว่ ไป
• เป็ นกระบวนการสื่ อสารที่มีความซับซ้อน จาเป็ นต้องใช้เครื่ องมือ บุคลากร
หรื อสื่ อ (Media) ที่มีประสิ ทธิภาพสูงเพียงพอ ที่จะนาข่าวสารไปถึงผูร้ ับ
จานวนมาก สื่ อที่ใช้เป็ นตัวกลางในการส่ งข่าวสารของการสื่ อสารมวลชน
จึงเรี ยกว่า สื่ อมวลชน (Mass Media)
• กาญจนา แก้วเทพ. (2541 : 43) ได้กล่าวถึงเกณฑ์ที่
ประกอบขึ้นเป็ น สื่ อสารมวลชน ว่า ประกอบด้วยเกณฑ์
เช่น ต้องผ่านสื่ อกลาง (หนังสื อพิมพ์ ภาพยนต์ ฯลฯ)
ปริ มาณผูร้ ับสารต้องมีจานวนมาก ต้องใช้เทคโนโลยีใน
การผลิต
ตัวอย่างบางตอนของ Mass communication
ประเภทสื่ อสารมวลชน
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ จาแนกสื่ อมวลชนไว้ครอบคลุมสื่ อ 6 ประเภท คือ
( ชัยยงค์ พรหมวงศ์ 2525 : 270 )
1. สิ่ งพิมพ์ ได้แก่ หนังสื อพิมพ์ วารสาร นิตยสาร หนังสื อ และสิ่ งตีพิมพ์ประเภทอื่นๆ
2. ภาพยนตร์ ทั้งภาพยนตร์เรื่ อง ภาพยนตร์สารคดี และภาพยนตร์ทางการศึกษาบางประเภ
3. วิทยุกระจายเสี ยง ได้แก่วทิ ยุที่ส่งรายการออกอากาศ ทั้งระบบ AM และ FM รวมไปถึงระบบ
เสี ยงตามสาย
4. วิทยุโทรทัศน์ เป็ นสื่ อทางภาพและทางเสี ยงที่เผยแพร่ ออกไป ทั้งประเภทออกอากาศและส่ งตาม
สาย
5. สื่ อสารโทรคมนาคม เป็ นผลจากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี มีการส่ งข้อความ เสี ยง ภาพ
ตัวพิมพ์ สัญลักษณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย ครอบคลุมกิจการสื่ อสารผ่านดาวเทียม โทรภาพ โทร
พิมพ์
6. สื่ อวัสดุบนั ทึก ได้แก่เทปบันทึกเสี ยง เทปบันทึกภาพ แผ่นบันทึกเสี ยง แผ่นบันทึกภาพ ซึ่ง
กลายเป็ นสื่ อมวลชน เพราะเทคโนโลยีที่กา้ วหน้าทาให้สามารถผลิตเผยแพร่ ได้มากและรวดเร็ว
คุณสมบัติของสื่ อมวลชน
• สื่ อมวลชนแต่ละประเภท มีคุณสมบัติในด้านต่างๆ ที่แตกต่างกัน และ
เป็ นปัจจัยกาหนดลักษณะ รู ปแบบของข่าวสารที่จะส่ งไปด้วย คุณสมบัติ
ที่แตกต่างกันดังกล่าว ทาให้สื่อมวลชนแต่ละประเภทมีลกั ษณะเฉพาะตัว
มีความเหมาะสมที่จะนาไปใช้เสนอความรู ้ข่าวสาร แตกต่างกัน
• สื่ อมวลชนแต่ละอย่าง มีขอ้ ดี และข้อจากัดที่ไม่เหมือนกัน เราจึงไม่อาจ
ระบุวา่ สื่ อมวลชนชนิดหนึ่งดีกว่าสื่ อมวลชนอีกชนิดหนึ่ง จนกว่าจะได้มี
การพิจารณาองค์ประกอบ และคุณสมบัติดา้ นต่างๆ ของสื่ อมวลชน
ดังต่อไปนี้
คุณสมบัติของสื่ อมวลชน 8 ประการ
• 1. ความรวดเร็ วของสื่ อมวลชน เป็ นคุณสมบัติของสื่ อสารมวลชน ใน
อันที่จะนาข่าวสาร ไปสู่ผรู ้ ับ โดยใช้เวลาให้นอ้ ยที่สุด ซึ่งนับว่าเป็ นความ
ต้องการของสื่ อสารมวลชนทุกประเภท ไม่วา่ จะเป็ นสื่ อไฟฟ้ าวิทยุ
สิ่ งพิมพ์ หรื อภาพยนตร์ แต่ดว้ ยคุณสมบัติดา้ นความรวดเร็ วที่แตกต่างกัน
ของสื่ อมวลชนแต่ละประเภท จึงทาให้ข่าวสารไปถึงผูร้ ับในเวลาที่
แตกต่างกัน
• 2. ความน่าเชื่อถือของข่าวสาร เป็ นการยอมรับของประชาชนต่อข่าวสาร
ที่เผยแพร่ มาจากองค์กรสื่ อมวลชนแต่ละแห่ง ชึ่งข่าวสารจะมีความ
น่าเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบหลายอย่าง คือ
ประเภทของสื่ อ องค์กรสื่ อมวลชน แหล่งข่าวสาร สถานการณ์
• 3. โอกาสที่จะได้รับข่าวสารสื่ อมวลชนแต่ละอย่าง เปิ ดโอกาสให้ประชาชนรับ
ข่าวสารได้ไม่เท่ากัน เนื่องจากลักษณะเฉพาะในด้านต่างๆ ของสื่ อมวลชนเอง
• 4. ปริ มาณและความสมบูรณ์ของเนื้อหา เนื้อหาสาระที่ถูกนาเสนอทาง
สื่ อมวลชนมีปริ มาณ และความสมบูรณ์ของเนื้อหามากน้อยแตกต่างกันตาม
ชนิดของสื่ อมวลชน และลักษณะของข่าวสาร หนังสื อพิมพ์ เสนอเนื้อหา ด้าน
กว้าง
• 5. โอกาสในการเลือกรับ หมายถึง จานวนช่องทาง ของสื่ อสารมวลชนแต่ละ
ชนิด ที่จะส่ งข่าวสารไปถึงผูร้ ับ และสภาพความพร้อมของผูร้ ับข่าวสาร เช่น
วิทยุกระจายเสี ยงออกอากาศพร้อมกันจานวนมากมายหลายสถานี เปิ ดโอกาส
ให้เลือกรับฟังได้มาก โทรทัศน์ในอดีตมีจานวนช่องความถี่จากัด ปัจจุบนั มี
จานวนเพิม่ ขึ้น และยังสามารถรับสัญญาณโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมได้เป็ น
จานวนมาก ส่ วนหนังสื อพิมพ์มีจานวนน้อย เมื่อเปรี ยบเทียบกับวารสาร
นิตยสาร
• 6. ช่องทางสาหรับการรับสัมผัส สื่ อประเภทสิ่ งพิมพ์ ใช้ตวั อักษร และรู ปภาพ
เป็ นหลัก ประสิ ทธิภาพในการจูงใจต่า ดังนั้นผูร้ ับสื่ อประเภทนี้ จึงต้องมีความ
ตั้งใจ และอดทนสูง
• 7. ความคงทนถาวร หมายถึงคุณสมบัติในการเก็บรักษาหรื อแสดงข่าวสารไว้
ได้เป็ นเวลานาน ซึ่งกล่าวโดยทัว่ ไปสื่ อประเภทสิ่ งพิมพ์ ภาพยนตร์ มีความ
คงทนถาวร เปิ ดโอกาสให้นามาอ่าน หรื อศึกษาซ้ า หรื อนาไปใช้อา้ งอิงได้ง่าย
• 8. การมีส่วนร่ วมของผูร้ ับสาร เนื่องจากการสื่ อสารมวลชน ซึ่งกล่าว
โดยทัว่ ไปเป็ นการสื่ อสารแบบทางเดียว ขาดการตอบสนองกลับจากฝ่ ายผูร้ ับ
ข่าวสาร ซึ่งถือว่า เป็ นข้อเสี ยที่สาคัญของการสื่ อสารมวลชน ดังนั้น
สื่ อมวลชนต่างๆ จึงมีความพยายามที่จะแก้ขอ้ เสี ยอันนี้ โดยหาวิธีการให้
ประชาชนผูร้ ับข่าวสารได้มีโอกาสแสดงปฏิกิริยาตอบสนองในรู ปแบบต่างๆ
เช่น การส่ งจดหมาย หรื อโทรศัพท์ไปแสดงความคิดเห็น
“การประยุกต์ ใช้ กระบวนการสื่ อสาร และ
การสื่ อสารมวลชน กับ การพัฒนาการท่ องเทีย่ ว”
•
•
•
•
•
•
•
•
•
แบ่ งกลุ่มออกเป็ น 9 กลุ่ม
นักศึกษาในแต่ ละกลุ่มแต่ งตั้งผู้นาอภิปราย และผู้จดบันทึก
นักศึกษาอภิปรายภายในกลุ่ม เพือ่ หาสาระทีส่ าคัญของหัวข้ อทีม่ อบหมาย
นักศึกษาจัดลาดับความสาคัญของประเด็นสาระทีอ่ ภิปรายเพือ่ กาหนดเป็ นหัวข้ อ
ย่อย
นักศึกษาจัดกลุ่มหัวข้ อย่ อย โดยคานึงถึงระดับ และความสั มพันธ์ ในหัวข้ อย่อยและ
ระดับของหัวข้ อย่อย
นักศึกษาจัดระบบตามลาดับการเชื่อมโยงของหัวข้ อต่ างๆ เพือ่ สร้ างความเชื่อมโยง
หัวข้ อที่มคี วามสั มพันธ์ กนั ในภาพรวมเป็ นความคิดรวบยอด
เขียนกรอบมโนทัศน์ จากผลทีไ่ ด้ ออกมาเป็ นภาพกราฟฟิ ก ในแบบที่เหมาะสม
กลุ่มนาเสนอผลงานในชั้นเรียน
อาจารย์ ผ้ สู อนตรวจสอบและสรุ ป และเปิ ดโอกาสให้ นักศึกษาได้ ซักถาม
ตัวอย่ าง
• การเรี ยนการสอนของอาจารย์ผสู ้ อน
Message : เนื้อหาวิชาที่สอน
encoding : สรุ ป, เตรี ยมการสอน
Sender :
อาจารย์ผสู้ อน
decoding : ตีความ, สรุ ป
Channel : การพูด, ppt, กิจกรรม Receiver :
นักศึกษา
decoding : ตีความ, สรุ ป
encoding : สรุ ป
Feed back : ผลการเรี ยน, พฤติกรรม
ตัวอย่ าง
• การเรี ยนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมไปยังชุมชนห่างไกล
Message : เนื้อหาวิชาที่สอน
encoding : สรุ ป, เตรี ยมการสอน
Sender :
คณะอาจารย์ผสู้ อน
Channel : ดาวเทียม,
เครื่ องรับโทรทัศน์
decoding : ไม่มี
Feed back : ไม่มี
decoding : ตีความ, สรุ ป
Receiver :
โรงเรี ยนห่างไกล
ทัว่ ประเทศ
encoding : ไม่มี
กิจกรรมกล่ มุ – แบ่ งกล่ มุ ออกเป็ น 6 กล่ มุ
ให้ศึกษาข้อดี ข้อเสี ย และคุณสมบัติของสื่ อแต่ละ
ประเภทดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
สิ่ งพิมพ์
ภาพยนตร์
วิทยุกระจายเสี ยง
วิทยุโทรทัศน์
สื่ อสารโทรคมนาคม
สื่ อวัสดุบนั ทึก
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
กลุ่มเป้ าหมาย
ข้อดี / จุดเด่น
ข้อจากัด / จุดด้อย
ความรวดเร็ ว
ความน่าเชื่อถือ
โอกาสที่จะได้รับข่าวสาร
ความสมบูรณ์ของเนื้อหา
โอกาสในการเลือกรับ
ช่องทางสาหรับการรับสัมผัส
ความคงทนถาวร
การมีส่วนร่ วมของผูร้ ับสาร
เนื้อหา
ประวัติการสื่ อสาร