เอกสาร เครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(4)

Download Report

Transcript เอกสาร เครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(4)

ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย
การสื่อสาร
การสร้างความสัมพันธ์
การสร้างความร่วมมือ
การอานวยการ และการสร้างเครือข่าย
การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
(Stakeholders)
ใครคือผู้มีส่วนได้
ส่ วนเสี ย
ใครได้ รับ
ผลกระทบบ้ าง
ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย คือ ปัจเจกบุคคล หรือกลุ่มบุคคล องค์ กร สถาบัน หรือชุ มชน ที่
ได้ รับผลกระทบทั้งทางบวกและลบจากการตัดสิ นใจ/นโยบาย/โครงการ หรือมี
ผลประโยชน์ เกีย่ วข้ องกับโครงการ
ทาไมต้ องวิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย
 เพือ่ ระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย แยกแยะกลุ่มผู้สนับสนุนและคัดค้ าน
 วิเคราะห์ อานาจ บทบาท และความสาคัญของกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย
ซึ่งอาจมีผลต่ อการดาเนินโครงการ
 ช่ วยเป็ นข้ อมูลเพือ่ จัดระดับการมีส่วนร่ วม
 ช่ วยประเมินกิจกรรมในอนาคตของโครงการ
 เพือ่ ระบุประเด็นทางสั งคมอืน่ ๆ
 เพือ่ ให้ เจ้ าหน้ าที่รัฐระดับต่ างๆ ทางานร่ วม
กันกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย
 เพือ่ รวบรวมทัศนคติของกลุ่มผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ย
การวิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย
(Stakeholders)
ประเภทผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย
กลุ่มผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ยโดยตรง (Primary stakeholders)
ได้แก่ ผูท้ ี่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับโครงการ และได้รับผลกระทบโดยตรงทั้ง
ทางบวกและทางลบจากการดาเนินโครงการตามที่ได้กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์
กลุ่มผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ยรอง (Secondary stakeholders)
ได้แก่ คน กลุ่มคน สถาบัน และหน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการ และได้รับ
ผลประโยชน์หรื อผลเสี ยโดยอ้อมจากโครงการ
กลุ่มผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ยหลัก (Key stakeholders) ถือเป็ นผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยที่มี
สาคัญต่อการอยูร่ อดของหน่วยงาน/โครงการ และมีอิทธิ พลที่ส่งผลกระทบต่อ
ความสาเร็ จของโครงการ อาจจะเป็ นบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลใดใน 2 กลุ่มแรกก็ได้
ขั้นตอนการวิเคราะห์ ผ้ ูมสี ่ วนได้ ส่วนเสี ย
ระบุผ้ มู สี ่ วนได้ ส่วนเสี ย
ประเมินประโยชน์ และผลกระทบของโครงการที่อาจมีต่อผู้มี
ส่ วนได้ ส่วนเสี ยหลัก
ประเมินบทบาท อานาจ และความสาคัญของผู้มสี ่ วนได้
ส่ วนเสี ย
วางยุทธศาสตร์ เพือ่ ให้ ผ้ มู สี ่ วนได้ ส่วนเสี ยเข้ ามาร่ วม
กระบวนการ
การประเมินบทบาท อานาจ ความสาคัญ
ของผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ย
- ด้ านอานาจ/สถานการณ์ ทางการเมือง/สั งคม/เศรษฐกิจ
- ด้ านการจัดองค์ กร
- ด้ านการควบคุมทรัพยากร
- อิทธิพลและอานาจทีไ่ ม่ เป็ นทางการ ความสั มพันธ์ ส่วนตัว
- ความสั มพันธ์ ระหว่ างอานาจกับผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ยอืน่ ๆ
- บทบาททีม่ ตี ่ อความสาเร็จ/ล้ มเหลวของโครงการ
การวางยุทธวิธีให้ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ
ดูผลประโยชน์ /
ความสาคัญ/อิทธิพล
ของแต่ละกลุ่ม
พยายามรวมกลุ่มที่ไม่
มีอานาจต่อรองเข้ามา
ด้วย
สร้างรูปแบบการมีส่วน
ร่วมที่เหมาะสม
ตลอดเวลา
การจัดทาโครงการ
ประโยชน์ ของการวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
เพื่อช่วยในการระบุกลุ่มผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย โดยอาจแยกเป็ นกลุ่มสนับสนุนและกลุ่ม
คัดค้าน และตระหนักถึงกลุ่มที่องค์กรควรให้ความเอาใจใส่ซึ่งอาจถูกผลกระทบจากการจัดทา
โครงการ
เพื่อนาความคิดเห็นของผูม้ ีส่วนได้เสียมาวางแผนโครงการต่างๆตัง้ แต่ตอนต้น ไม่
เพียงแต่จะได้รบั การสนับสนุนเท่านัน้ แต่ยงั เป็ นปัจจัยในการปรับปรุงคุณภาพของโครงการ
อีกด้วย
เพื่อให้ได้ทรัพยากรที่มาสนับสนุนมากขึน้ จะทาให้โครงการมีแนวทางที่จะสาเร็จมากขึ้น
เพื่อเปิดโอกาสให้บคุ ลากรขององค์กรได้ประสานงานหรือมีปฏิสมั พันธ์กบั กลุ่มผูม้ ีส่วนได้ส่วน
เสีย ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ ต่อการจัดทาโครงการขององค์กร การสื่อสารกับผูม้ ีส่วนได้เสียจะ
สร้างความมันใจ
่ ความเข้าใจในโครงการและผลประโยชน์ ที่ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียจะได้รบั
เพื่อช่วยประเมินกิจกรรมขององค์กรในอนาคตอันจะนาไปสู่การลดผลกระทบทางลบที่
เกิดขึน้ จากการดาเนินงานขององค์กร โดยปรับความสัมพันธ์ระหว่างโครงการกับกลุ่มผูม้ ีส่วน
ได้ส่วนเสีย
เพื่อระบุประเด็นทางสังคมอื่นๆซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความสาเร็จขององค์กร
การสื่ อสารหลากหลายรู ปแบบ
วัตถุประสงค์ ของการสื่ อสาร
1. การสื่ อสารเพือ่ แจ้ งให้ ทราบ
2. เพือ่ ความบันเทิงใจ
3. เพือ่ ชักจูงใจ
วิธีการสื่ อสาร
วิธีการสื่ อสารแบ่ งเป็ น 3 วิธี คือ
1. การสื่ อสารด้ วยการเขียน (Written Communication)
องค์ การต่ าง ๆ ใช้ วธิ ีนีม้ ากที่สุดในการสื่ อสารที่เป็ นทางการ
เช่ น จดหมาย และบางครั้งใช้ บนั ทึกช่ วยจาในการสื่ อสารที่ไม่ เป็ น
ทางการ การรายงานผลการปฏิบตั งิ าน คู่มือการปฏิบัตงิ าน
นโยบาย กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ และมาตรฐานของงาน
วิธีการสื่ อสาร
2. การสื่ อสารด้ วยการพูด (Oral Communication)
พบมากทีส่ ุ ดและทุกหนแห่ งในองค์ การ เป็ นการ
สนทนาระหว่ างการทางาน กลุ่มงาน การกล่ าว
นาเสนอ และสุ นทรพจน์ การสื่ อสารลักษณะนี้
ผู้ฟังก็บทบาทสาคัญ ในการแลกเปลีย่ นข่ าวสารกัน
วิธีการสื่ อสาร
3. การสื่ อสารด้ วยสั ญลักษณ์ (Nonverbal Communication)
เป็ นการสื่ อสารทีแ่ สดงออก ของร่ างกาย เช่ น สี หน้ า ภาษา
กาย สภาพแวดล้ อม (ขนาดของห้ อง โต๊ ะทางาน การตกแต่ ง
เหล่ านีแ้ สดงให้ เห็นถึงอานาจหน้ าที่)
วิธีการสื่ อสาร
การสื่ อสารด้ วย อีเลคโทรนิค เป็ นการสื่ อสารผ่ าน
สื่ ออีเลคโทรนิค
- คอมพิวเตอร์
- teleconferencing สามารถติดต่ อกันได้ โดยอยู่กนั คน
ละท้ องถิ่น
- Audio conferencing โดยใช้ สายโทรศัพท์
-Video conferencing สามารถเห็นภาพ อีกฝ่ ายผ่ านทีวี
การสื่ อสารด้ วยการพูด
• การพูดทีด่ ี หมายถึง...
การรู้ จักใช้ ถ้อยคา นา้ เสี ยง และบุคลิกภาพต่ างๆ ของ
ผู้พูดให้ สื่อความหมายแก่ ผ้ ูฟังอย่ างมีประสิ ทธิภาพ รวมทั้ง
รู้ จักใช้ จรรยามารยาท และประเพณีนิยมอันดีงาม เพือ่
ถ่ ายทอดความรู้ ความคิด และความต้ องการทีเ่ ป็ นประโยชน์
ให้ แก่ ผู้ฟังตามจุดประสงค์ ทตี่ ้งั ไว้ อย่ างครบถ้ วน
การพูดเพือ่ โน้ มน้ าวใจจะประสบความสาเร็จ
ต้ องประกอบด้ วยสิ่ งต่ างๆ ดังนี้
• 1. การทาให้ เป็ นส่ วนหนึ่งของผู้ฟัง
• 2. การเสนอสิ่ งทีต่ รงกับความต้ องการ
• 3. บุคลิกของผู้โน้ มน้ าวใจรวมทั้งทัศนคติทมี่ ผี ลต่ อ
ปฏิกริ ิยาของผู้โน้ มน้ าวใจ
• 4. ชื่อเสี ยงของผู้โน้ มน้ าวใจ
การสื่ อสารกับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย
ทาดีกว่ า
โต้ วาที
ไม่ ทาดีกว่ า
หาข้ อตกลงโดยใช้ เหตุใช้ ผลในการโน้ มน้ าว
ไม่ เอาแพ้เอาชนะ
(รับรู้ เรียนรู้ ยอมรับ ตระหนัก ร่ วมมือ)
เกร็ดเล็กเกร็ดน้ อยในการนาเสนอ
• ผู้พูดต้ องมุ่งทีค่ วามคิดและความรู้สึกของผู้ฟัง
โครงการนีเ้ ป็ นภัย
คุกคามต่ อผู้ฟัง
หรือไม่
โครงการนี้
สามารถสร้ าง
ประโยชน์ ให้ แก่
ผู้ฟังได้ หรือไม่
โครงการนีจ้ ะ
ก่อให้ เกิดการ
เปลีย่ นแปลงใน
ชุ มชนผู้ฟังหรือไม่
การสื่ อสารด้ วยการเขียน
• หลักการเขียนทีด่ ี
–มีวตั ถุประสงค์ ทชี่ ัดเจนในการเขียน
–มุ่งเน้ นทีผ่ ้ ูอ่านเป็ นหลัก
–ระบุใจความสาคัญให้ ชัดเจน
–ไม่ เขียนออกนอกเรื่อง
–ไม่ เขียนคาฟุ่ มเฟื อย
–ใช้ ประโยคง่ าย ๆ
–คานึงถึงกลยุทธ์ ในการสื่ อสาร
องค์ ประกอบที่สาคัญในการสื่ อสาร
ให้ มีประสิ ทธิภาพ
• การรับรู้ ความต้ องการหรือจุดประสงค์ ของผู้ส่งข่ าวสารเพือ่
การจูงใจ (Know your objective)
• รู้ ถึงเรื่องราวเกีย่ วกับผู้รับการจูงใจ (Know your
customer)
• วางแผนการนาเสนอ (Plan your approach)
• มุ่งหมายให้ เกิดความพอใจ (Aim at lasting
satisfaction)
การสื่ อสารสาหรับผู้เอือ้ อานวย (Facilitator)
ผู้เอือ้ อานวยทีด่ มี คี ุณภาพ ควรจะมีคุณสมบัตดิ งั ต่ อไปนี้
•
•
•
•
•
ไว้ วางใจในผู้อนื่ และเชื่อมั่นในศักยภาพของพวกเขา
มีความอดทนและมีทกั ษะการฟังทีด่ ี
ตระหนักรู้ ในตัวเองและเปิ ดกว้ างเรียนรู้ สิ่งใหม่ ๆ
มีความมั่นใจแต่ ไม่ ทะนงตน
เคารพความคิดเห็นของผู้อนื่ แม้ จะไม่ ใช่ ความคิดดีเลิศ
การสื่ อสารสาหรับผู้เอือ้ อานวย (Facilitator)
• ทาด้ วยความคิดสร้ างสรรค์ และมีนวัตกรรมทางความคิด
• สามารถสร้ างบรรยากาศความมั่นใจท่ ามกลางผู้มีส่วนร่ วม
• มีความยืดหยุ่นในวิธีการและการดาเนินการ ไม่ เข้ มงวดตาม
วาระกาหนด
• มีความรู้ พฒ
ั นากลุ่ม และไวต่ อความรู้ สึกของกลุ่ม สามารถ
เปลีย่ นแปลงวิธีการหรือปรับขั้นตอนตามสถานการณ์
• มีทกั ษะในการวาดและเขียน
การให้ ข้อมูลย้ อนกลับ
ทักษะเฉพาะทีผ่ ้ ูเอือ้ อานวยต้ องมี
การถาม ผู้เอือ้ อานวยควรใช้ คาถามทีช่ ่ วยให้ สมาชิกในกลุ่มแสดง
ข้ อมูล รายละเอียด มีประเด็นชัดเจน สรุปรายละเอียด และ วาดภาพ
รวมข้ อสรุป
• คาถามทีใ่ ช้ เช่ น
เปิ ด-ปิ ดท้ าย
ตรวจตรา
กระตุ้นให้ แสดงทัศนะอืน่
สรุป
- คุณลองยกตัวอย่ าง....ให้ พวกเราฟังได้ ไหมครับ/ค่ ะ?
- คุณกรุณาอธิบายรายละเอียดมากกว่ านีห้ น่ อย?
- ใครมีความคิดเห็นหรือข้ อแนะนาอืน่ ไหมครั บ/ค่ ะ
- ใครจะสรุปประเด็นนีว้ ่ าอย่ างไรบ้ าง
การตั้งคาถาม : มีกระบวนการดังนี้
- ศึกษาเรื่องที่จะตั้งคาถามเพือ่ กาหนดประเด็นคาถามที่อยากรู้
- ศึกษาสภาพแวดล้ อมหรือบริบทที่เกีย่ วข้ อง ซึ่งอาจส่ งผลต่ อคาถาม
และคาตอบ
- มองเห็นคาตอบอย่ างคร่ าวๆ เพือ่ การจดบันทึกที่รวดเร็ว
- ถ้ ามีคาถามมาก จะจัดคาถามออกเป็ นกลุ่มๆ เพือ่ ให้ ได้ คาตอบที่
ครบถ้ วนสมบูรณ์
- พยายามตั้งคาถามตั้งแต่ ระดับพืน้ ฐานจนถึงคาถามในระดับ
ลึกซึ้ง เช่ น มีต้งั แต่ คาถามทั้งที่เป็ น
อะไร (What) อย่ างไร (How) ทาไม (Why) และเมื่อไร (When)
- คาถามควรเน้ นการดึงประสบการณ์ ลกึ ๆ ของผู้ตอบ
การฟังและถ่ ายทอดความกลับ
การสื่ อสารส่ วนใหญ่ เป็ นการฟัง 80 เปอร์ เซ็นต์ และ อีก 20 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นการพูด
การฟังที่มีประสิ ทธิภาพ
ผู้เอือ้ อานวยควรพยายามทาความเข้ าใจคาพูด ความรู้ สึกและ
ความคิดของผู้มสี ่ วนร่ วม (สมาชิกของกลุ่ม) จากนั้นผู้เอือ้ อานวยตรวจสอบความเข้ าใจโดยการ
ถ่ ายทอดความกลับ กระบวนการฟังและถ่ ายทอดความกลับ เหมือนกับการจับลูกบอลขว้ างแล้ว
กระดอนกลับการฟังและถ่ ายทอดความกลับช่ วยให้ เกิดความชัดเจนในประเด็นต่ อกลุ่ม ประโยค
ทีใ่ ช้ ในการถ่ ายทอดความกลับ เช่ น
สิ่ งทีผ่ มได้ ยนิ คุณพูดคือ........ถูกต้ องไหมครับ?
ผมคิดว่ าคุณพูด.........อย่ างนีใ้ ช่ ไหมครับ?
ทัศนะของคุณคือ........ถูกต้ องนะครับ?
ความคิดของคุณแตกต่ างจากคุณมาลี คุณคิดว่ า.........ใช่ ไหมครับ?
การจับประเด็น เชื่อมโยงและสรุปประเด็น
- มีเค้ าโครง / กรอบ หรือประเด็นที่เกีย่ วข้ องกับเรื่องทีฟ่ ังอย่ างคร่ าวๆ เพือ่ ความสะดวกใน
การจดบันทึกประเด็นสาคัญๆ เป็ นหมวดหมู่
- ให้ ความสนใจ และตั้งใจฟังเรื่องทีก่ าลังพูดถึงกันอยู่
- หูจะฟังอย่ างตั้งใจ มือจะจดประเด็นสาคัญๆ ในสมองจะคิดและมองเห็นออกมาเป็ นภาพ
แล้วจับภาพทีไ่ ด้ มาแทนที่ด้วยคาหรือประเด็น
- แยกเรื่องทีฟ่ ังออกเป็ นประเด็นต่ างๆ แล้วทาการเชื่อมโยงประเด็น โดยดูว่าแต่ ละประเด็นมี
ความแตกต่ างหรือสั มพันธ์ กนั อย่ างไร หลังจากนั้นจึงรวมส่ วนย่อยๆ ออกเป็ นภาพรวมหรือ
ภาพใหญ่ อกี ครั้งหนึ่ง
- คิดทบทวนและสะท้ อนกลับเร็วๆ สาหรับข้ อสรุ ปหรือภาพใหญ่ ทไี่ ด้ เพือ่ ตรวจสอบว่ าจับใส่
กลุ่มถูกต้ องหรือไม่
- นาเสนอข้ อสรุ ปหรือภาพใหญ่ ด้วยภาพหรือโมเดลประกอบ
การกระตุ้น : มีกระบวนการดังนี้
• ต้องมีความรู้สึกที่ไวต่อบรรยากาศของการเปลี่ยนแปลง และสังเกตบรรยากาศกลุ่มตลอดเวลา หากมีคนใด
ที่กาลังหลุดจากวงสนทนา ต้องรี บดึงความสนใจให้เข้ามามีส่วนร่ วมในกลุ่มทันที
• รู้จกั / ศึกษาหรื อจับรายละเอียดภูมิหลังของกลุ่ม เพื่อดึงมาเป็ นข้อมูลสาหรับการกระตุน้ ให้มีส่วนร่ วมใน
การพูด เช่น ทราบว่าศิริราชมี CoP มาก จึงเชิญและกระตุน้ ผูแ้ ทนจากศิริราชให้แบ่งปั นประสบการณ์
ดังกล่าว
• มีความยืดหยุน่ ต่อกับเวลา
• สร้างกติกา (อย่างไม่เป็ นทางการ) ให้ “ทุกคนต้องพูด” ส่ วนมากจะเน้นให้ผทู ้ ี่มีอาวุโสน้อยกว่า หรื อ
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาพูดก่อน
• ใช้เทคนิคกระบวนการกลุ่มที่เรี ยกว่า Nominal Group Technique - NGT เข้ามาช่วยกระบวนการกลุ่ม ซึ่ง
เทคนิคดังกล่าวมีจุดเน้นที่สาคัญคือ ทุกคนต้องพูด และพูดนอกเหนือจากคนอื่นที่พดู มาแล้ว ซึ่งเป็ นการ
แก้ปัญหาเรื่ องการผูกขาดในการพูดของคนใดคนหนึ่ง
หมายเหตุ: การใช้เทคนิค NGT จะใช้ควบคู่กบั “การเสวนา” (Dialogue) เสมอ
การสรุป
เป้าหมายของการสรุ ป คือ
• ดึงความคิด ข้ อเท็จจริง รายละเอียดสาคัญเข้ าด้ วยกัน
• สร้ างพืน้ ฐานสาหรับการอภิปรายครั้งต่ อไป หรือ สร้ างจุดเปลีย่ น
• ทบทวนความก้ าวหน้ า
• ตรวจสอบเพือ่ ความกระจ่ างชัด หรือ ข้ อตกลง
อุปสรรคของการสื่อสาร
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
การกรองข้ อมูลให้ บดิ เบือนไปจากข้ อเท็จจริง
การเลือกรับรู้ ข่าวสาร
อารมณ์ ความรู้ สึก
ได้ รับข้ อมูลข่ าวสารมากเกินไป
การต่ อต้ าน
ความกดดันเรื่องเวลา
ปัญหาของภาษา
วัฒนธรรมประจาชาติ
วิธีแก้ไขอุปสรรคของการสื่ อสาร
1.
2.
3.
4.
5.
6.
การให้ โอกาสผู้รับข่ าวสารโต้ ตอบ
การใช้ ภาษาง่ าย ๆ ทั้งการเขียนและพูด
ข่ าวสารที่ส่งออกไปต้ องชัดเจน
การตั้งใจรับฟัง
ระงับอารมณ์ ความรู้สึก
สั งเกตอากัปกิริยาของคู่สนทนา
การสร้ างความร่ วมมือ
การอานวยการพัฒนา
การสร้ างเครือข่ าย
การสร้ างความร่ วมมือ การอานวยการพัฒนา
การสร้ างเครือข่ าย
วัตถุประสงค์
รู้/เข้าใจ
การสร้างความร่วมมือ (Collaborate)
การอานวยการพัฒนา (Facilitate)
และ การสร้างเครือข่าย (Network)
ความสาคัญของการสร้างความร่วมมือ
(Collaborate)
การพัฒนาชุ มชนจาเป็ นต้ องเรี ยนรู้ ที่จะวางแผนการพัฒนาชุ มชน
ร่ วมกัน โดยคานึงถึงอดีตหรื อความเป็ นมาของชุ มชน สภาพปั จจุบัน
ของชุ มชน และอนาคตของชุ มชน รวมทั้งต้ องไม่ ละเลยสั มพันธภาพ
ระหว่ างสมาชิกในชุ มชน โดยการสร้ างให้ คนในชุ มชนมีความรู้ สึก
การเป็ นเจ้ าของร่ วมกัน ซึ่งจะส่ งผลต่ อผลของการพัฒนาชุมชน
http://www.nesac.go.th/document/images11/061100010.jpg
Asset-Based Community Development
(การพัฒนาโดยคานึ งถึงทุนชุมชน)
สร้างให้สมาชิกในชุมชนความรู้สึกถึงเป็ นเจ้าของชุมชน
ร่วมแรงร่วมใจระหว่างคนในชุมชนและผูน้ าชุมชน
วิเคราะห์รากเง้าของปัญหาร่วมกัน
กาหนดเป้ าหมายแห่งความสุขร่วมกัน
ลงมือปฏิบตั ิ เพื่อมุ่งสู่เป้ าหมายความสุขของชุมชน
พัฒนากรผู้มบี ทบาท
สาคัญในการประสาน
ความร่ วมมือของกลุ่ม
คนต่ างๆ ในชุ มชน
การให้ และรับความร่ วมมือ
ความร่ วมมือเป็ นฉันใดใคร่ จะรู้
มันแฝงอยู่แห่ งไหนให้ ฉงน
เหตุไฉนจึงติดปากแทบทุกคน
บ้ างก็บ่น “เขาไม่ ให้ ความร่ วมมือ” ใครได้ รับ ความร่ วมมือ ก็ชอบจิต
งานสั มฤทธิ์สมหวังดังยึดถือ ทุกคนต่ างหวังจะได้ “ความร่ วมมือ”
ใครบ้ างหรือคิดจะ “ให้ ” โดยไม่ แคลง
หากคิดอยากจะ “ได้ ” จากใครเขา ก็ตัวเรา “ให้ ” หรือยัง ดังแถลง
อันนา้ ใจไมตรีทแี่ สดง ย่ อมเป็ นแหล่ งสร้ างมิตรสนิทนาน
ผศ. กิติยวดี บุญซื่อ
เทคนิคการสร้างความร่วมมือ
 ทำใจเป็ นกลำง เปิ ดใจกว้ ำงไม่ ด่วนตำหนิ
 ยอมรับปั ญหำ ด้ วยกำรรับฟั งควำมคิดเห็น
 ให้ โอกำสทุกคนได้ ระบำยควำมคับข้ องใจ
 ประเมินควำมเข้ ำใจถึงปั ญหำและตกลงวิธีกำรแก้ ไข
ปั ญหำร่ วมกัน ซึ่งเป็ นกำรยอมรับและสำมำรถนำไปปฏิบัติ
ได้ ทุกฝ่ ำย
การอานวยการพัฒนา (Facilitate)
ผู้เอือ้ อานวย (Facilitator) เป็ นบทบาทที่ท้าทาย
และน่ าตื่นเต้ น การมีทักษะทางภาษาและมีความ
เข้ าใจวัฒนธรรมการเรียนรู้ และเรื่องราวเกีย่ วกับผู้
เรียนรู้ จะมีส่วนช่ วยในการอานวยการเรียนได้ เป็ น
อย่ างดี และการช่ วยเหลือที่สาคัญยิง่ คือควรพัฒนา
ให้ ผู้อนื่ มีทักษะเป็ นผู้เอือ้ อานวยการเรียนรู้ ต่อไปได้
้ อานวย (facilitator)
บทบาทผูเ้ อือ
• ผู้เอือ้ อานวยควรคอย กระตุ้นให้ สมาชิกในกลุ่มแสดงบทบาท
อย่ างเหมาะสมและส่ งเสริมให้ เกิดความสมดุลระหว่ างภารกิจ
เป้าหมายและดูแลความสั มพันธ์ ซึ่งกันของสมาชิก
ความสั มพันธ์ ระว่ างภารกิจการดูแลความสั มพันธ์ ของกลุ่ม
เปรียบเหมือนกับล้ อรถจักรยาน เมือ่ เราขี่จักรยานล้อหน้ าแทน
“ภารกิจ” ซึ่งเคลือ่ นมุ่งสู่ ทหี่ มายข้ างหน้ า (เป้าหมาย)
ขณะเดียวกันล้ อหลังแทน “การดูแลความสั มพันธ์ กลุ่ม” คอย
สนับสนุนการเดินทาง หมุนเคลือ่ นตามไปด้ วยกัน
ท่านคิดว่า...
้ อานวยเปรียบเสมือนอะไร... ???
ผูเ้ อือ
บทบาทพัฒากรในฐานะผู้เอือ้ อานวย (facilitator)
เปรียบเสมือนกับวาทยกร (conductor)
ผู้ควบคุมวงดนตรีออเครสต้ า
ทั้งคู่พยายามทาให้ สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่ วมและคอยช่ วยเหลือตามส่ วน
ความสามารถ(talent)ประกอบรวมเป็ นหนึ่งเดียว ทาให้ กลุ่มเกิดความชัดเจน
มุ่งสู่ เป้าหมายความสาเร็จ และมีความราบรื่นในการทางานกลุ่มร่ วมกัน
อย่ างไรก็ตามบทบาททั้งสองมีความแตกกันตรงที่
- วาทยากรเป็ นผู้เลือกบทเพลงในการบรรเลงของวง ขณะทีผ่ ู้เอือ้ อานวย เป็ นผู้ช่วย
เหลือกลุ่มในการพิจารณาตัดสิ นวาระของกลุ่มด้ วยตัวสมาชิกของกลุ่มเอง
- วาทยากรเป็ นผู้กาหนดให้ วงบรรเลงตาม แต่ ผู้เอือ้ อานวยมีความยืดหยุ่นและก้าวคู่
ไปกับกลุ่มมุ่งสู่ เป้าหมายความสาเร็จของกลุ่มด้ วยกัน
ผู้เรียนรู้แต่ ละคนมีพฤติกรรมแตกต่ างกัน
สามารถจัดประเภทพฤติกรรม และ
แนะนาแนวทางในการปฎิบัติตนของ
ผู้เอือ้ อานวย ได้ ดังนี้
ข้อเสนอแนะในการวางต ัวของ คุณอานวย
ประเภท
พฤติกรรม
การแสดงออกของ
้ อานวย
ผูเ้ อือ
เหตุผล
แสดงต ัวเด่น, กระหายอยากแสดง
ควบคุมกลุม
่
ความคิดเห็น
ได้ร ับการยกย่อง
เป็นผูน
้ าแบบทางการ
หรือไม่เป็นทางการใน
กลุม
่
เงียบ
ปล่อยให้กลุม
่ ตอบสนอง
่ ยเหลือตามเหมาะสมและ
คอยชว
ิ ผูอ
ทวนประเด็นก ับสมาชก
้ น
ื่ ๆ
หลีกเลีย
่ งการมองโดยตรงย ัง
บุคคลนน
ั้
ให้ทก
ุ คนได้แสดงความคิดเห็น
ก่อนทีจ
่ ะเข้าการอภิปรายใน
ประเด็นเจาะจงหนึง่ ๆทีท
่ ก
ุ คนได้
พูดมา
ถามความคิดสรุปภาพรวมก ับผู ้
พูดและให้ผอ
ู้ น
ื่ แสดงคิดเห็น
ประเภท
พฤติกรรม
ชอบ
วิพากวิจารณ์
ไม่คอ
่ ยให้
ความร่วมมือ
การแสดงออกของ
้ อานวย
ผูเ้ อือ
เหตุผล




บุคลิกชอบต่อสู ้
เอาชนะ
่ นเร้น
มีวาระซอ
บุคลิกหงุดหงิดง่าย
ิ
ไม่พอใจในสมาชก
บางคน
อยากมีสว่ นร่วม
ผล ักด ัน แต่อยากลง
มือทา




ระบุประเด็นทีผ
่ พ
ู้ ด
ู ไม่เห็น
ด้วยและพิจารณาว่าเขาควร
้ รือพ ักไว้
จะอภิปรายตอนนีห
ก่อนแล้วค่อยพูดทีหล ัง
ดึงบทสนทนาโดยตรงจาก
เขา
ปล่อยให้กลุม
่ จ ัดการก ับเขา
้ ฎเกณฑ์ขอ
ใชก
้ บ ังค ับทีก
่ ลุม
่
ตกลงไว้
ประเภท
พฤติกรรม
เงียบ
การแสดงออกของ
้ อานวย
ผูเ้ อือ
เหตุผล


ไม่กล้า กล ัว เขินอาย
ไม่เคยแสดงความ
คิดเห็น (อาจเป็น
เพราะ ว ัย เพศ สถานะ
ั
ื้ สาย
ทางสงคม
เชอ
เผ่าพ ันธ์)




กระตุน
้ ด้วยการสบตาหรือ
ื้ เชญ
ิ ให้พด
เชอ
ู
หาโอกาสพูดด้วยเป็นสว่ น
ค ัวเพือ
่ ค้นหาความคิดและ
ึ
ความรูส
้ ก
ึ อบอุน
ใจดี สร้างความรูส
้ ก
่
เป็นมิตรด้วย
ถามคาถามโดยตรงต่อ
บุคคลนน
ั้ เมือ
่ เป็นเรือ
่ งที่
เขามีความชานาญ หรือ
พูดออกมาโดยไม่ตงใจพู
ั้
ด
แสดงเป็นทางการ
ประเภท
พฤติกรรม
ชอบยืนอยู่
ข้างๆ
วงสนทนา
การแสดงออกของ
้ อานวย
ผูเ้ อือ
เหตุผล



ั
ต้องการความชดเจน
หรืออาจจะต้องการให้
แปลความหรือพูด
ผ่าน
ไม่สนใจในการ
อภิปราย
ยอมร ับเห็นด้วยก ับ
การสนทนา




จ ัดระเบียบกลุม
่ และแนะนา
กฎเกณฑ์เมือ
่ เริม
่ ต้นการ
ประชุม
หยุดพ ักการประชุมและ
พูดถึงความต้องการของ
้ อานวยได้ยน
ทุกคนทีผ
่ เู ้ อือ
ิ
พูดแปลภาพรวมความ
้ นจาก
ต้องการโดยไม่เพีย
หน้ามือเป็นหล ังมือ
ทาให้ประเด็นได้ร ับความ
ั านการ
กระจ่างชดผ่
อภิปราย
ทักษะของผู้อานวยทีด่ ี
1. การเป็ นนักฟัง ฟังมาก พูดน้ อย เชื่อมัน่ ในศักยภาพของเขา
2. การเป็ นคนช่ างสั งเกต
3. การเป็ นนักตั้งคาถาม
4. การเป็ นนักคิด
5. การเป็ นนักสร้ างบรรยากาศ
6. การเป็ นนักเล่ าเรื่อง
7. การเป็ นนักสื่ อสาร
8.การเป็ นนักสรุปบทเรียน
การสร้างเครือข่าย (Network)
เมื่อพูดถึงเครือข่ายคุณนึกถึงอะไร
"Social Network Analysis"
การวิเคราะห์ Social Network ตามหลักการ Life based Model
การเรียน
การทางาน
ทุกอย่ าง
คุณลักษณะของบุคคลทีส่ ามารถสร้ างเครือข่ ายได้ ดี
1.มีมนุษยสัมพันธ์ที่ 8.เป็นที่ปรึกษาทีด
่ ี
ดี
9.เสมอต้นเสมอ
2.เปิดใจ
ปลาย
3.ยืดหยุ่น
4.เป็นมิตร
5.คุยได้ทุกเรื่อง
6.เป็นแบบอย่างที่ดี
7.สอนงานได้
10.มีความจริงใจ
จริงจัง
11.มีเจตนาดี/ตั้งใจ
ดี
12.ประนีประนอม
การสร้างเครือข่าย (Network)
เครือข่ายต้องมีเป้าหมายร่วมกัน
เครือข่ าย คือ การเชื่อมโยงร้ อยรัดเอาความพยายามและ
การดาเนินงานของฝ่ ายต่ างๆ เข้ าด้ วยกันอย่ างเป็ นระบบ
และอย่ างเป็ นรู ปธรรม เพือ่ ปฏิบตั ภิ ารกิจอย่ างใดอย่ าง
หนึ่งร่ วมกันโดยทีแ่ ต่ ละฝ่ ายยังคงปฏิบัตภิ ารกิจหลักของ
ตนต่ อไปอย่ างไม่ สูญเสี ยเอกลักษณ์ และปรัชญาของ
ตนเอง การเชื่อมโยงนีอ้ าจเป็ นรู ปของการรวมตัวกันแบบ
หลวมๆ เฉพาะกิจตามความจาเป็ น หรืออาจอยู่ในรู ปของ
การจัดองค์ กรทีเ่ ป็ นโครงสร้ างของความสั มพันธ์ กนั อย่ าง
ชัดเจน
การสร้ างเครือข่ าย (Network)
“การสร้างความสัมพันธ์
เชิงรุกด้วยการเริ่มทา
ความรู้จักผู้อน
ื่ และให้เขา
เหล่านั้นได้รู้จักตัวคุณเป็น
ขั้นเริ่มต้นของการสร้าง
ข้อควรคานึงเมื่อทางาน
เครือข่าย
1. ต้องคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของ
ส่วนรวม(ชุมชน) เป็นหลัก
2. ต้องลดอัตตาและผลประโยชน์
ส่วนตน
3. ต้องเข้าใจบริบทของแต่ละฝ่าย
4. ต้องยึดหลักเสมอภาค เชื่อถือ และ
ไว้ใจกัน
5. ต้องมุ่งมั่นต่อพันธะสัญญาทีม
่ ีตอ
่
กระบวนการทางานของเครือข่าย
http://www.nesac.go.th/document/images11/061100010.jpg