7_ระบบสารสนเทศการตลาดและการประยุกต์ด้วยIT_Edit

Download Report

Transcript 7_ระบบสารสนเทศการตลาดและการประยุกต์ด้วยIT_Edit

ระบบสารสนเทศการตลาดและ
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
สั ปดาห์ ที่ 7
1
เนือ้ หา
•
•
•
•
•
•
•
ความหมาย ความสาคัญ แนวความคิดของหลักการตลาด
การวิเคราะห์ โอกาสทางการตลาด
การแบ่ งส่ วนตลาด และการเลือกตลาดเป้าหมาย
หลักเศรษฐศาสตร์ สารสนเทศ
ส่ วนประสมทางการตลาด 6’P
ระบบสารสนเทศการตลาด และระบบย่ อย
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีในระบบสารสนเทศการตลาด และแนวโน้ ม
ในอนาคต
2
ความหมายของการตลาด
การตลาด คือ การค้นหาความต้องการ และตอบสนองความต้องการ
การตลาด คือ การตอบสนองความต้องการของลูกค้าโดยมีกาไรเป็ นผลตอบแทน
การตลาด คือ การวางแผนและดาเนิ นการค้าราคา ส่ งเสริ มการตลาด และจัดจาหน่าย
การตลาด คือ กระบวนการจัดการในการดาเนินการคาดคะเน และสร้างความพอใจกับลูกค้า
3
ความสาคัญของการตลาด
1. การตลาดช่วยตอบสนองความต้องการ
2. การตลาดเป็ นแนวทางการดาเนินงาน เช่น การวิจยั การผลิต การ จัดซื้ อ ฯลฯ
3. การตลาดทาให้บรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร เช่นผลกาไร ธุรกิจเจริ ญเติบโต
4. การตลาดช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ ทาให้เกิดการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น ทาให้ประชากร
มีรายได้ มีกาลังซื้ อ มีผลต่อเศรษฐกิจโดยส่ วนรวมดีข้ ึน
4
แนวความคิดของหลักการตลาด
1. แนวคิดด้านการผลิต (Production Concept)
เป็ นแนวคิดที่เก่าแก่ มุ่งเน้นไปที่การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิต และการกระจาย
สิ นค้าให้แพร่ หลาย เหมาะสมกับสถานการณ์ 2 ประเภทคือ
1.1 เมื่อความต้องการของลูกค้า (Demand) มากกว่า จานวนผลิตภัณฑ์ที่เสนอขาย(Supply)
1.2 เมื่อมีตน้ ทุนของสิ นค้าสู ง จึงปรับปรุ งการผลิตเพื่อเพิม่ ผลผลิตและลดต้นทุน
2. แนวคิดด้านผลิตภัณฑ์ (Product Concept)
เน้นการดาเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อปรับปรุ งสิ นค้าให้มีคุณภาพดีอยูต่ ลอดเวลา และเชื่อ
ว่าผูบ้ ริ โภคจะเต็มใจจ่ายในราคาที่สูง
5
แนวความคิดของหลักการตลาด (ต่ อ)
3. แนวคิดด้านการขาย (Selling Concept)
เน้นความพยายามขายและการส่ งเสริ มการขาย เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการซื้ อ เนื่องจากเป็ น
สิ นค้าที่มีปริ มาณมากในตลาด หรื อเป็ นสิ นค้าที่ไม่ค่อยมีคนคิดจะซื้ อ เช่น กรมธรรม์
ประกันชีวติ
4. แนวคิดด้านการตลาด (Marketing Concept)
เน้นการผลิตสิ นค้าตามความต้องการของผูบ้ ริ โภคแทนที่จะพยายามเปลี่ยนความ
ต้องการของผูบ้ ริ โภคให้ไปซื้ อสิ นค้าที่องค์กรได้ผลิตขึ้น
5. แนวคิดด้านการตลาดเพื่อสังคม (Societal Marketing Concept)
เน้นการพิจารณาความต้องการและผลประโยชน์ของตลาดเป้ าหมายให้เกิดความพอใจ
และทาให้ความเป็ นอยูข่ องผูบ้ ริ โภค และสังคมดีข้ ึน เช่นการติดฉลากแจ้งคุณค่าอาหาร
หรื อติดคาเตือนที่ซองบุหรี่
6
การเปรี ยบเทียบความแตกต่าง
จุดเริม
่ ตน
มุงเน
้ –
่ ้น –
วิธก
ี าร
–
เป้าหมาย
โรงงาน – ผลิตภัณฑ์ – การส่ งเสริมการขาย – กาไรจากปริมาณการขาย
แนวคิดดานการขาย
้
กลุ่มเป้าหมาย – ความต้ องการ – การประสานงาน – กาไรจากความพอใจ
แนวคิดดานการตลาด
้
7
การวิเคราะห์ โอกาสทางการตลาด
1. การวิเคราะห์ สิ่งแวดล้อมทางการตลาด
1.1 สิ่ งแวดล้อมภายนอก
สิ่ งแวดล้อมมหาภาค (Macro environment)
เช่น ประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การเมืองและกฎหมาย เทคโนโลยี
สิ่ งแวดล้อมจุลภาค (Micro environment)
เช่น ผูจ้ าหน่ายวัตถุดิบ คนกลาง ลูกค้า คู่แข่งขัน
1.2 สิ่ งแวดล้อมภายใน จัดเป็ นกิจกรรมควบคุมได้ เช่น วัตถุประสงค์ของ
กิจการ ทรัพยากรของกิจการ และส่ วนประสมการตลาด
8
การวิเคราะห์ โอกาสทางการตลาด (ต่ อ)
2.การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค -> ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อพฤติกรรมผู้บริโภค
สิ่ งเร้ าทาง
การตลาด
ผลิตภัณฑ์
ราคา
สถานที่
สิ่ งเร้ าอืน่
เศรษฐกิจ
เทคโนโลยี
การเมือง
การส่ งเสริม- และ
การตลาด
วัฒนธรรม
ปัจจัยทีม่ ี
อิทธิพล
วัฒนธรรม
สั งคม
ลักษณะส่ วนตัว
จิตวิทยา
กระบวบการตัดสิ นใจ
ของผู้ซื้อ
การตระหนักถึงปัญหา
การคันคว้ าข้ อมูล
การประเมินทางเลือก
การตัดสิ นใจซื้อ
พฤติกรรมหลังการซื้อ
กระบวนการตัดสิ นใจซือ
้ ของผู้บริโภค
1. ขัน
้ ตอนกอนการตั
ดสิ นใจซือ
้
2.
่
ขัน
้ ตอนการซือ
้ จริง
การตัดสิ นใจของผู้ซื้อ
การเลือกผลิตภัณฑ์
การเลือกตรา
การเลือกผู้จัดจาหน่ าย
ช่ วงเวลาทีซ่ ื้อ
ปริมาณทีซ่ ื้อ
ข้ อเสนอ
การบริการ
ความสะดวกสบาย
บริการหลังการขาย
9
การวิเคราะห์ โอกาสทางการตลาด (ต่ อ)
3. การแบ่ งส่ วนตลาด
1. เกณฑ์ ในการแบ่ งส่ วนตลาด เช่ น
1.1 การแบ่งส่ วนตลาดตามลักษณะภูมิศาสตร์
1.2 การแบ่งส่ วนตลาดตามลักษณะประชากร
1.3 การแบ่งส่ วนตลาดตามลักษณะจิตนิสยั
1.4 การแบ่งส่ วนตลาดตามลักษณะพฤติกรรม
2. เกณฑ์ การแบ่ งส่ วนตลาดธุรกิจ เช่ น
2.1 การแบ่งส่ วนตลาดธุรกิจตามลักษณะองค์กร
2.2 การแบ่งส่ วนตลาดธุรกิจตามลักษณะการดาเนินงาน
2.3 การแบ่งส่ วนตลาดธุรกิจตามลักษณะการจัดซื้อ
2.4 การแบ่งส่ วนตลาดธุรกิจตามลักษณะส่ วนบุคคล
ข้ อควรคานึงถึงในการแบ่ งส่ วนการตลาดทีม่ ีประสิ ทธิผล
1.สามารถวัดได้ เช่น ขนาด กาลังซื้อ 2. สามารถทากาไรได้ 3.สามารถเข้าถึงได้
4. สามารถสร้างความแตกต่างได้ 5.สามารถปฏิบตั ิการได้
10
การวิเคราะห์ โอกาสทางการตลาด (ต่ อ)
4. กลยุทธ์ การเลือกตลาดเป้ าหมาย แบ่ งได้ 3 ประเภท คือ
1. การตลาดไม่แตกต่าง (Undifferentiated Marketing)
2. การตลาดแตกต่าง (Differentiated Marketing)
3. การตลาดมุ่งเฉพาะส่ วน (Concentrated Marketing)
ส่ วนประสม
UDM
ตลาด
ส่ วนประสมการตลาด 1
ส่ วนตลาด 1
ส่ วนตลาด 1
ส่ วนประสมการตลาด 2
ส่ วนตลาด 2
ส่ วนตลาด 2
ส่ วนประสมการตลาด 3
การตลาด
ส่ วนประสม
การตลาด
CM
DM
ส่ วนตลาด 3
ส่ วนตลาด 3
การสร้ างความแตกต่ างและการวางตาแหน่ ง
-สิ นค้ าทีแ่ ตกต่ าง เช่น รู ปร่ าง คุณภาพ
-การบริการทีแ่ ตกต่ าง เช่น การสัง่ ซื้อ การส่ งมอบ
-บุคลากรทีแ่ ตกต่ าง เช่น มีความรู้ความสามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
-ภาพพจน์ ทแี่ ตกต่ าง เช่น การสร้างสัญลักษณ์ การใช้สื่อประชาสัมพันธ์
11
เศรษฐศาสตร์ ในเศรษฐกิจดิจิตอล
Evan & Wursters เสนอแนวคิดว่า สิ นค้าส่ วนใหญ่มีลกั ษณะของแนวคิดทาง
เศรษฐศาสตร์ อยู่ 2 แนวคิดผสมกันคือ
– เศรษฐศาสตร์ ข่าวสาร (Economics of Information)
• เกี่ยวข้องกับการให้ขอ้ มูล ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ไม่สามารถจับต้องได้
– เศรษฐศาสตร์ของสิ่ งของ (Economics of Thing)
• เกี่ยวข้องกับสิ นค้า หรื อสิ่ งที่จบั ต้องได้
• เช่น ชั้นวางสิ นค้าในซุปเปอร์ มาร์ เก็ตทาหน้าที่ให้ ข่ าวสารและสินค้ าแก่ผบู ้ ริ โภค
• สมมติวา่ ผูบ้ ริ โภคน้ าปลาหมด ตั้งใจจะไปซื้ อน้ าปลา แต่นอ้ ยคนที่คิดอย่างละเอียด
ว่า จะซื้ อน้ าปลายีห่ อ้ อะไร ขนาดไหน ราคาเท่าไหร่ จนกว่าจะไปถึงชั้นวางสิ นค้า
• จากนั้นผูบ้ ริ โภคจึงเริ่ มรับ “ข่าวสาร” ของน้ าปลาก่อน เช่น ยีห่ อ้ ขนาด ราคา แล้ว
นาข่าวสารนั้นมาพิจารณาเพื่อตัดสิ นใจซื้ อ จนกระทัง่ ผูบ้ ริ โภคหยิบไปสัมผัสขวด
น้ าปลาเพื่อหยิบใส่ ตะกร้า ผูบ้ ริ โภคจึงจะเริ่ มสัมผัสกับ “สิ่ งของ”
12
เศรษฐศาสตร์ “ข่ าวสาร” และเศรษฐศาสตร์ “สิ่ งของ”
กรณี ช้ นั วางของ**
หลักเศรษฐศาสตร์ ข่าวสารบอกว่า การให้ข่าวสารแก่ลกู ค้ามากๆ เป็ นสิ่ งดีเพราะช่วย
ในการตัดสิ นใจเลือกซื้ อสิ นค้าได้ดีข้ ึน และการให้ข่าวสารไม่มีตน้ ทุนดังนั้น ร้านค้า
ควรขยายชั้นวางสิ นค้าในแต่ละหมวดให้มากๆ เพื่อให้ข่าวสารแก่ลกู ค้ามากๆ
แต่หลักเศรษฐศาสตร์ สิ่งของแย้งว่า แม้วา่ ข่าวสารจะไม่มีตน้ ทุน เพราะหากลูกค้าไม่ซ้ื อ
ขวดน้ าปลานั้นก็ยงั วางอยูแ่ ละทาหน้าที่ให้ข่าวสารต่อไป แต่การขยายชั้นวางของให้
กว้างขึ้นนั้น ทาให้ร้านค้าเสี ยเงินมาสต็อกสิ นค้ามากขึ้นทาให้เกิดต้นทุนสู งขึ้นดังนั้น
ชั้นวางสิ นค้าควรจะมีขนาดพอเหมาะ ไม่เล็กถึงจนถึงขนาดเอาน้ าปลามาวางยีห่ อ้ ละ
ขวดจนลูกค้าไม่ได้รับข่าวสาร และไม่ใหญ่โตเกินไปจนทาให้ตน้ ทุนของร้านค้าจม
ไปกับการสต็อกสิ นค้ามากเกินควร
13
เศรษฐศาสตร์ “ข่ าวสาร” และเศรษฐศาสตร์ “สิ่ งของ”(ต่ อ)
• ในทางปฏิบตั ิอาจมีการปรับสูตรผสมระหว่าง สิ่ งของ และ ข่าวสาร ต่างกันไป เช่น ร้าน 7-11
ไม่จาเป็ นต้องทาชั้นวางขนาดใหญ่เพื่อให้ข่าวสารมากเกินไปนักเพราะลูกค้ามาซื้อเพื่อความ
สะดวกเวลาน้ าปลาหมดกะทันหัน และสะดวกกว่าเดินทางไปซื้อที่ซุปเปอร์มาเก็ต
• ในขณะที่ร้านค้าส่ งอย่าง Makro จาเป็ นต้องทาชั้นวางสิ นค้าขนาดใหญ่ เพราะลูกค้า (ผูค้ า้ ราย
ย่อย) ต้องการซื้อไปขายต่อ จึงต้องนาเสนอข่าวสารเพื่อประกอบการตัดสิ นใจให้มากที่สุด
• การเติบโตของอินเทอร์เน็ตที่ครอบคลุมไปทัว่ โลก และต้นทุนการใช้เครื อข่ายที่ ต่ามาก ทา
ให้เกิดการแยกตัวกันของ สิ่ งของและข่าวสาร
• ประเด็นสาคัญก็คือ ข่าวสาร สามารถขายตัวมันเองอย่างอิสระ ปั จจุบนั สื่ อดั้งเดิมทั้งหลาย
เช่น หนังสื อพิมพ์ โทรทัศน์ต่างพากันมาเปิ ดเว็บไซต์ เช่น เว็บไซต์ขายหนังสื อ ซึ่งแท้จริ ง
แล้วไม่ได้ขายตัวหนังสื อ แต่ขายข่าวสาร คือไปรวบรวมรายชื่อหนังสื อจากผูค้ า้ ส่ งมาจัดเป็ น
หมวดหมู่ ให้ผบู้ ริ โภคเลือกซื้อได้ง่ายขึ้น แล้วรับคาสัง่ ไปส่ งต่ออีกที
• พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์เข้ามาแทนที่คนกลาง เพราะใช้อินเทอร์เน็ตในด้านต่างๆ เช่น ธนาคาร
14
การเข้ าถึง (Reach) และสาระ (Richness) ของข่ าวสาร
สาระน้ อย แต่ การเข้ าถึงมาก
- เช่น บริ ษทั ประกาศรับสมัครงานในหนังสื อพิมพ์ แต่เนื่องจากค่าโฆษณาในหนังสื อพิมพ์
ค่อนข้างแพง ทาให้ลงข้อมูลได้นอ้ ย (สาระน้อย) แต่หนังสื อพิมพ์น้ นั เป็ นหนังสื อที่คนทัว่ ไป
หรื อเกือบทุกคนต้องการอ่าน (การเข้าถึงมาก)
สาระมาก แต่ การเข้ าถึงน้ อย
• เช่น นักการเมืองต้องส่ งข่าวสารให้ผมู้ ีสิทธิเลือกตั้ง หากต้องการให้ขอ้ มูลมีสาระมาก อาจจะ
ต้องใช้สนามหลวงเป็ นเวทีปราศรัย แต่จานวนผูฟ้ ังที่จะเข้าถึงข่าวสารได้ ก็จะถูกจากัดตาม
พื้นที่ของสนามหลวงเท่านั้น หากนักการเมือง เปลี่ยนมาให้ข่าวสาร โดยวิธีแจกใบปลิวแทน
ก็จะมีขอ้ จากัดในการนาเสนอสาระบนใบปลิว เพราะคนอ่านใบปลิว ไม่มีโอกาสได้ยนิ วาทะ
อันคมคายหรื อน้ าเสี ยงชวนเชื่อเหมือนฟังจากเวทีปราศรัย
• และนี่คือเหตุผลว่าทาไม เมื่อเกิดโทรทัศน์ข้ ึนแล้ว หนังสื อพิมพ์ยงั อยูไ่ ด้ เพราะหนังสื อพิมพ์
ไม่มีขอ้ จากัดด้านเวลา จึงสามารถนาเสนอข่าวสาร สาระความบันเทิงต่างๆ ได้ เช่น ลงนิยาย
ประกาศผลสลากกินแบ่ง ซึ่งเรี ยกว่ามีสาระมาก แต่กม็ ีขอ้ จากัดในแง่การเข้าถึงผูร้ ับสาร
15
ส่ วนประสมทางการตลาด 6’P
เพื่อให้เกิดแนวคิดประยุกต์ ใช้องค์ประกอบการตลาดเดิม4P บวกกับความสามารถ
พิเศษของเทคโนโลยี ทาให้เกิดองค์ประกอบการตลาดแบบ6P ดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์ (Product)
2. ราคา (Price)
3. ช่องทางการจัดจาหน่าย (Place)
4. การส่ งเสริ มการขาย (Promotion)
5. การรักษาความเป็ นส่ วนตัว (Privacy)
6. การให้บริ การส่ วนบุคคล (Personalization)
16
องค์ ประกอบที่หนึ่ง ผลิตภัณฑ์ (Product)
• แบ่งการพิจารณาออกเป็ น 3 ประเภท
1. สิ นค้าที่สามารถจับต้องได้ (Physical Goods) สิ นค้าต้องมีคุณภาพ มีการจัดส่ งสิ นค้าที่ดี
บรรยายเนื้อความไม่เกินความเป็ นจริ ง
2. สิ นค้าดิจิตอล (Digital Goods) ทาครั้งเดียวขายได้เรื่ อยๆ ,ซื้อสิ นค้าแล้วได้ทนั ที ไม่ตอ้ ง
ห่อหรื อส่ ง , ขายได้ตลอด 7 วัน 24 ชัว่ โมง , ตรวจสอบข้อมูลสิ นค้าได้ตลอดเวลา เช่น
ซอฟต์แวร์, เพลง, E-Book, รู ปภาพ ปั ญหาคือ การละเมิดลิขสิ ทธ์ การแก้ไขปั ญหา คือ
ใช้ซอฟต์แวร์สาหรับป้ องกันการ copy files และการส่ งต่อที่มีชื่อว่า Digital Right
Management (DRM) ซึ่งเป็ นเทคโนโลยีที่ใช้โดยเจ้าของลิขสิ ทธิ์ เพื่อควบคุมการเข้าถึง
และการใช้งานข้อมูลดิจิทลั (การจัดการสิ ทธิดิจิทลั มักสับสนกับการป้ องกันการ
คัดลอกซึ่งหมายถึงเทคโนโลยีในการจากัดการใช้งานและการเข้าถึงข้อมูลบนอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ซ่ ึงเป็ นส่ วนหนึ่งในการจัดการสิ ทธิดิจิทลั )
3. ธุรกิจบริ การ (Services) เน้นในเรื่ องความสะดวกในการใช้บริ การ
17
องค์ ประกอบที่สอง ราคา(Price)
ปัจจัยในการตั้งราคา
• ต้องคานึงถึงราคาตลาดเป็ นหลัก
• การคิดเผือ่ ราคาค่าขนส่ ง
• สิ นค้าราคาถูกอาจจะขายไม่ได้เสมอไป
• เน้นเรื่ องความสะดวกในการสัง่ ซื้อ
• สิ นค้าที่มีราคาถูกเกินไปอาจขายแบบรวมแพ็ก
18
องค์ ประกอบที่สาม ช่ องทางการจัดจาหน่ าย(Place)
• การหาทาเลการค้าที่ดีเป็ นองค์ประกอบที่สามารถตัดสิ นได้วา่ ธุรกิจจะรุ่ งเรื องหรื อไม่
• ถ้าจะเปรี ยบเทียบกับเว็บไซต์อิเล็กทรอนิกส์ การหาทาเลเทียบได้กบั การตั้งชื่อร้านค้าที่
ศัพท์ทางอินเทอร์ เน็ตเรี ยกว่า โดเมนเนม (Domain Name)
• ลูกค้าเข้าสู่ ร้านค้าโดยจดจาชื่อร้าน เช่น Amazon.com หรื อ Hotmail.com ชื่อร้านค้า
เหล่านี้เปรี ยบเสมือนยีห่ อ้ สิ นค้าและชื่อเหล่านี้ เป็ นทรัพยากรที่มีอยูจ่ ากัดบนโลก
อินเทอร์ เน็ต เช่นเดียวกับทาเลทองย่านการค้า
• การจดทะเบียนโดเมนเนมจึงควรเลือกชื่อที่จดจาได้ง่าย สัมพันธ์กบั ผลิตภัณฑ์ รวมถึง
ความเร็ วในการตอบสนองลูกค้าและความปลอดภัยของข้อมูล
• อย่างไรก็ตาม ผูป้ ระกอบการไทยไม่ควรยึดเว็บไซต์เป็ นช่องทางการค้าเพียงอย่างเดียว
หากมีโอกาสเปิ ดช่องทางการค้าตามวิธีปกติได้ ก็ควรจะทาควบคู่กนั ไปด้วยการมี
เว็บไซต์จะเป็ นประโยชน์ต่อการให้ขอ้ มูลเบื้องต้นแก่ลกู ค้าก่อนซื้ อ หรื อมีการซื้ อซ้ าได้
19
องค์ ประกอบที่สี่ การส่ งเสริมการขาย(Promotion)
• รู ปแบบมีต้ งั แต่การจัดชิงรางวัล การให้ส่วนลดพิเศษในเทศกาลต่างๆ รวมทั้งการ
โฆษณาประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้าเข้ามาเลือกสิ นค้าที่เว็บไซต์
• นอกจากการโฆษณาประชาสัมพันธ์ในสื่ อปกติ เช่น หนังสื อพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ
โทรทัศน์ แล้วยังมีการโฆษณาด้วยรู ปแบบที่เรี ยกว่าป้ ายโฆษณาบนเว็บไซต์(Banner
Advertising) ซึ่ งมีลกั ษณะคล้ายสื่ อสิ่ งพิมพ์ แต่จะแสดงบนเว็บไซต์อื่น
• การโฆษณาลักษณะนี้ จะคิดค่าใช้จ่ายตามจานวนครั้งที่แสดงโฆษณาโดยนับเป็ น
จานวนหลักพันครั้ง หรื อ CPM ซึ่ งมาจากคาว่า Cost Per Thousand Impressions
• การประชาสัมพันธ์ชื่อเว็บไซต์หรื อโดเมนเนมให้เป็ นที่รู้จกั เพื่อ ให้ลกู ค้าเข้าซื้ อสิ นค้า
โดยตรงนั้นเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งใช้เวลาและเงินทุนสู ง ดังนั้นจึงควรส่ งเสริ มการขายด้วย
การใช้เว็บไซต์ที่มีชื่อเสี ยงอยูแ่ ล้วช่วยดึงลูกค้าด้วย
20
องค์ ประกอบที่สี่ การส่ งเสริมการขาย(Promotion) ต่ อ
วิธีการประชาสั มพันธ์ ผ่านสื่ อออนไลน์ มีหลายวิธี เช่น
-โฆษณาด้วยแบนเนอร์ (ป้ ายโฆษณา) , E-mail , การเสี ยค่าใช้จ่ายกับเว็บไซต์อื่น, ระบบ
สมาชิกแนะนาสมาชิก , การแลกลิงค์กบั เว็บไซต์อื่น , โฆษณาในSearch Engine หรื อ
Web Directory
วิธีการประชาสั มพันธ์ ผ่านสื่ อออฟไลน์ มีหลายวิธี เช่น
- ใส่ ในนามบัตร, หัว-ซองจดหมาย , ทาเป็ นของชาร่ วย เช่น ปากกา พวงกุญแจ ,
โฆษณาติดตามสื่ อเคลื่อนที่ เช่น รถประจาทาง , โฆษณาตามสื่ อต่างๆ เช่น วารสาร
หนังสื อพิมพ์ , จัดสัมมนาให้ความรู้ , จัดงานแถลงเปิ ดตัวสิ นค้าหรื อบริ การ ฯลฯ
21
องค์ ประกอบที่ห้า การให้ บริการแบบเจาะจง(Personalization)
• เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตทาให้เว็บไซต์สามารถเก็บข้อมูลของลูกค้าแต่ละคนได้ และสามารถ
ให้บริ การแบบเจาะจงกับลูกค้าแต่ละรายได้ เช่น หากผูใ้ ช้เคยซื้อหนังสื อจากเว็บไซต์
Amazon.com เมื่อเข้ามาที่เว็บไซต์น้ ีอีกครั้งหนึ่งจะมีขอ้ ความต้อนรับโดยแสดงชื่อผูใ้ ช้ข้ ึนมา
พร้อมรายการหนังสื อที่เว็บไซต์แนะนา ซึ่งเมื่อดูรายละเอียดจะพบว่าเป็ นหนังสื อในแนว
เดียวกับที่เคยซื้อครั้งที่แล้ว
• เป็ นลักษณะการบริ การแบบโต้ตอบร่ วมกัน (Interactive) ระหว่างผูป้ ระกอบการกับลูกค้าแบบ
เจาะจงบุคคล เรี ยกว่า การตลาดแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Marketing) เพื่อ นาเสนอสิ่ งที่
ตรงใจลูกค้า อานวยความสะดวกให้กบั ลูกค้าและสร้างความเป็ นกันเองและความประทับใจ
• เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตสามารถให้บริ การได้ตรงใจลูกค้าที่สุด โดยใช้เทคโนโลยีที่เรี ยกว่า
cookies ซึ่งเป็ นไฟล์ขอ้ มูลขนาดเล็กที่ บันทึกในเครื่ องคอมพิวเตอร์ของลูกค้า เว็บไซต์จะ
สามารถรู้จกั ลูกค้าได้ทนั ทีเมื่อกลับมาที่เว็บไซต์น้ ีอีกครั้งหนึ่งโดยอ่านข้อมูลจาก cookies
• จากนั้น เว็บไซต์จึงนาข้อมูลที่ระบุ ตัวตนของลูกค้าไปสัมพันธ์กบั ฐานข้อมูลสิ นค้าที่ลูกค้าเคย
ซื้อแล้วซึ่งเก็บบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ของร้านค้า พร้อมสร้างรายการแนะนาสิ นค้าที่เหมาะกับ
ลูกค้าแต่ละรายได้
22
องค์ ประกอบที่ห้า การให้ บริการแบบเจาะจง(Personalization) ต่ อ
• เครื่ องคอมพิวเตอร์ ของร้านค้าสามารถเก็บข้อมูลการซื้ อสิ นค้าทุกรายและใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ประเภท Data Miningทาการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ในการซื้ อสินค้า
รวมทั้งการเสนอขายสิ นค้าแบบ Cross Sell ได้
• Cross-selling ก็คือ การ “เสนอ” “แนะนา” หรื อ “เชิญชวน” รวมถึง “จูงใจ” ให้ลกู ค้าผู้
ตัดสิ นใจซื้ อผลิตภัณฑ์ของเราไปแล้ว พิจารณาซื้ อผลิตภัณฑ์อื่นๆ เพิ่มอีก ไม่วา่ จะเป็ น
สิ นค้าหรื อบริ การของเราเองที่มีอยู่ ของแผนกอื่น ของบริ ษทั ในเครื อ หรื อแม้แต่ของ
พันธมิตรธุรกิจของเรา เช่น 7-11,ธนาคาร เป็ นต้น
• เป้ าหมายของการทา Cross-Selling ก็คือการเพิ่มโอกาสที่จะขายบริ การในส่ วนอืน่ ๆ
แก่ลกู ค้า และโดยมาก การตอบสนองของลูกค้ามักเป็ นไปในด้านบวก
• ได้มีผขู ้ ยายความสามารถของคอมพิวเตอร์ ในการให้บริ การแบบเจาะจงนี้ไปสู่ การ
พัฒนารู ปแบบการตลาดที่เรี ยกว่า การบริ หารลูกค้าสัมพันธ์หรื อ CRM (Customer
Relationship Management) ซึ่ งเป็ นหลักการตลาดที่เจาะจงถึงลูกค้าแต่ละรายว่า
บริ ษทั มีส่วนแบ่งการตลาดในตัวลูกค้ารายนี้เท่าไร
23
องค์ ประกอบที่หก การรักษาความเป็ นส่ วนตัว (Privacy)
• ผูป้ ระกอบการควรกาหนดนโยบาย เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ โดยเฉพาะข้อมูล
เกี่ยวกับที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขบัตรเครดิต
• ผูด้ ูแลเว็บไซต์ จาเป็ นต้องสร้างระบบรักษาความปลอดภัยที่เชื่ อถือได้วา่ ข้อมูล
เหล่านี้จะไม่ถกู โจรกรรมออกไปได้
• ในส่ วนตัวผูข้ ายเองนั้นก็จะต้องระบุนโยบายเกี่ยวกับการรักษา ความเป็ น
ส่ วนตัวของลูกค้า หรื อ Privacy Policy ให้ชดั เจนบนเว็บไซต์ และปฏิบตั ิตามกฎ
นั้นอย่างเคร่ งครัด เช่น ไม่ส่งโฆษณาไปหาลูกค้าทางไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์
โดยไม่ได้รับอนุญาตหรื อไม่นาข้อมูลที่อยูข่ องลูกค้าไปขายต่อให้บริ ษทั
การตลาด
24
องค์ ประกอบที่หก การรักษาความเป็ นส่ วนตัว (Privacy) ต่ อ
• ปั จจุบนั นี้หลายประเทศ รวมทั้งประเทศไทยกาลังร่ างกฎหมายเกี่ยวกับ
การรักษาความเป็ นส่ วนตัวอยู่
• อย่างไรก็ตามกลุ่มผูพ้ ฒั นาเว็บไซต์รายใหญ่ ได้รวมตัวกันตั้งองค์กรไม่แสวงกาไรชื่อ
TRUSTe ขึ้นมา เพื่อสร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์
• โดยหน้าที่ขององค์กรนี้คือ ดูแลให้เจ้าของเว็บไซต์ปฏิบตั ิตามนโยบายรักษาความเป็ น
ส่ วนตัวตามที่ประกาศไว้
• เว็บไซต์ที่ผา่ นการตรวจสอบจาก TRUSTe จะได้รับอนุญาตให้นา เครื่ องหมายมาติดไว้
บนเว็บไซต์ของตนได้เพื่อสร้างความมัน่ ใจให้กบั ลูกค้าที่ตอ้ งป้ อนข้อมูลส่ วนตัว
25
สรุปลักษณะของวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์ วตั ถุประสงค์ และกลยุทธ์ ในแต่ ละระยะ
26
สรุปลักษณะของวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์ วตั ถุประสงค์ และกลยุทธ์ ในแต่ ละระยะ (ต่ อ)
27
ความหมายและความสาคัญของ
ระบบสารสนเทศทางการตลาด
ระบบสารสนเทศทางการตลาด หมายถึงระบบที่ออกแบบให้จดั เตรี ยมสารสนเทศที่เกี่ยวข้องและ
เป็ นประโยชน์ต่อผูบ้ ริ หารการตลาด เพื่อให้การวางแผน การตัดสิ นใจ และการควบคุมทางการตลาด
ทันเวลาและทันต่อเหตุการณ์
ความสาคัญของระบบสารสนเทศทางการตลาด
- ผูบ้ ริ หารการตลาดจาเป็ นต้องใช้ขอ้ มูลและสารสนเทศการตลาดจานวนมากเพื่อใช้ในการ
ตัดสิ นใจ
- วางแผนการตลาด ควบคุมและประเมินผลการทางานของฝ่ ายประเมินสถานการณ์
- การวิเคราะห์โอกาสทางการตลาด การแบ่งส่ วนตลาด การเลือกตลาดเป้ าหมาย
- การวิเคราะห์จุดอ่อนและจุดแข็งของกิจการเปรี ยบเทียบคู่แข่ง
- กาหนดส่ วนประสมตลาดที่เหมาะสม
- ถ้าใช้ครบถ้วน ถูกต้อง แม่นยา จะช่วยให้ฝ่ายการตลาดทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
- ข้อมูลและสารสนเทศเป็ นดาบสองคม ข้อมูลที่มากเกินไปและถ้าจัดระบบไม่ถูกต้องจะทาให้
ผูบ้ ริ หารหลงประเด็น สรุ ปสถานการณ์ไม่ถูกต้อง ทาให้ตดั สิ นใจผิดพลาด
28
ลักษณะสาคัญของระบบสารสนเทศการตลาด
ระบบสารสนเทศทางการตลาดมีลกั ษณะสาคัญ 5 ประการ
1. เป็ นระบบที่ต้ งั ขึ้นเป็ นทางการในองค์กรเพื่อให้ทางานอย่างต่อเนื่อง
(เป็ นงานประจาไม่ใช่งานเฉพาะกิจ)
2. จัดเตรี ยมข้อมูลเชิงลึก (comprehensive)
3. สามารถส่ งข้อมูลและสารสนเทศไปตามหน่วยงานต่างๆอย่างเป็ นระเบียบ
4. ข้อมูลการตลาดและสิ่ งแวดล้อมต้องปรับตามกาหนดเวลาเป็ นประจา
5. ระบบต้องมีความยืดหยุน่ (flexible)
ประสิ ทธิ ภาพของระบบขึ้นอยูก่ บั การออกแบบให้ระบบจัดเตรี ยมข้อมูลและ
สารสนเทศที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้องและทันเวลา
29
ระบบย่ อยของระบบสารสนเทศการตลาด มี 4 ระบบ
ระบบข้ อมูล
ภายใน
ระบบข่ าวสาร
การตลาด
ระบบสนับสนุน
การตัดสิ นใจ
ทางการตลาด
ระบบการวิจัย
การตลาด
สิ่ งแวดล้อมทางการตลาด
ผู้บริหารด้ านการตลาด
ระบบสารสนเทศทางการตลาด
30
ระบบย่ อยของระบบสารสนเทศทางการตลาด 1. ระบบข้ อมูลภายในกิจการ
Input
การลาเลียงวัตถุดิบเข้า
Process หรือ การผลิตและปฏิบัติการ
Output
การลาเลียงวัตถุดิบออก
ระบบข้ อมูลภายในกิจการ ประกอบด้วยข้อมูลภายในกิจการ 3 กลุ่มหลัก คือ
1.1 ข้อมูลการลาเลียงวัตถุดิบเข้า (Inbound Logistics) ข้อมูลนาเข้าได้แก่ ระบบการจัดซื้ อและเจ้าหนี้,
ระบบการตรวจรับวัตถุดิบและชิ้นส่ วน, ระบบการเก็บวัตถุดิบและชิ้นส่ วน
1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวบการ (Operation) เป็ นการแปลงสภาพ(การผลิต)วัตถุดบั และชิ้นส่ วนเป็ นสิ นค้า
สาเร็จรู ปหรื อบริ การที่จะนาออกนอกกิจการ จริ งๆแล้วเป็ นข้อมูลของฝ่ ายผลิต แต่ฝ่ายการตลาดต้อง
รับทราบข้อมูลเช่นกันเพราะหากเกิดปัญหา ก็จะกระทบกับระบบที่ฝ่ายการตลาดต้องรับผิดชอบ เช่น
สิ นค้าที่เน่าเสี ยหาย สิ นค้าที่ลูกค้าคืน เพื่อประเมินยอดสต๊อกสิ นค้าที่แท้จริ ง
1.3 ข้อมูลการลาเลียงสิ นค้าและบริ การ (Outbound Logistics) ตัวอย่างข้อมูลเช่นการจัดเก็บสิ นค้าในคลัง
สิ นค้าภายในกิจการ ,การขนส่ งและการจัดเก็บสิ นค้าในคลังสิ นค้าภายนอกกิจการ , กิจกรรมการตลาดและ
บริ การ
1.
31
ระบบย่ อยของระบบสารสนเทศทางการตลาด 2. ระบบข่ าวกรองทางการตลาด
2. ระบบข่ าวกรองทางการตลาด คือ การติดตามและตรวจสอบข้อมูลของสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวกับสถานการณ์
ทางการตลาดในปั จจุบนั ที่มีอิทธิพลต่อการดาเนินการ ตลอดจนแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยทัว่ ไป
มีวิธีการจัดการอยู่ 4 วิธีการด้วยกัน คือ
2.1 การพบทางอ้อม (Undirected Viewing) พบหาจากข้อมูลทัว่ ๆไป องค์กรไม่มีวตั ถุประสงค์
เฉพาะเจาะจงว่าจะค้นในเรื่ องใด
2.2 การพบแบบมีเงื่อนไข (Conditioned Viewing) เป็ นการค้นพบข้อมูลในเรื่ องที่กระทบต่อกิจการ
โดยตรง โดยที่กิจการไม่มีการค้นหาโดยตรง
2.3 การค้นหาแบบไม่เป็ นทางการ (Informal Search) เป็ นการค้นหาข้อมูลเฉพาะเจาะจงในเรื่ องที่สนใจ
อย่างจากัดและมักไม่มีแบบแผนในการดาเนินงาน
2.4 การค้นหาแบบเป็ นทางการ (formal Search) เป็ นการค้นหาข้อมูลเฉพาะเจาะจงในเรื่ องที่สนใจอย่าง
ละเอียดโดยมีการวางแผนล่วงหน้า จัดลาดับขั้นตอน
32
งานข่ าวกรอง
ข้ อมูลในระบบข่ าวกรอง
1. ข่ าวกรองเกีย่ วกับคู่แข่ งขัน
- ใครคือคู่แข่งขันของเรา มีวตั ถุประสงค์อะไร กาลังใช้กลยุทธ์อะไร มีประสิ ทธิผลเพียงใด
จุดอ่อนจุดแข็ง (ยอดขาย ส่ วนครองตลาด ต้นทุน กระแสเงินสด กาลังการผลิต คุณภาพ
ผลิตภัณฑ์ ขนาดของลูกค้า วัฒนธรรมองค์กร ฯลฯ)
2. ข่ าวกรองเกีย่ วกับลูกค้ า จะช่วยให้สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ ทราบความต้องการ
- ลักษณะประชากร พฤติกรรมการซื้อ ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจซื้ อ รสนิยม ราคา
33
ที่ลูกค้ายอมจ่าย สถานที่ที่ลูกค้านิยมไปเลือกซื้อสิ นค้า
ระบบย่ อยของระบบสารสนเทศทางการตลาด 3. ระบบการวิจัยตลาด
3. ระบบการวิจัยตลาด คือ การออกแบบ การเก็บรวบรวม การวิเคราะห์ และการรายงานข้อมูล
อย่างเป็ นระบบ เพื่อศึกษาสถานการณ์เฉพาะซึ่ งกิจการกาลังเผชิญอยู่
วัตถุประสงค์ ที่ตอ้ งมีการวิจยั ตลาด เพื่อทดสอบตลาดสาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อ
ค้นหาสิ่ งที่จะสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภค เพื่อค้นหาราคาที่เหมาะสม เพื่อค้นหาช่อง
ทางการจัดจาหน่ายที่มีประสิ ทธิภาพ เพื่อประเมินประสิ ทธิผลของการโฆษณาและเครื่ องมือใน
การส่ งเสริ มการตลาดอื่นๆ
กระบวนการวิจัยการตลาด มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. การกาหนดปั ญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจยั
2. การพัฒนาแผนการวิจยั
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
5. การนาเสนอข้อค้นพบ
34
การวิจัยตลาด ขั้นที่ 1 การกาหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ ของการวิจัย
• วิเคราะห์ปัญหาทางการจัดการ (Management Problem) ให้เป็ นปั ญหาการวิจยั
(Research Problem)
• กาหนดวัตถุประสงค์เพื่อเป็ นแนวทางในการทาวิจยั ต่อไป
• ตัวอย่างเกี่ยวกับการออกผลิตภัณฑ์ใหม่
– ปั ญหาทางการจัดการ : บริ ษทั จะออกผลิตภัณฑ์ใหม่ดีหรื อไม่
– ปั ญหาการวิจยั : ผูบ้ ริ โภคจะยอมรับผลิตภัณฑ์เพียงใด
– วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาทัศนคติของผูบ้ ริ โภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ใหม่
• เลือกวิธีการออกแบบการวิจยั ที่เหมาะสม
– การวิจยั เชิงสารวจ (Exploratory Research) ทาให้เข้าใจปั ญหา หรื อทราบข้อมูลเบื้องต้น
– การวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive Research) อธิบายสิ่ งที่เกิดขึ้นในรู ปแบบเชิงปริ มาณ
– การวิจยั เชิงเหตุผล (Causal Research) ศึกษาถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดผลลัพธ์ต่าง ๆ
35
การวิจยั ตลาด ขั้นที่ 2 การพัฒนาแผนการวิจยั
• แหล่ งข้ อมูล
– ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
• ข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้แล้วเพื่อวัตถุประสงค์อื่น
• ควรศึกษาข้อมูลทุติยภูมิก่อนข้อมูลปฐมภูมิ
– ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
• ข้อมูลที่จดั เก็บขึ้นตามวัตถุประสงค์ของโครงการวิจยั ที่กาลังจัดทาอยู่
• แนวทางการทาวิจัย
– การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
• การเจาะกลุ่ม (Focus Group)
• การสัมภาษณ์เชิงลึก (Depth Interview)
• การใช้เทคนิคการแสดงออก (Projective Technique)
– การวิจยั เชิงปริ มาณ (Quantitative Research)
• การสารวจ (Survey)
• การสังเกต (Observation)
• การทดลอง (Experimentation)
36
การวิจยั ตลาด ขั้นที่ 3 การเก็บรวบรวมข้ อมูล
• เป็ นขั้นตอนที่มีค่าใช้จ่ายสูง และจะต้องใช้ความระมัดระวังไม่ให้เกิด
ข้อผิดพลาด
• ควรมีการคัดเลือกพนักงานเก็บข้อมูล ฝึ กอบรม และควบคุมดูแลการเก็บ
ข้อมูลอย่างใกล้ชิด
• อาจใช้วิธีการแจกแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ การจด
บันทึกจากการสังเกต ฯลฯ ขึ้นอยูก่ บั รู ปแบบการวิจยั และการกระจายตัว
ของกลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้
37
การวิจยั ตลาด ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ ข้อมูล
• ประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ คือ การลงรหัสข้อมูล , การบันทึกข้อมูล และ
การประมวลผล
• มักใช้คอมพิวเตอร์และวิธีการทางสถิติ นาไปสู่ การวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อการ
ตัดสิ นใจทางการตลาด
การวิจยั ตลาด ขั้นที่ 5 การนาเสนอข้ อค้ นพบ
• รายงานการวิจยั
– รายงานเชิงเทคนิค
– รายงานเชิงบริ หาร
• การนาเสนอด้วยวาจา
– อภิปรายและซักถาม
38
ระบบย่ อยของระบบสารสนเทศทางการตลาด
4. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจทางการตลาด
4. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจทางการตลาด คือ ชุดของเทคโนโลยีที่ช่วยสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจในกระบวนการบริ หารของผูบ้ ริ หารการตลาด มี 4 กลุ่มได้แก่
1.ซอฟแวร์ 2.ฮาร์ดแวร์ 3. ผูเ้ ชี่ยวชาญ
4. องค์ความรู้ทางการตลาด (Marketing Knowledge)
DSS มีเครื่ องมือที่ใช้สนับสนุนการตัดสิ นใจหลายชนิด
1. การรายงานและสอบถาม (Reporting and Inquiry) เช่น รายงานพิเศษ,ระบบสอบถาม,
ระบบข้อมูลตามภูมิศาสตร์,ศูนย์สอบถามข้อมูล
2. ตัวแบบการวิเคราะห์ต่างๆ เช่น ตัวแบบพยากรณ์,ตัวแบบจาลองสถานการณ์
3. ระบบสนับสนุนผูบ้ ริ หารระดับสู ง(ESS)
4. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจกลุ่ม (GDSS)
39
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีในระบบสารสนเทศด้ านการตลาด
1.อินเทอร์ เน็ต การใช้อินเตอร์เน็ตในงานการตลาด มีอยู่ 3 กลุ่ม คือ
1. ผลิตภัณฑ์และการบริ การ เช่น การให้บริ การอินเทอร์เน็ต,ระบบสื บค้น,บริ การแพร่ ภาพและเสี ยง
2. ช่องทางการตลาด เช่น การขายตรง,การขายปลีก, และตัวแทนคนกลาง
3. การส่ งเสริ มการตลาด เช่น การโฆษณา,การขายโดยบุคคล,การส่ งเสริ มการขาย,การประชาสัมพันธ์
2. การทาพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ มีหลายรู ปแบบ เช่น
1.ระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ (Business-to-Business)
2.ระหว่างธุรกิจกับลูกค้า (Business-to- Customer)
3. ระหว่างลูกค้ากับลูกค้ากันเอง (Customer-to- Customer)
3. ระบบผู้เชี่ยวชาญ การประยุกต์ใช้ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญในงานการตลาด มีเงื่อนไขอยู่ 3 อย่างคือ
1. ปัญหาต้องชัดเจนและไม่กว้างเกินไป
2. ต้องมีผเู้ ชี่ยวชาญในสาขานั้นเพื่อให้คาแนะนาเกี่ยวกับการตัดสิ นใจ
3. ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบผูเ้ ชี่ยวชาญต้องไม่แพงกว่าประโยชน์ที่จะได้รับจากระบบนั้น
40
การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการทาธุรกรรมชนิดต่ าง
41
แนวโน้ มของการตลาด
และความสาคัญของระบบสารสนเทศการตลาด
• การตลาดจุลภาค คือการตลาดที่มุ่งเน้นการปรับสิ นค้าให้เฉพาะเจาะจงสาหรับลูกค้าแต่ละ
คนหรื อลูกค้ากลุ่มย่อย เช่น บ.เดลล์, ร้านค้าย่อยในพันธ์ทิพย์ฯ
• การแข่ งขันระหว่ างตราสิ นค้ า ธุรกิจการตลาดมวลชน(mass marketing)จะเปลี่ยนจุดสนใจ
จากลูกค้าไปที่คู่แข่งแทน จึงต้องการระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจมาช่วยในการประเมิน
ข้อมูลเกี่ยวกับร้านค้า ยอดขาย ลูกค้า คู่แข่งขัน เป็ นต้น
• สิ นค้ าที่แตกต่ างในเชิงกลยุทธ์
42