สารสนเทศสืบค้น55

Download Report

Transcript สารสนเทศสืบค้น55

สารสนเทศและการสื บค้ น(AGE111)
Information Retrieval
อ.ไพรสิ ทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร
Phraisit Srisoothigerdporn
รองผูอ้ ำนวยกำรสำนักวิทยบริ กำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ
ประธำนสำขำวิชำสำรสนเทศศำสตร์
โทร.0860244980;0868858250
Email: [email protected]
facebook:Librru phrisit
http://www.phrisityok.wordpress.com
สารสนเทศและการสื บค้ น(AGE111)
Information Retrieval
อ.ไพรสิ ทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร
รองผูอ้ ำนวยกำรสำนักวิทยบริ กำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ
มหำวิทยำลัยรำชภัฏรำชนคริ นทร์
โทร.086-0244980;086-8858250
[email protected]และfacebook:Librru phrisit
http://www.phrisityok.wordpress.com
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น
 ส่วนของ
สารสนเทศและการสืบค้น 50%แบ่งเป็น
 1.การเข้าชั้นเรียน กิจกรรม และงานการบ้าน 10 %




2.การเขียนรายงานจากการสืบค้น 10 %
3.การสอบเก็บ(กลางภาค) 10 %
4.สอบปลายภาค 20 %
รายงาน เลือกทา หนึ่ง ประเด็น จาก 3 ประเด็น คือ
 1.รวบรวมบรรณานุกรม.(ลาว,กัมพูชา,พม่า,เวียดนาม,มาเล,สิงคโปร์,อินโด.


ฟิลิปปินส์,บรูไนส์ เพียงหนึ่งประเทศ)
2.กลุ่มประเทศ ประชาคมAS,Afta,Nafta,EU,G7,G8,G20,AMECSฯ,ฯ
3.รวบรวมบรรณานุกรมประชาคมอาเซียน หรือเรื่องที่สนใจหรือวิชาที่
ชอบ 1 เรื่อง หรือบรรณานุกรมบทความหนังสือพิมพ์หรือวารสาร
ส่วนประกอบรายงานโดยย่อ
1.
ปกนอก
2. ปกใน
3. คานา
4. สารบัญ
5. เนื้อเรื่อง
6. อ้างอิง
7. บรรณานุกรม
การจัดทารายงานการค้ นคว้ า
• กระดาษขนาด A4
• กัน้ ซ้ าย 1.5 นิว้ กัน้ ขวา 1 นิว้ ด้ านบน 1.5 นิว้
ยกเว้ นหน้ าที่มีช่ ือบท 2 นิว้ ด้ านล่ าง 1 นิว้
• หมายเลขหน้ า ใส่ กลางหน้ ากระดาษ ด้ านบน
ไปจนถึงบรรณานุกรม
•หมายเลขหน้ าในส่ วนประกอบตอนต้ นให้ ใส่
หมายเลขหน้ าในวงเล็บ เช่ น (1) (2)
ปกนอก
.......................................
โดย
นำย/น.ส..............................รหัส.......
กลุ่มรหัส.......
เสนอ
อาจารย์ .....
รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษา วิชา.......................................
คณะ.....................................มหาวิทยาลัย....................
ภาคเรียนที่............ปี การีศึกษา......................
พ.ศ.2555
1.5 นิ้ว
การตั้งค่ าหน้ ากระดาษ
1.5 นิ้ว
1 นิ้ว
1 นิ้ว
ลักษณะกำรอ้ำงอิง
1.การอ้ างอิงที่เขียนแยกออกจากตัวเนือ้ หาของรายงาน มี 2
ลักษณะ
การอ้ างทีอ่ ยู่ตอนล่ าง/ท้ ายของหน้ าที่ต้องการอ้ าง
เชิงอรรถ (footnote)
การอ้ างทีอ่ ยู่ตอนท้ ายของแต่ ละบท โดยเรียงลาดับการอ้ างอิง
 2.การอ้ างอิงที่เขียนแทรกในเนือ
้ เรื่องของรายงานหรือเนือ้ หา
ตรงทีม่ ีการกล่ าวอ้ างถึง
• ระบบนาม-ปี

ตัวอย่ำง
ควำมหมำยของวนอุทยำ คำว่ำ วนอุทยำน นำยแพทย์บุญส่ ง เลขะกุล นักนิยมไพรผูม้ ีควำมรอบรู ้
ได้ให้คำอธิบำยไว้ดงั นี้ “วนอุทยำนคือเนื้อที่อนั กว้ำงใหญ่ ซึ่งมีธรรมชำติ คือ ป่ ำไม้ที่น่ำสนใจ
มีสัตว์ป่ำชุกชุม และมีสภำพไม่ถูกทำลำย เป็ นที่ที่ควรคุม้ ครองรักษำธรรมชำติอนั งดงำมเหล่ำนั้นไว้
เพื่อประโยชน์ในกำรศึกษำและพักผ่อนของประชำชนทั้งในปัจจุบนั และอนำคต โดยไม่ให้มี
1
กำรทำลำยให้เลวลง และไม่ให้มีกำรส่ งเสริ มปรับปรุ งตกแต่งให้ดีข้ ึน หรื อเปลี่ยนแปลงสภำพจำกเดิมไปแต่อย่ำงหนึ่งอย่ำงใด”
คำว่ำ “วนอุทยำน” ตำมควำมหมำยของพจนำนุกรมรำชับณ
ั ฑิตยสถำน คือ “ป่ ำสงวนที่มีลกั ษณะธรรมชำติสวยงำม”2
_____
1 บุญส่ ง เลขะกุล . ม.ป.ป. นิยมไพร. กรุ งเทพ : โรงพิมพ์คุรสภำ. หน้ำ 27
2 พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิยสถำน. 2525. กรุ งเทพ : อักษรเจริ ญทัศน์. หน้ำ 370
ตำแหน่งกำรอ้ำงอิงในเนื้อเรื่ อง
ระบุข้อความเน้ นผู้แต่ ง
 รู ปแบบ ชื่ อผู้แต่ ง (ปี ที่พม
ิ พ์ , เลขหน้ า)......(ข้ อความ).........


ชัยวัฒน์ สถานันท์ (2542, น.10) เสนอให้ ตรวจสอบ “รัฐศาสตร์ กระแสหลัก”
ทีด่ ารงอยู่ในระดับสั งคมวิทยาแห่ งความรู้ และญาณวิทยาซึ่งศึกษาสั งคมมนุษย์
โดยละเลยความสาคัญของมนุษย์ ด้วยแนวทางทีเ่ รียกว่ า “รัฐศาสตร์ ทวน
กระแส” อันเป็ นความพยายามทีจ่ ะนามนุษย์ กลับมาเป็ นประเด็นการศึกษาทาง
สั งคมศาสตร์ เสี ยใหม่
ระบุตอนท้ ายข้ อความ เน้ นเนือ้ หา
 รู ปแบบ ........(ข้ อความ)........(ชื่ อผู้แต่ ง ปี ที่พม
ิ พ์ ,
เลขหน้ า)

กว่ าหนึ่งทศวรรษทีผ่ ่ านมา ได้ มีการเสนอตรวจสอบ “รัฐศาสตร์
กระแสหลัก” ทีด่ ารงอยู่ในระดับสั งคมวิทยาแห่ งความรู้ และญาณ
วิทยาซึ่งศึกษาสั งคมมนุษย์ โดยละเลยความสาคัญของมนุษย์ ด้วย
แนวทางทีเ่ รียกว่ า “รัฐศาสตร์ ทวนกระแส” อันเป็ นความพยายามที่
จะนามนุษย์ กลับมาเป็ นประเด็นการศึกษาทางสั งคมศาสตร์ เสี ยใหม่
(ชัยวัฒน์ สถานันท์ 2542, น.10)

2. การอ้ างอิงท้ ายเล่ มหรือบรรณานุกรม จะเป็ นการ
อ้ างอิงอย่ างสมบูรณ์ ที่นิยมมี 3-6 ระบบใหญ่ ๆ
2.1 MLA (Modern Language
Association Style)
2.2 APA (American Psychological
Association Style)
2.3 Turabian Style (Chicago Style)
2.4 Vancouver Style
2.5 CBE
2.6 ACS, AMA
ส่วนมากนิยมใช้ ระบบ APA
รายงาน 2 ประเภทใหญ่
รำยงำนทัว่ ไป
 2. รำยงำนทำงวิชำกำร มี 5 ระดับ

2.1 งำน(Work)

2.2 รำนงำนกำรศึกษำค้นคว้ำ(Reports)

2.3 ภำคนิพนธ์และสำรนิพนธ์

2.4 กำรศึกษำอิสระ(IS.)

2.5 วิทยำนิพนธ์และรำยงำนกำรวิจยั
 1.
หลักการเขียนอ้ างอิงและบรรณานุกรม
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล สารสนเทศ ความรู้ และ
ปัญญา
สติปัญญำ : ควำมสำมำรถโดยรวมของบุคคล
ควำมรู้ : เป็ นควำมเข้ำใจ กำรรับรู้ในเรื่ องรำว
ที่นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ในกำรตัดสิ นใจ
และกำรปฏิบตั ิงำน(knowledgeคือ...)
ข้อมูลที่ยงั ไม่ผำ่ นกำรประมวลผล
(dataคือ...)
ที่จะกระทำตำมเป้ ำหมำย กำรคิดอย่ำงมีเหตุผล
และจัดกำรกับสิ่ งรอบตัวได้อย่ำงมี
ประสิ ทธิภำพ(wisdomคือ...)
สำรสนเทศ : ข้อมูลที่ผำ่ นกำรประมวลผล
โดยกำรรวบรวมเรี ยบเรี ยง จัดเก็บไว้ในรู ปแบบต่ำงๆ
(informationคือ... )
สังคมมนุษย์ในยุคอดีต :
มนุษย์ดำรงชีพอยูใ่ นโลกนี้มำกว่ำ 2 ล้ำน - 1.6 ล้ำนปี
อำรยธรรมของมนุษย์ในยุคอดีต
เริ่ มจำกแถบเมโสโปเตเมีย ชำวสุ เมเรี ยน
“The Sumerian civilization, which began in the region in about 3500 bc”
เริ่ มเมื่อประมำณ 3500 ปี ก่อนคริ สต์กำล
ข้อมูล สำรสนเทศ และองค์ควำมรู ้
(Data, Information and Knowledge) (2/3)

สารสนเทศ (Information)
คือ ข้อมูลที่ ผ่านการประมวลผล และจัดการ
ให้ มีความถูกต้ อง ทันสมัย และสามารถนาไปใช้
งานได้ตามที่ต้องการ
Data
Process
&
Transform
Information
ประวัตศิ าสตร์ ของมนุษย์
ได้เข้ำสู่ยคุ เกษตรกรรมเมื่อ 10,500 ก่อน
ประวัติศาสตร์ ของมนุษย์
ได้เข้ำสู่ยคุ กำรปฏิวตั ิอุตสำหกรรมเมื่อ ค.ศ. 1780
ประวัตศิ าสตร์ ของมนุษย์ ด้านการสื่ อสาร
มีหนังสื อพิมพ์ฉบับแรก 1609 ได้เข้ำสู่ ยคุ สำรสนเทศเต็มตัว
เมื่อ คศ. 2000
ศาสตราจารย์ อลั วิน ทอฟเลอร์
บรรยายสดผ่านดาวเทียมจากสหรัฐอเมริกามายังประเทศไทย
ในงานสัมมนา 'The Future of Thailand' ที่ศนู ย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
(31 พ.ค.) โดยคาดว่าราวปี ค.ศ.2040-2050 สังคมไทยจะพัฒนาตัวเอง
เข้ าสูค่ ลื่นลูกที่ 3 สมบูรณ์แบบ และในอนาคตการนาเทคโนโลยีเข้ ามา
ผสมผสาน จะทาให้ เกิดกระบวนการผลิตทางการเกษตร ที่มีคณ
ุ ภาพ
มีผลผลิตที่มากขึ ้น เป็ นแนวทาง ในการสร้ างคุณค่า ให้ กบั สินค้ าของ
ประเทศไทย รวมทังเพิ
้ ่มโอกาสเจาะตลาดโลกของสินค้ าไทย
สั งคมแห่ งภูมปิ ัญญาและการเรียนรู้
นโยบำยเทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรพัฒนำประเทศตั้งอยูบ่ นพื้นฐำนของ
กำรสร้ำงสังคมแห่งภูมิปัญญำและกำรเรี ยนรู ้ของประเทศไทยในช่วงเวลำ 10 ปี
ระหว่ำง พ.ศ. 2544-2553 ทั้งนี้เพื่อให้เศรษฐกิจมีควำมเข้มแข็งที่ยงั่ ยืน สำมำรถ
แข่งขันได้ในเวทีสำกล ในขณะเดียวกันเพื่อให้ประชำชนในสังคม มีคุณภำพ
ชีวติ ที่ดี มีควำมเหลื่อล้ ำน้อยที่สุด นโยบำยดังกล่ำว มีองค์ประกอบ ที่สำคัญ 3
ประกำร คือ
ลงทุนในกำรเสริ มสร้ำงทรัพยำกรมนุษย์ที่มีควำมรู ้เป็ นพื้นฐำนสำคัญ
ส่ งเสริ มให้มีนวัตกรรมในระบบเศรษฐกิจและสังคม
ลงทุนในโครงสร้ำงพื้นฐำนสำรสนเทศและส่ งเสริ มอุตสำหกรรมสำรสนเทศ
นโยบายในการผลักดัน e-Government
เพือ่ พัฒนาสังคมไทยสู่ e-Thailand
E Thailand
E-Citizen portal
E-Service
Internet Terminal
Public
E-Learning
School net
e-Society
e-Industry
e-Government
e-Education e-Commerce
E-document
Back office
E- Signature & Smart card
PMOC MOC POC
ICT for SMEs
Logistic System
Mobile Application
Medical Hub of Asia
Data Warehouse
eProcurement
Mass Channel- Niche
Market
นายแพทย์ สุรพงษ์ สื บวงศ์ ลี
รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสาร
เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
ฮาร์ ดแวร์
ซอฟต์ แวร์
พีเพิลแวร์
ฐานข้ อมูล (Database)
เทคโนโลยีสารสนเทศ
LAN
เทคโนโลยี
สื่อสาร
โทรคมนาคม
ระบบเครือข่ าย
การสื่ อสาร
สื่ ออุปกรณ์ โสต
WAN
วิทยุ
โทรทัศน์
โทรศัพท์
ปิ รามิดแสดงลาดับของ
ความรู้
Wishdom
Knowledge
Information
Data
 ทรัพยำกรสำรสนเทศ
ความหมาย
การจาแนกทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
- สื่ อสิ่ งพิมพ์
- สื่ อโสตทัศน์
- สื่ ออิเล็กทรอนิกส์
ความสาคัญของสารสนเทศ ในด้ านต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้









บุคคล มนุษย์ ใช้ สารสนเทศในการดารงชีวิตประจาวัน
ประกอบภารกิจการงาน
องค์ กร ผู้บริหารใช้ สารสนเทศในการวางแผนและตัดสิ นใจ
เศรษฐกิจ ใช้ สารสนเทศในการทาธุรกิจ
การศึกษา เพือ่ จัดระบบการเรียนการสอน หลักสู ตร
ส่ งเสริมการเรียนรู้
การเมืองและการปกครอง เพือ่ ให้ ประชาชนมีส่วนร่ วม
ทางการเมือง
สั งคม ทะนุบารุ งวัฒนธรรม สร้ างสรรค์ และพัฒนาสั งคม
ทรัพยากร หมายถึงทรัพย์ สิ่ งของทั้งปวง
สารสนเทศ หมายถึง
ข้อมูล เรื่ องรำว ข่ำวสำร ควำมรู้ ควำมคิด
ข้อเท็จจริ ง หรื อปรำกฏกำรณ์ต่ำง ๆที่ปรำกฎ
ตำมสื่ อทุกรู ปแบบและสำมำรถใช้ประโยชน์ได้
ความหมาย ทรัพยากรสารสนเทศ คืออะไร
ทรัพยากรสารสนเทศ คือ ข้ อมูล ข่ าวสาร วิชา
ความรู้ ความคิด และประสบการณ์ ทีม่ ีการ
กลัน่ กรอง เรียบเรียง และประมวลไว้ ด้วยภาษา
สั ญลักษณ์ ภาพ และอืน่ ๆ ซึ่งแสดงออกมาให้
ปรากฏ โดยการบันทึกด้ วยวิธีการต่ าง ๆ ลงใน
วัสดุสารสนเทศ (อุทยั ทุติยะโพธิ 2541, 5)
ทรัพยากรสารสนเทศ จำแนกตำมสำขำวิชำ
เป็ นการแบ่ งออกตามกลุ่มเนือ้ หาวิชา
 ศาสนา ปรัชญา จิตวิทยา
 มนุษยศาสตร์  รั ฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
 วิทยาศาสตร์  เคมี ฟิ กสิ กส์ ชีววิทยา
 สั งคมศาสตร์
ทรัพยากรสารสนเทศ กำรจำแนกตำมรูปลักษณ์
ทรัพยากรสารสนเทศ กำรจำแนกตำมรูปลักษณ์
คือการแบ่ งออกตามลักษณะวัสดุทใี่ ช้ บันทึกข้ อมูล
แบ่ งได้ เป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ
สื่อโสตทัศน์  วัสดุทใี่ ช้ ดู ฟัง & วัสดุย่อส่ วน
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้ อมูล ซีดีรอม & เว็บไซต์
สื่อสิ่งพิมพ์  หนังสื อ วารสาร หนังสื อพิมพ์
การผลิต ทรัพยากรสารสนเทศ กำรจำแนกตำมแหล่ งที่มำหรือแบ่ งเป็ น 3
ประเภท
 แหล่ งปฐมภูมิ
แหล่ งทุตยิ ภูมิ
 แหล่ งตติยภูมิ

แหล่ งปฐมภูมิ





แหล่ งปฐมภูมิ คือ สารสนเทศที่เป็ นความคิดริเริ่ม ที่ผลิต
เป็ นบันทึกรายงาน การค้ นคว้ าวิจยั จากความรู้ ทพี่ บใหม่
และทันสมัย ได้ แก่
ต้ นฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ
รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์
สิ ทธิบัตร มาตรฐาน
วารสาร หนังสื อพิมพ์
แหล่ งทุตยิ ภูมิ
 แหล่ งทุตย
ิ ภูมิ คือ สารสนเทศทีน่ ามารวบรวมเรียบ
เรียงเนือ้ หาจากสารสนเทศปฐมภูมขิ นึ้ ใหม่ เพือ่
สะดวกต่ อผู้ใช้ ได้ แก่ หนังสื ออ้ างอิงบางประเภท คือ
 พจนานุกรม สารานุกรม
 สาระสั งเขป
 สิ่ งพิมพ์ แปล
แหล่ งตติยภูมิ
แหล่ งตติยภูมิ คือ สารสนเทศทีจ่ ัดทาขึน้ เพือ่ ใช้
ประกอบการเรียนการสอน หรือเป็ นคู่มอื สาหรับใช้
ในสาขาวิชาต่ าง ๆ เช่ น
 บรรณานุกรม ดรรชนีวารสาร
 คู่มอ
ื แนะนาวรรณกรรม
 หนังสื อชีวประวัติ
 นามานุกรม
1.สื่ อสิ่ งพิมพ์ ห้ องสมุดแบ่ งสิ่ งพิมพ์ ดังนี้
 หนังสื อยืมได้




หนังสื ออ้ างอิง
สิ่ งพิมพ์ต่อเนื่อง
จุลสาร
กฤตภาค
2.สื่ อโสตทัศน์ แบ่ งตามลักษณะการใช้
 1. สื่ อโสตทัศน์ ประเภทดู แบ่ งเป็ น




ประเภททีไ่ ม่ ต้องอาศัยอุปกรณ์ ใดช่ วย ได้ แก่
สื่ อโสตทัศน์ แบ่งตำมลักษณะกำรใช้
กราฟฟิ ก วัสดุจริง ของตัวอย่ าง หุ่นจาลอง
ประเภททีต่ ้ องอาศัยอุปกรณ์ ได้ แก่ สไลด์ ฟิ ล์มสตริบ
ภาพยนตร์ วีดิทศั น์ และแผ่ นโปร่ งใส
 2. สื่ อโสตทัศน์ ประเภทฟัง ได้แก่

แถบบันทึกเสี ยง และแผ่นเสี ยง
วัสดุย่อส่ วน คือ
 วัสดุย่อส่ วน คือ

วัสดุสำรสนเทศที่เกิดจำกกำรทำสำเนำย่อส่ วนจำกหนังสื อ
หรื อสิ่ งพิมพ์อื่น ๆ ให้อยูใ่ นรู ปลักษณะที่มีขนำดเล็กกว่ำต้นฉบับ
และต้องใช้เครื่ องอ่ำนวัสดุยอ่ ส่ วนประเภทนั้น ๆ
่ ส่ วนแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
 วัสดุยอ


วัสดุยอ่ ส่ วนประเภทโปร่ งแสง
วัสดุยอ่ ส่ วนประเภททึบแสง
3.สื่ ออิเล็กทรอนิกส์
 ฐานข้ อมูล

แหล่ งรวมข้ อมูลทีม่ กี ารสร้ างระบบเก็บ
สารสนเทศไว้ อย่ างมีระเบียบ และสร้ างเทคนิคในการ
ค้ นหาเพือ่ เรียกใช้ สารสนเทศได้ สะดวกและรวดเร็ว
จากการใช้ คอมพิวเตอร์
ซีดี
 ซีดรี อม หรื อ คอมแพคดิสก์
คือ
สื่ อทีใ่ ช้ ในการบันทึกและอ่ านข้ อมูล ซึ่งเป็ นตัวอักษร
ลายเส้ น กราฟฟิ ก ภาพ สถิติ แผนภูมิ เสี ยง ซีดรี อม
มีความจุในการบันทึกข้ อมูลได้ มากและ สามารถค้ น
คืน สารสนเทศอย่ างรวดเร็ว และแม่ นยา
ซีดี
 วีซีดี (VCD Video Compact Disc)

เป็ นซีดีรอมทีบ่ ันทึกข้ อมูลทั้งภาพ และเสี ยง หรือ ภาพยนตร์
สามารถนามาเล่นกับเครื่องเล่นวีซีดีทั่วไป หรือคอมพิวเตอร์ ได้
 ดีวีดี (DVD Digital Versatile Disc)
 เป็ นแผ่ นดิจิตอลอเนกประสงค์ บันทึกข้ อมูลทุกประเภท
ทั้งตัวอักษร กราฟิ ก ภาพ และเสี ยง หรือภาพยนตร์ การอ่านดีวดี ี
ต้ องใช้ แสงเลเซอร์ ทมี่ ีความถี่สูงกว่ าทีใ่ ช้ ในไดรว์ซีดีธรรมดา
เว็บไซท์ (Web site)
 เว็บไซท์
(Web site)
หมายถึง การเชื่อมโยงกล่ มุ เว็บเพจ ที่มีความ
สั มพันธ์ กนั ซึ่งติดตั้งอยู่บนเว็บเซิร์ฟเวอร์

ในเว็บไซท์ หนึ่ง ๆ ประกอบด้ วยเว็บเพจหลายหน้ า และ
อนุญาตให้ ผู้ใช้ อินเตอร์ เน็ตทีม่ ี ซอฟต์ แวร์ บราวเซอร์
(browser software) เข้ าถึงได้ ตลอด 24 ชั่วโมง

เว็บเพจ (Web page)



เว็บเพจ (Web page)
หมายถึง เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่เขียนด้ วย HTML
จัดเก็บในเว็บเซิร์ฟเวอร์ และสามารถเข้ าถึงได้ ด้วยซอฟต์ แวร์ เว็บ
บราวเซอร์ โดยใช้ อินเตอร์ เน็ตเอ็ดเดรส (URL)
เว็บเพจ จะเป็ นการเชื่อมโยงกลุ่มแฟ้มข้ อมูลทีม่ ีความสั มพันธ์
กัน รวมอยู่ในเว็บไซท์ เดียวกัน เว็บเพจจะประกอบด้ วย
แฟ้มข้ อมูลทีม่ ีรูปแบบตัวอักษร ภาพ วิดีโอ หรือแฟ้มข้ อมูลอืน่ ๆ
ทีอ่ ยู่บนอินเตอร์ เน็ต
สรุป ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ
1.สื่ อสิ่ งพิมพ์ 2.สื่ อโสตทัศน์
อิเล็กทรอนิกส์
3.สื่ อ
สิ่ งพิมพ์ปฐมภูมิ สื่ อโสตทัศน์ ประเภทดู ฐานข้ อมูล
สิ่ งพิมพ์ทุตยิ ภูมิ สื่ อโสตทัศน์ ประเภทฟัง ซีดี
สิ่ งพิมพ์ตติยภูมิ วัสดุย่อส่ วน
เว็บไซต์
(5ประเภท)
องค์ กร
องค์ กร
Global to Local
Thank you for Attention
Phraisit Srisoothigerdporn
See:http://www.phrisityok.wordpress.com
Facebook=Librru phrisit
Tel:-086-8858250, 086-0244980