PowerPoint Template - สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

Download Report

Transcript PowerPoint Template - สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

ความเชื่อมโยง
ร่าง พ.ร.ฎ.จัดตั้งสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน
(องค์การมหาชน) พ.ศ. ....
และ พ.ร.ฎ. จัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
(องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๓
โดย รองเลขาธิการ ส.ป.ก. (นายสถิตย์พงษ์ สุดชูเกียรติ)
สรุปสาระสาคัญ ร่างพระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งสถาบันบริหารจัดการธนาคารทีด่ ิน (องค์การมหาชน) พ.ศ. ....
มติคณะรัฐมนตรี
เมือ่ วันที่ ๑๔
ธันวาคม ๒๕๕๓
เห็นชอบร่าง
พระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งสถาบัน
บริหารจัดการ
ธนาคารที่ดิน
(องค์การมหาชน)
พ.ศ. ....
“ ส ถ า บั น บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ธ น า ค า ร ที่ ดิ น ( อ ง ค์ ก า ร ม ห า ช น ) ”
เรียกโดยย่อว่า “บจธ.” และให้ใช้ชื่อเป็ นภาษาอังกฤษว่า “The Land Bank
Administration Institute (Public Organization)” เรียกโดยย่อว่า “LABAI”
“ธนาคารที่ดิน” หมายความว่า องค์กรที่ทาหน้าที่จัดเก็บรวบรวมข้อมูลที่ดิน
ของหน่วยงานภาครัฐ องค์ก รปกครองส่ วนท้องถิ่น และเอกชนที่ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้
ประโยชน์ และจัดซื้ อที่ดินจากเอกชน เพื่อนามาจัดให้เกษตรกร ผู ้ยากจน
หรือผูป้ ระสงค์จะใช้ประโยชน์ในที่ดิน ได้เช่ า เช่ าซื้ อ หรือเข้าทาประโยชน์
และสนับสนุนทางการเงินแก่การปฏิรูปที่ดินเพือ่ เกษตรกรรม
“เหตุผลในการจัดตั้ง”
การขาดแคลนที่ดินทากินของเกษตรกรรายย่อยและผูย้ ากจน
การกระจุกตัวของการถือครองที่ดิน
การเก็งกาไรของที่ดิน
สาระสาคัญ ร่างพระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งสถาบันบริหารจัดการธนาคารทีด่ ิน (องค์การมหาชน) พ.ศ. ....
วัตถุประสงค์
(๑) ดำเนินกำรเพื่อให้ เกิดกำรกระจำยกำรถือครองที่ดินที่เป็ นธรรมและยั่งยืน และมี
กำรใช้ ประโยชน์ท่ดี ินอย่ำงเหมำะสม และจัดตั้งธนำคำรที่ดินขึ้นภำยในระยะเวลำ ๕ ปี
(๒) รวบรวมข้ อมูลที่ดินและเป็ นตัวกลำงระหว่ำงผู้ท่ตี ้ องกำรใช้ ท่ดี ิน กับเจ้ ำของที่ดิน
ที่ยังมิได้ ใช้ ประโยชน์ หรือเจ้ ำของที่ดินที่ยังไม่ประสงค์จะใช้ ประโยชน์ในที่ดินอย่ำงเต็มที่
(๓) ด ำเนิ น กำรให้ ไ ด้ มำซึ่ ง ที่ดิ น ทั้ง ของรั ฐ และเอกชนที่ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ห รื อใช้
ประโยชน์ไม่ค้ ุมค่ำ เพื่อให้ เกษตรกรและผู้ยำกจนได้ ใช้ ประโยชน์อย่ำงทั่วถึง รวมทั้งสนับสนุน
ทำงกำรเงินแก่กำรปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
(๔) สนั บสนุ น ให้ ชุ มชนมี ก ำรบริ ห ำรจั ด กำรที่ดิ น ร่ ว มกัน ทั้ง ที่ดิ น ทำกิน และที่ดิ น
สำหรับกำรอยู่อำศัยในรูปแบบโฉนดชุมชน
(๕) ประสำนงำนกับหน่ วยงำนที่เกี่ยวข้ อง เพื่อแก้ ไขปั ญหำที่ดินของเกษตรกรและ
ผู้ยำกจน
สาระสาคัญ ร่างพระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งสถาบันบริหารจัดการธนาคารทีด่ ิน (องค์การมหาชน) พ.ศ. ....
วัตถุประสงค์
(๖) สนั บ สนุ น กำรรั ก ษำและคุ้ ม ครองพื้ นที่ท่ี เ หมำะสมส ำหรั บ เกษตรกรรม
ที่สอดคล้ องกับนิเวศวิทยำ ภูมิปัญญำ และวัฒนธรรมของแต่ละท้ องถิ่น
ลูกค้าของธนาคารทีด่ ิน (จัดที่ดินให้)
 เกษตรกร
ผูย้ ากจน
 ชุมชน
 ผูท้ ี่ประสงค์จะใช้ประโยชน์ในที่ดิ น เพื่อใช้
ประโยชน์ใ นการประกอบเกษตรกรรม หรื อ
เป็ นที่อยูอ่ าศัย
โดยวิธีการ
-เช่า เช่าซื้อ เข้าทาประโยชน์ และ
สนับสนุนทางการเงินแก่การปฏิรูป
ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ทีด่ ินทีน่ ามาดาเนินการ
-ที่ดินเอกชน
-ที่ดินของรัฐ
ธนำคำรที่ดิน ไม่แสวงหำกำไร แต่มุ่งส่งเสริมและสนับสนุนกำรบริหำรจัดกำรที่ดิน จัดหำและพัฒนำที่ดินให้ เกษตรกร ผู้ยำกจน
และผู้ประสงค์จะใช้ ประโยชน์ในที่ดิน
สาระสาคัญ ร่างพระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งสถาบันบริหารจัดการธนาคารทีด่ ิน (องค์การมหาชน) พ.ศ. ....
โครงสร้าง
คณะกรรมการ
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
ผูอ้ านวยการ
สำนักบริหำรกลำง
สำนักบริหำรจัดที่ดนิ
สำนักวิชำกำรและวิจัย
สำนักบริหำรเงินทุน
สาระสาคัญ พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
(องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๓
“สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)” เรียกโดยย่อว่า “พอช.”
และให้ใช้ชื่อเป็ นภาษาอังกฤษว่า “Community Organizations Development
Institute (Public Organization)” เรียกโดยย่อว่า “CODI”
สังกัด กระทรวง
การพัฒนาสังคม
และความมันคง
่
ของมนุ ษย์
ก า ร จั ด ตั้ ง แ ล ะ
เ ห ตุ ผ ล ค ว า ม
จาเป็ น
เหตุผลคือ โดยที่ปัจจุ บันประเทศไทยประสบปั ญหำสังคมในเรื่องเกี่ยวกับควำม
เหลื่อมลำ้ ของรำยได้ กำรกระจำยรำยได้ และระดับควำมเจริญที่แตกต่ำงกันระหว่ำงสังคมเมือง
กับชนบท ในขณะที่องค์กรชุมชนซึ่งเป็ นรำกฐำนสำคัญในกำรพัฒนำชุมชนและสังคมยังประสบ
ปั ญหำขำดควำมรู้และทักษะในกำรบริหำรจัดกำร ทำให้ ยังไม่ สำมำรถเป็ นที่พ่ึ งของชุ มชนได้
อย่ำงแท้จริง
จัดตั้งองค์ กำรมหำชนเพื่ อ สนับ สนุ นและให้ กำรช่ วยเหลือ แก่อ งค์กรชุ มชนและ
เครือข่ำยองค์กรชุมชนเกี่ยวกับกำรประกอบอำชีพ กำรพัฒนำอำชีพ กำรเพิ่มรำยได้ กำรพัฒนำ
ที่อยู่อำศัยและสิ่งแวดล้ อม และกำรพัฒนำชีวิตควำมเป็ นอยู่ของสมำชิกในชุมชนทั้งในเมืองและ
ชนบทและเพื่ อ ให้ มีก ำรสนั บสนุ น และให้ ค วำมช่ ว ยเหลื อ ทำงกำรเงิ น แก่ อ งค์ ก รชุ ม ชนและ
เครือข่ำยองค์กรชุมชนให้ มีควำมเข้ มแข็งยิ่งขึ้น อันจะเป็ นพื้นฐำนสำคัญที่จะช่ วยให้ เศรษฐกิจ
และสังคมไทยเติบโตอย่ำงมีคุณภำพ และมีกำรกระจำยควำมเจริญทำงเศรษฐกิจและสังคมอย่ำง
ทั่วถึงและยั่งยืน
สาระสาคัญ พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
(องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๓
วัตถุประสงค์
(๑) สนั บ สนุ น และให้ กำรช่ ว ยเหลื อ แก่ อ งค์ ก รชุ ม ชนและเครื อ ข่ ำ ยองค์ ก รชุ ม ชนเกี่ ย วกั บ
กำรประกอบอำชีพ กำรพัฒนำอำชีพ กำรเพิ่มรำยได้ กำรพัฒนำที่อยู่อำศัยและสิ่งแวดล้ อมและกำรพัฒนำ
ชี วิ ต ควำมเป็ นอยู่ ข องสมำชิ ก ในชุ ม ชนทั้ง ในเมื อ งและชนบทโดยยึ ด หลั ก กำรพั ฒ นำแบบองค์ ร วมห รื อ
บูรณำกำรและหลักกำรพัฒนำที่สมำชิกชุมชนมีส่วนร่วมเป็ นแนวทำงสำคัญ ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้ ำงควำมเข้ มแข็ง
ของชุมชนและประชำสังคม
(๒) สนับสนุนและให้ กำรช่วยเหลือทำงกำรเงินแก่องค์กรชุมชนและเครือข่ำยองค์กรชุมชน
(๓) สนับสนุ นและให้ กำรช่ ว ยเหลื อเพื่ อกำรพัฒ นำองค์กรชุ ม ชนและเครือข่ ำ ยองค์กรชุ ม ชน
ตลอดจนประสำนงำนกำรสนั บ สนุ น และให้ ก ำรช่ ว ยเหลื อ ดั ง กล่ ำ วจำกหน่ ว ยงำนต่ ำ งๆ ทั้ง ภำครั ฐ และ
ภำคเอกชน
(๔) ส่งเสริมและสนับสนุนและสร้ ำงควำมร่ วมมือขององค์กรชุมชนและเครือข่ำยองค์กรชุ มชน
ทั้งในระดับท้ องถิ่น ระดับจังหวัด และระดับประเทศ
สาระสาคัญ พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
(องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๓ (โครงสร้าง)
สาระสาคัญ พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
(องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๓
กิจกรรมและโครงการที่สาคัญ
(๑๔) กำรพัฒนำเศรษฐกิจและทุนชุมชน
(๑) โครงกำรบ้ ำนมั่นคง
(๑๕) ประชำสังคม
(๒) สวัสดิกำรชุมชน
(๓) กำรแก้ ปัญหำที่ดินและบ้ ำนมั่นคงชนบท
(๔) แผนชุมชน
(๕) สินเชื่อเพื่อกำรพัฒนำ
(๖) กำรรับรองสถำนภำพองค์กรชุมชน
(๗) สภำองค์กรชุมชน
(๘) กำรฟื้ นฟูชุมชนประสบภัย
(๙) กำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและเกษตรกรรมอย่ำงยั่งยืน
(๑๐) ระบบข้ อมูลและกำรสื่อสำรชุมชน
(๑๑) ศูนย์เรียนรู้
(๑๒) กำรบริหำรจัดกำรที่ดีขององค์กรชุมชน
(๑๓) โครงกำรแก้ ไขปัญหำควำมเดือดร้ อนด้ ำนที่อยู่อำศัยและที่ดนิ ทำ
กินโดยชุมชนท้ องถิ่น
สาระสาคัญ พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
(องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๓
งบประมาณ
แผนงาน/งบประมาณ
ปี งบประมาณ
งบประมาณรวม (ล้ านบาท) งบประมาณจากรัฐบาล (ล้ านบาท) งบประมาณเงินกองทุน พอช. (ล้ านบาท)
2543
250
250
0
2544
3,377
500
2,877
2545
3,105
270
2,835
2546
3,151
327
2,824
2547
3,628
873
2,755
2548
3,470
723
2,747
2549
3,339
565
2,775
2550
5,257
2,420
2,837
2551
4,930
2,030
2,900
2552
4,640
1,624
3,016
ผลของการดาเนินงานพัฒนาสิทธิให้แก่เกษตรกร
ขั้นตอนการดาเนินงาน
กาหนดพื้ นที่เป้าหมาย
ประชาสัมพันธ์ในพื้ นที่เป้าหมาย
รวบรวมรายชื่อเกษตรกรแจ้งความประสงค์
ตรวจสอบแปลงทีด่ ิน (เขต/รูปแผนที/่ เนื้ อที)่
ตรวจสอบโฉนดทีด่ ิน/ส.ป.ก. ๔-๐๑ แก้ไข (กรณีไม่ถูกต้อง)
ตรวจสอบสิทธิ/การทาประโยชน์/การเปลีย่ นมือ
ดาเนินการตามระเบียบ และให้เกษตรกรยืน่ ความประสงค์
เกษตรกรยืน่ คาขอทาสัญญาเช่าซื้ อ/ตรวจสอบ
จัดทาบัญชี/เสนอคณะกรรมการฯ
ทาสัญญาเช่าซื้ อ
ผลกระทบ/ผูส้ ูญเสียประโยชน์
๑. ผู้ไม่ มีคุณสมบัตเิ ป็ นเกษตรกร
ที่ขาดคุณสมบัตใิ นภายหลังได้ รับการจัดที่ดนิ
๒. ผู้ซื้อขายที่ดนิ ในเขตปฏิรูปที่ดนิ โดยไม่ ถูกต้ อง
ตามกฎหมาย
๓. ผู้ที่มาซื้อที่ดนิ หรือมาขอเช่ าที่ดนิ ในเขต
ปฏิรูปที่ดนิ โดยที่ให้ เกษตรกรผู้ได้ รับการคัดเลือก ถือครองแทน
หรือเป็ นลูกจ้ างทาประโยชน์ แทนอยู่ (นอมินี) ซึ่งเป็ นผู้ที่มีเงิน
บริษทั ขนาดใหญ่ อาจถึงระดับชาติ จะสู ญเสียสิทธิหรือ
ประโยชน์ ของตนในทันทีที่มีการพัฒนาสิทธิ เพราะผู้ที่
ได้ โฉนดที่ดนิ ต่ อไปคือ เกษตรกรตามที่มีชื่อใน ส.ป.ก. ๔-๐๑
เท่ านั้น และเมื่อได้ รับโอนโฉนดที่ดนิ จากส.ป.ก.
จะถูกคุ้มครองโดยมาตรา ๓๙ ต่ อไป
๔. ผู้ครอบครองที่ดนิ แปลงใหญ่ ที่ยงั ไม่ เข้ าสู่
กระบวนการปฏิรูปที่ดนิ จะถูกบังคับใช้ กฎหมายอย่ างจริงจัง
ผลของการดาเนินงานพัฒนาสิทธิให้แก่เกษตรกร
ข้อกล่าวหา
ขั้นตอนการดาเนินงาน
ไม่ชดั เจน
เรือ่ งราคาประเมิน
คาชี้ แจง
สจก. ได้ กาหนดแผนงานและขั้นตอนการดาเนินงานไว้อย่ างชัดเจน
พร้ อมมีงบประมาณให้ ดาเนินการ และ คปก. ครั้งที่๔/๒๕๕๓ ได้ อนุมัตแิ ล้ว
มติคณะกรรมการปฏิรูปทีด่ ินเพือ่ เกษตรกรรม (คปก.) ในคราวประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๔๒เมือ่ วันที่ ๓ กันยายน
๒๕๔๒ กาหนดวิธีการคานวณอัตราค่าเช่าซื้ อสูงสุดไม่เกินไร่ละ ๕,๐๐๐ บาท และไม่ตา่ กว่าไร่ละ ๑,๐๐๐ บาท ระยะ
เวลาการเช่าซื้ อไม่นอ้ ยกว่า ๓ ปี แต่ไม่เกิน ๒๐ ปี พร้อมมอบอานาจให้คณะกรรมการปฏิรูปทีด่ ินจังหวัด เป็ นผูพ้ จิ ารณา
ในการกาหนดอัตราค่าเช่าซื้ อในที่ดินของรัฐจึงไม่สามารถที่จะใช้ราคาประเมินตามมูลค่าตลาด หรื อราคาประเมิน
ของกรมธนารักษ์เต็มราคาตามที่กาหนดไว้ได้ โดยมีเหตุผลประกอบ คือ
(๑) รัฐมิได้หวังผลกาไรจากการดาเนินการให้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินกับเกษตรกร แต่ผทู ้ ี่บุกรุ ก ที่หวงห้ามของรัฐ
จะต้องเสี ยค่าใช้จ่ายบ้างในอัตราที่ต่าสุ ด เพื่อให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายที่กาหนดไว้
(๒) เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินส่ วนใหญ่ยงั ยากจน อันเป็ นผลสื บเนื่องมาจากการพัฒนาพื้นที่และอาชีพ
เกษตรกรยังไม่ทวั่ ถึง
(๓) ในการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ หรื อตามกฎหมายอื่น หรื อการเดินสารวจเพื่อออกโฉนดที่ดิน
ของกรมที่ดินไม่มีค่าใช่จ่ายใดๆ เกษตรกรก็ได้รับโฉนดในที่ดินเช่นเดียวกัน
(๔) โฉนดที่ดินที่เกษตรกรได้รับมีเงื่อนไขห้ามโอนสิ ทธิ ในที่ดินนั้นไปยังผูอ้ ื่นเว้นแต่เป็ นการตกทอด
ทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรื อโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรื อ ส.ป.ก. ทาให้สถาบันการเงินประเมินมูลค่าให้ต่า
(ประมาณ ๕๐-๗๐ % ของราคาประเมิน)
ผลของการดาเนินงานพัฒนาสิทธิให้แก่เกษตรกร
ข้อกล่าวหา
เรือ่ งราคาประเมิน
คาชี้ แจง
จากเหตุผลและหลักการดังกล่าว ประกอบกับผลสารวจความคิดเห็นของเกษตรกร
ในเบือ้ งต้ นพบว่าราคาเช่ าซื้อในที่ดนิ ของรัฐที่สามารถจ่ ายได้ อยู่ที่ ประมาณ ๑๐-๒๐ % ของราคา
ประเมินของกรมธนารักษ์ จะเห็นได้ ว่าหากคิดราคาประเมินที่ดนิ อัตราเดียวกันทั่วประเทศจะไม่ เกิด
ความเป็ นธรรมกับเกษตรกร และ ส.ป.ก. เนื่องจากต่ อไป ส.ป.ก. จะมีการรับซื้อที่ดนิ คืนจากเกษตรกร
ซึ่งมติ คปก. ในครั้งดังกล่าวข้ างต้ น ได้ อนุมัตไิ ว้ว่า หากมีเกษตรกรขายกลับคืนมายัง ส.ป.ก.
ให้ คดิ ราคาเดิมพร้ อมกับอัตราดอกเบีย้
ดังนั้นในการดาเนินการให้ เกษตรกรเช่ าซื้อครั้งนี้ กาหนดระยะเวลาผ่อนชาระ
ภายใน ๑-๒๐ ปี แต่ ไม่ ตา่ กว่า ๒ งวด และ กาหนดอัตราค่าเช่ าซื้อ การคา้ ประกัน และราคารับซื้อคืน
ให้ อยู่ในระบบเดียวกันที่เป็ นธรรม โดยกาหนดให้ ใช้ ราคาประเมินของกรมธนารักษ์ เป็ นเกณฑ์ ดังนี้
อัตราค่าเช่ าซื้อในที่ดนิ ของรัฐ
กาหนด ๑๐ % ของราคาประเมินของกรมธนารักษ์
อัตราคา้ ประกัน
กาหนด ๗๐ % ของราคาประเมินของกรมธนารักษ์
อัตรา และแนวทางการซื้อคืน
อัตราซื้อคืนกาหนด ๘๐ % ของราคาประเมินของกรมธนารักษ์
ผลของการดาเนินงานพัฒนาสิทธิให้แก่เกษตรกร
ข้อกล่าวหา
เรือ่ งราคาประเมิน
ที่ดินจะตกไปอยู่ในมือนายทุน
คาชี้ แจง
เหตุผลที่ใช้ ราคาประเมินของกรมธนารักษ์ เป็ นฐานในการคิดราคาประเมินที่ดนิ ของ ส.ป.ก.
๑. เป็ นราคาที่ยอมรับในทุกหน่ วยงานและใช้ กนั อยู่ทั่วไป
๒. ง่ ายต่ อการนาไปใช้ หากคิดใหม่ จะมีความยุ่งยาก
๓. ไม่ เสียค่าใช้ จ่ายในการดาเนินการ
กำรโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน (โฉนดที่ดิน) ให้ แก่เกษตรกรแล้ วที่ดินจะไม่ไปอยู่ในมือนำยทุน
เนื่องจำก มำตรำ ๓๙ ได้ บัญญัติไว้ ว่ำ ที่ดินที่บุคคลได้ รับสิทธิโดยกำรปฏิรูปที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรมจะทำกำรแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อ่นื มิได้ เว้ นแต่เป็ นกำร
ตกทอดทำงมรดกแก่ทำยำทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถำบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก.
เพื่อประโยชน์ในกำรปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้ เป็ นไปตำมหลักเกณฑ์ วิธกี ำร
และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
เห็นได้ ว่ำ ที่ดินจะตกทอดทำงมรดกแก่ทำยำทโดยธรรม หรือสถำบันเกษตรกร
หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในกำรปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมเท่ำนั้น ซึ่ง ส.ป.ก. จะนำไปจัด
ให้ เกษตรกรผู้ไร้ ท่ดี ินทำกินต่อไป
ผลของการดาเนินงานพัฒนาสิทธิให้แก่เกษตรกร
สรุปเกษตรกรแสดงความประสงค์เข้าร่วมโครงการพฒ
ั นาสทิ ธิให้แก่เกษตรกรในทีดิน
่ ของรฐั
จานวน(ราย)
ลาดบั
จงห
ั วดั
เข้าร่วมโครงการฯ
ไม่เข้าร่วมโครงการฯ
รวม
๑,๖๓๐
๓๐
๑
พะเยา
๙๑๖
๒
นครสวรรค์
๑๘๘
๑๔
๓
สระแกว้
๓๔
๑๖
๔
เลย
๘๙
๕
ยโสธร
๑๑๖
๖
ชุมพร
๕๐
๗
สงขลา
๘๗
๘
กระบี่
๑๕๐
-
รองเลขาธิการ ส.ป.ก. (นายสถิตย์พงษ์ สุดชูเกียรติ)