1 ตั้งแต่แรกจนถึงพระเจ้าอโศก
Download
Report
Transcript 1 ตั้งแต่แรกจนถึงพระเจ้าอโศก
Buddhism in Thailand
388322
อาจารย์ ชัชวาลย์ ชิงชัย
บรรยาย
1
การเผยแผ่ พระพุทธศาสนา
•
1.
พระพุทธศาสนา เริ่มเผยแผ่ออกนอกชมพูทวี เมื่อหลังสังคายนาครัง้ ที่
3 โดยมีการส่งพระธรรมทูตออกไป 9 สาย
พระมัชฌันติกเถระ พร้ อมด้ วยบริวารไปเผยแผ่ ณ แคว้ นคันธาระและ
กาศมีระ อยูท่ ิศตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย
2
2 พระมหาเทวะ พร้ อมด้ วยบริวารไปเผยแผ่ ณ แคว้ นมหิสสกมณฑล ได้ แก่
รัฐไมเซอร์ ในปั จจุบนั อยูภ่ าคใต้ ของอินเดีย
3 พระรักขิตเถระ พร้ อมด้ วยบริวารไปเผยแผ่ ณ วนวาสีประเทศ อยู่
ตะวันตกเฉียงใต้ ของอินเดีย แคว้ นบอมเบย์
4 พระธรรมรักขิต พร้ อมด้ วยพระเถระ ชนชาติกรี ก ไปเผยแผ่ ณ อปรัตนกะ
ชนบท อยูท่ างทิศเหนือของบอมเบย์
5 พระมหาธรรมรักขิต ไปเผยแผ่ ณ แคว้ นมหาราษฎร์ อยู่
ตะวันออกเฉียงเหนือของบอมเบย์
3
6. พระมหารักขิต เผยแผ่พระศาสนา ณ โยนกประเทศ ได้ แก่แคว้ นของฝรัง่
ชาติกรี กในทวีปอาเซียตอนกลาง เหนือประเทศอิหร่านจนถึงเตอรกี
7. พระมัชฌิมเถระ พร้ อมด้ วยบริวารไปเผยแผ่ ณ ดินแดนบริเวณภูเขา
หิมาลัย
8. พระโสณะเถระและอุตตรเถระ พร้ อมด้ วยบริวารไปเผยแผ่ ณ ดินแดน
สุวรรณภูมิ (ซึง่ ยังถกเถียงกันอยูว่ า่ ได้ แก่ ไทย หรื อ พม่า)
9. พระมหินทระ เผยแผ่พระศาสนา ณ เกาะลังกา
4
อินเดีย
พุทธศาสนา
เถรวาท
จีน
ลังกา
สุวรรณภูมิ
มอญ
ทวาราวดี
พม่ า
ละโว้
เขมร
ล้ านนา
สุโขทัย
มหายาน
เนปาล
ธิเบต
ศรี วิชัย
อยุธยา
รั ตนโกสินทร์
5
ข้ อสังเกต
1.
2.
3.
พระธรรมทูตที่สง่ ไปเผยแผ่นนั ้ ไปเป็ นคณะสงฆ์ซงึ่ สามารถให้ การ
บรรพชาอุปสมบทแก่กลุ บุตรมีจิตศรัทธาได้
แต่สว่ นใหญ่ท่านบอกไว้ เฉพาะหัวหน้ า
พระธรรมทูตสายอื่นไม่คอ่ ยทราบความเป็ นไปนัก นอกจากสายของ
พระมหินทเถระกับสายพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ ซึง่ มี
หลักฐานค้ นคว้ าได้ ในปั จจุบนั
6
4. การส่งพระธรรมทูตออกไปเผยแผ่ 9 สายนันกล่
้ าวตามหลักฐานของ
หนังสือมหาวงศ์ของลังกา
5. ตามหลักฐานของมหาวงศ์กล่าวว่าได้ สง่ ไปเผยแผ่ในราวพุทธศตวรรษที่
2 ซึง่ เป็ นระยะเวลาที่ใกล้ เคียงกันกับหลักฐานในที่อื่น ๆ โดยเฉพาะจาก
หลักฐานที่นครปฐมบอกว่าพระโสณเถระกับพระอุตตรเถระมา
ประดิษฐานพระพุทธศาสนาในดินแดนส่วนนี ้เมื่อปี พ.ศ. 274- 304
6. พระธรรมทูตสายพระมหินทรเถระและพระโสณเถระ พระอุตตรเถระ
เห็นผลและทาให้ พระพุทธศาสนาสืบต่อกันมาถึงปั จจุบนั และสองสายนี ้
ก็มีความสัมพันธ์ตอ่ กันด้ วย
7
7. พระธรรมทูตสายพระโสณเถระและอุตตรเถระทาให้ มีพระพุทธศาสนาใน
ประเทศไทย แต่ก็เป็ นเหตุให้ ถกเถียงกันว่า สุวรรณภูมิ คือบริเวณส่วน
ไหนที่พระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้ ามาตังมั
้ น่ เป็ นครัง้ แรก
8. พระพุทธศาสนาที่เข้ ามาสูป่ ระเทศไทยระยะแรกเป็ นนิกายเถรวาทหรื อ
หีนยาน ส่วนนิกายมหายานเข้ ามาภายหลัง (พศต. 13)
8
ตามศิลาจารึกของพระเจ้ าอโศกมหาราช
1.
2.
3.
ในศิลาจารึกของพระเจ้ าอโศกมหาราช ไม่ได้ กล่าวพาดพิงถึงตติยสังค
ยานาและจัดส่งพระธรรมทูต 9 สาย ตามหนังสือมหาวงศ์เลย
ในศิลาจารึกได้ กล่าวไว้ วา่ เมื่อพระเจ้ าอโศกมหาราชได้ ทรงจัดการ
ทานุบารุงพระพุทธศาสนาให้ มนั่ คงในพระราชอาณาจักร และทรง
เห็นว่าเกิดผลดีดงั พระราชดาริแล้ ว จึงทรงพยายามที่จะเผยแผ่แบบ
แผนที่พระองค์ทรงนิยมให้ แพร่หลายไปสูน่ านาประเทศด้ วย
ข้ อความตรงนี ้กล่าวไว้ ตรงกันว่ามีการเผยแพร่พระพุทธศาสนาไปสู่
อารยประเทศจริง
9
4. แต่ในศิลาจารึกกล่าวต่างไปจากหนังสือมหาวงศ์วา่ ได้ ให้ ราชทูตเชิญพระ
ธรรมไปสัง่ สอนยังต่างประเทศที่เป็ นมิตรไมตรี กบั มคธรัฐ คือ
1) ประเทศซิเรี ย
2) ประเทศอียิปต์
3) ประเทศไกรี น
ตรี โปลี
อิรัก
4) ประเทศเอปิ รุส
กรี ก
5) ประเทศซีโดเนีย (อยูเ่ หนือประเทศกรี ก)
10
ส่วนในเขตชมพูทวีป (อิสระ)
1. โจลมณฑล
2. ปาณฑยประเทศ
3. ลังกาทวีป
11
วิจารณ์ + ข้ อสังเกต
1 พระเจ้ าอโศกมหาราช น่าจะมีโครงการหรื อแผนการรับสัง่ ให้ เชิญพระ
ธรรมไปยังนานาประเทศหรื ออย่างน้ อย ประเทศที่มีวฒ
ั นธรรม
คล้ ายคลึงกันหรื ออยูใ่ กล้ มคธรัฐที่มีความยาเกรงหรื อนับถือพระเจ้ า
อโศกมหาราช
2. พระโมคคัลลีบตุ รติสสะเถระ แต่งตังพระเถระไปยั
้
งนานาประเทศและให้
การบรรพชาอุปสมบทเพื่อประดิษฐาน สังฆมณฑลเป็ นแบบเดียวกันกับ
มคธรัฐน่าจะเกิดขึ ้นภายหลังที่ประเทศเหล่านันเลื
้ ่อมใสพระพุทธศาสนา
แล้ ว
12
ยุคที่ 1 ประมาณพุทธศตวรรษที่ 3 - 4 ซึง่ เป็ นนิกายหีนยานหรื อเถรวาท มี
ศูนย์กลางอยูท่ ี่นครปฐม
ยุคที่ 2 ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 ซึง่ เป็ นนิกายมหายานเข้ าเผยแผ่ทาง
ตอนใต้ ของไทย
ยุคที่ 3 ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16 -18 เป็ นเถรวาทแบบพุกาม หรื อเถร
วาทแบบมอญ ทางภาคเหนือของไทยได้ รับอิทธิพลแห่งลัทธิแบบนี ้
ยุคที่ 4 ประมาณพุทธศตวรรษที่ 18 นิกายหีนยาน แบบ “ลังกาวงศ์” เข้ า
มาเผยแผ่ในภาคใต้ ของไทยเป็ นครัง้ แรก และนาไปเผยแผ่ที่สโุ ขทัยจึง
เจริญสืบเนื่องกันต่อมาเรื่ อย ๆ จนถึงปั จจุบนั
13
ยุคเริ่มแรกการฝั งรากฐานพระพุทธศาสนา : เริ่มฟั กตัว
1. อยูต่ ามจุดต่าง ๆ (อาณาจักรต่างๆ ในสุวรรณภูมิ)
2. หลัง พศต. ที่ 17 แล้ วพระพุทธศาสนาเริ่ มเป็ นปึ กแผ่น/เอกภาพมากขึ ้น ทังนี
้ ้
อาณาจักรต่าง ๆ เริ่ มรวมตัวกันเป็ นประเทศไทย หรื อมีอาณาจักรน้ อยลง
3. แต่ละอาณาจักร ส่วนใหญ่มีพระพุทธศาสนาเป็ นปทัฏฐานในการปกครอง/
ดาเนินชีวิต
4. พระพุทธศาสนาเจริ ญหรื อเสื่อมมักจะคล้ อยไปตามอาณาจักรด้ วยเสมอ ทังนี
้ ้ก็
เพราะผู้อปุ ถัมป์ก็คือผู้นาหรื อเจ้ าผู้ครองนคร
5. หลังจาก พศต. 18 เป็ นต้ นมา พระพุทธศาสนาจะเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกับคนไทย
ทุกด้ าน
14
การเจริ ญงอกงามของพระพุทธศาสนาจะมีลกั ษณะดังนี ้
1. ระยะแรก = สุวรรณภูมิ เริ่ มเสนอความคิดสอดแทรกความคิด รับ
ข้ อเสนอตามสมควร ซึง่ อยูใ่ นช่วงระยะ พศต. 3 - 6
2. ระยะเริ่ มฝั งตัว (พศต. 6 -18) พระพุทธศาสนาเจริ ญงามยิ่งขึ ้น เช่น
- พศต. 6 -11 พระพุทธศาสนาเจริญในฟูหนาพอสมควรแต่ก็ไม่เด่นชัดหรื อ
ยึดครองเด็ดขาดในอาณาจักรนี ้
- พศต. 11 - 15 พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทถือว่าฝั งตัวได้ มากที่สดุ ใน
อาณาจักรทวาราวดี ศิลปวัฒนธรรมหลายประการได้ ตกทอดมาถึง
ปั จจุบนั
15
พศต. 12 -18 พระพุทธศาสนาแบบมหายานได้ เจริญขึ ้นก่อน ต่อมา
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบ “ลังกาวงศ์” ได้ เข้ ามาเผยแผ่
โดยเฉพาะดินแดนส่วนนี ้และเป็ นเหตุให้ ประเทศไทยยึดถือ
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท “ลังกาวงศ์” จนถึงปั จจุบนั
พศต. 15 - 18 พระพุทธศาสนาทังเถรวาทและมหายานได้
้
เจริญขึ ้นในส่วน
นี ้เพราะอิทธิพลจากอาณาจักรต่างๆ ที่แพร่เข้ ามา เอกลักษณ์ที่เด่นหรื อ
รู้จกั กันในปั จจุบนั ก็คือ อักษรขอม ซึง่ เป็ นอักษรที่จารึกพระไตรปิ ฎก
อย่างเป็ นทางการและได้ เปลี่ยนมาเป็ นอักษรไทยโดยเฉพาะในรัชกาลที่
5 แห่งรัตนโกสินทร์ นี ้เอง
นอกจากนี ้พระพุทธศาสนาในละโว้ ในยุคทวาราวดีได้ แพร่ไปยังล้ านนาด้ วย
ถือว่ามีบทบาทที่สาคัญมิใช่น้อยต่อประเทศไทยในกาลต่อมา
16
พศต. 5 – 18 ส่วนพระพุทธศาสนาของชาติหรื อที่มีเชื ้อสายเดียวกับชน
ชาติไทยที่อยูใ่ นจีนโบราณหลักฐานว่าได้ นบั ถือพระพุทธศาสนาเช่นกัน
ภายหลังอพยพมารวมกับคนในสุวรรณภูมิ (ไทย) และรวมกันตังเป็
้ น
แผ่นดินไทยขึ ้น ด้ วยเหตุที่นบั ถือพระพุทธศาสนาจึงสามารถรวมกันได้
อย่างสนิท
พศต. 12 – 25 ดินแดนแห่งอาณาจักรล้ านนาไทยถือว่าพระพุทธศาสนา
ได้ เจริญติดต่อกันแบบไม่ขาดสาย
พศต. 18 เป็ นต้ นมา ถือว่าพระพุทธศาสนาในอาณาจักรนี ้เจริญสุดขีดแล้ ว
เกือบทุกด้ าน วิถีชีวิตคนไทยกับพระพุทธศาสนาเกือบจะแยกกันไม่ออก
โดยเฉพาะ พศต. 18 หลักการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ น
ประชาธิปไตยเล็กน้ อย
17
พศต. 26 นี ้พระพุทธศาสนาขาดการเหลียวแลโดยเฉพาะเรื่ องการศึกษา
ของภิกษุสามเณรรัฐบาลให้ ศกึ ษากับประชากรที่ได้ ศกึ ษาตามโรงเรี ยน
สามัญศึกษา ส่วนโรงเรี ยนพระปริยตั ธิ รรมสามัญศึกษากระเสือกกระสน
กันเองตามบุญตามกรรม
18