4 ศรีวิชัย

Download Report

Transcript 4 ศรีวิชัย

พระพุทธศาสนาในยุคศรีวชิ ัย (พศต. 12-18)
1. ศรี วิชยั เป็ นชื่อที่สมมติเรี ยกศิลปะแบบหนึ่ง
2. อาณาจักรศรี วิชยั ยังคงเป็ นที่ถกเถียงกันถึงที่ต้ งั ของศูนย์กลาง
่ ี่สุมาตรา (ชวา) คาบสมุทรมลายู รวมถึงภาคใต้บางส่ วน
 บางคนกล่าวว่า อยูท
ของไทยในปั จจุบนั
 ส่ ว นดร.เวลล์ กล่ า วว่ า แท้ที่ จ ริ ง อาณาจัก รศรี วิ ช ัย ถู ก ก่ อ ตั้ง โดยราชวงศ์
ไศเรนทร์ และมีอาณาจักรที่ชื่อว่า ชวกะ แต่เนื่ องจากสามารถยึดครองศรี วิชยั
ในสุ มาตราได้ จึงได้นาเอาชื่ อศรี วิชยั นี้ มาตั้งเป็ นชื่ อแคว้นของตน ซึ่ งปรากฏ
หลักฐานไว้ในจารึ กหลักที่ 13 ซึ่ งกล่าวถึงการตั้งราชธานีที่เมืองไชยาโดยพวก
ไศเรนทร์นนั่ เอง
 คาว่า “ ไชยา ” กร่ อนมาจากศรี วิชยั
 หลักฐานที่พบ คือ พระพิมพ์มหายานยุคศรี วิชยั ซึ่ งมีอยูม่ ากมายในบริ เวณทาง
เหนือแหลมมลายู
3. หลักฐานที่เป็ นบันทึกการเดินทางหรื อจดหมายเหตุของราชทูตพ่อค้าวานิชและธรรมทูต
ชาวต่างประเทศ เช่น จีน อาหรับ กรี ก ฯลฯ
 จดหมายเหตุของจีน เรี ยกว่า ซิ กหลีฮุดจิ (ศรี พุทธหรื อศรี โพธิ์ )
 จดหมายเหตุของอาหรับ เรี ยกว่า ซาบากะ, ชวกะ หรื อชีวกะ
 หลักฐานล่าสุ ดและน่าเชื่อถือมากที่สุด คือ จารึ กภาษาสันสกฤตที่วดั เสมา
( 2-3 แผ่น ) เมืองนครศรี ธรรมราช ต่อมายอร์ช เซเดย์ แปลเป็ นภาษาฝรั่งเศส
 ในศิลาจารึ กหลักที่ 24 พบที่วดั เวียง อาเภอไชยา จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี
จารึ กด้วยอักษรขอม ภาษาสันสกฤต ปรากฏคาว่า “ ตามพรลิงเคศวระ ” กับ
“ ตามพรลิงเคศวร ” (ตามพรหรื อตัมพร แปลว่า แดง ส่ วนลิงค์ แปลว่า อวัยวะเพศ)
 ขุดพบศิลาจารึ กพ.ศ.1318 ที่ระบุชื่อ พระยาศรี วิชยั นั้นว่า ศรี วิชเยนทรราชา,
ศรี วิชเยศวรภูบดี และศรี วชิ ยนฤบดี ที่หมายถึง พระเจ้าแผ่นดินเมืองศรี วชิ ยั
นัน่ หมายถึงศูนย์กลางอานาจของพวกไศเรนทร (ราชาแห่งจอมเขา) อยูท่ ี่บริ เวณ
เมืองไชยา
4. สมเด็จกรมพระยาดารงฯ สันนิษฐานว่าโบราณสถานที่หวั เมืองภาคใต้น่าจะมีเพียง 3 แห่ง
1) เมืองไชยา ( รวมถึงเมืองเวียงสระด้วย )
2) เมืองนครศรี ธรรมราช ( ตามพรลิงค์ )
3) เมืองยะลา
ตามหลักฐานทางโบราณวัตถุที่คน้ พบนั้น เชื่อกันโดยทัว่ ไปว่า น่าจะมี
1) กรุ งพันพาน (ที่เวียงสระ)
2) กรุ งตามพรลิงค์ (พ.ศ.1098)
5. จารึ ก “ ตามพรลิงค์ ” แปลว่า พระอิศวรผูม้ ีอวัยวะเพศสี แดง
- ซึ่ งถือว่าเป็ นสัญลักษณ์แห่งอิศวรที่มีชื่อว่า ศิวไภรวะ โดยถูกสร้างเพื่ออุทิศ
พระเจ้าไข่แดง ( พระเจ้าแผ่นดินองค์หนึ่งที่มีลูกอัณฑะลูกเดียว )
6. เมืองตามพรลิงค์ ( ปั จจุบนั คือ นครศรี ธรรมราช )
- ในจดหมายเหตุของจีน เรี ยกว่า เชียะโท้ว = ดินแดน ส่ วนลิงค์แดงไม่
สามารถแปลเป็ นภาษาจีนได้
- ส่ วนเอกสารของอินเดีย เรี ยกว่า ตามพรลิงค์ ( ต้ ามาลิ่ง, ตันเหมยหลิง, โพลิง
หรื อโฮลิง )
ศิลปวัฒนธรรมและศาสนา
1. ในพศต.12 จดหมายเหตุของสมณอี้จิง จัดเป็ นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า เมืองพันพาน
หรื อตามพรลิงค์หรื ออาณาจักรศรี วิชยั ได้มีการติดต่อกับอินเดียเป็ นระยะเวลานาน อีกทั้งยัง
เคยเป็ นศูนย์กลางแห่งปริ ยตั ิธรรมที่มีชื่อเสี ยง โดยท่านได้บนั ทึกไว้วา่
-
“ อาณาจักรศรี วิชยั นั้น พระพุทธศาสนารุ่ งเรื องเหมือนอินเดีย มีสงั ฆราช
ชื่อศากยะเกียรติ เป็ นประมุขสงฆ์ของเมืองใหญ่นอ้ ยหลายร้อยเกาะ
อาณาจักรนี้มีภิกษุในพระพุทธศาสนา (มหายาน) กว่าพันรู ป ปฎิบตั ิ
เคร่ งครัดเหมือนกับภิกษุในอินเดีย พระจีนที่จะเดินทางไปอินเดีย
(เมื่อผ่านทางนี้) ควรแวะศรี วชิ ยั ก่อน เพื่อเตรี ยมเรี ยนศึกษาภาษาสันสกฤต
และเล่าเรี ยนวัตรปฎิบตั ิให้ชานาญสักปี หนึ่งหรื อสองปี จะเป็ นการดียงิ่ ”
นอกเหนือจากนี้ท่านยังได้พดู ถึงประเพณี ชกั พระด้วย
2. ในพศต. 15 พระทีปังกรอติศะ ผูซ้ ่ ึ งเป็ นคณาจารย์ที่ฟ้ื นฟูพระพุทธศาสนาในธิเบตได้เคย
ศึกษาในสานักพระธรรมเกียรติที่สุมาตราถึง 12 ปี
3. พระมหากษัตริ ยท์ ุกองค์มกั เรี ยกว่า “ ศรี ธรรมโศก ” เนื่องจากคนในสมัยนั้นมีความคิด
ที่วา่ กษัตริ ยท์ ี่ประชาชนยกย่องนับถือนั้น ควรที่จะเรี ยกให้เท่าเทียมกับศาสนาที่ตนเอง
นับถืออยู่
4. ฟูหนาได้รับอิทธิพลพุทธศาสนาแบบมหายานจากศรี วิชยั ด้วย ซึ่ งได้ปรากฏหลักฐานไว้
ในตานานพระแก้วมรกต โดยมีความเกี่ยวข้องกันระหว่างฟูหนากับตามพรลิงค์นนั่ เอง
5. ตานานพระบรมธาตุเมืองนครศรี ธรรมราช ถือว่าเป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์พุทธ
ศาสนาที่สคัญมาก เพราะเป็ นสิ่ งที่บ่งบอกว่า พระพุทธศาสนาเคยประดิษฐานลง ณ
ดินแดนแห่งนี้ แต่ไม่ทราบว่าเป็ นสมัยใด พร้อมทั้งในตานานยังมีการทานายถึงอนาคต
โดยจะมีพระยาศรี ธรรมาโศกมาตั้งพระนครและสร้างพระเจดียเ์ ป็ นพระบรมธาตุประจา
พระมหานคร
หลักฐานทีเ่ คยเป็ นร่ องรอยแห่ งความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนา
1. พระบรมธาตุตามประจากรุ งตามพรลิงค์ จ.นครศรี ธรรมราช อุทิศแด่พระเจ้าไข่แดง
2. พระบรมธาตุไชยา
สร้างเพื่ออุทิศพระมหากษัตริ ย ์
องปฐมวงศ์แห่งนครศรี โพธิ์
3. ตานานพระบรมธาตุนครศรี ธรรมราช มีพุทธคัมเภียรและพุทธสาคร ซึ่ งเป็ นชาวมอญ
และพระราหุลเป็ นชาวลังกา ได้เข้ามาเผยแพร่ พระพุทธศาสนาในดินแดนนี้
4. จดหมายเหตุของสมณจีนอี้จิง
 เรี ยกตามพรลิงค์วา่ ซิ กหลีฮุดจิ = ศรี พุทธ
 ได้บอกว่าที่แห่ งนี้เคยเป็ นแหล่งเล่าเรี ยนสันสกฤตทางพระพุทธศาสนาในอดีต
5. ในพศต.ที่ 17-18 พบหลักฐานทางพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ไปประดิษฐานที่สุโขทัยใน
สมัยพ่อขุนราม โดยสิ่ งเหล่านี้ได้ช้ ีให้เห็นถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องของพระพุทธศาสนาใน
อาณาจักรนี้นนั่ เอง
6. ส่ วนใหญ่ลงความเห็นว่า ยุคศรี วิชยั นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน โดยเฉพาะ
นิกายมนตรยานซึ่ งเป็ นแบบเดียวกันกับราชวงศ์ปาละแห่งอินเดียใต้
 พุทธศาสนามหายานถือเป็ นศาสนาประจาจักรวรรดิ ในช่วงพ.ศ.1200-1700
 พุทธศาสนาเถรวาทมาปรากฏตอนหลังในช่วงพศต.ที่ 17-18 เป็ นต้นไป
 ในช่วงพศต.ที่12 เมืองพันพาน ( จ.สุ ราษฎร์ ธานีในปั จจุบนั ) นับถือ
พระพุทธศาสนาแบบสาวกยาน (เถรวาท) และยังเป็ นดินแดนที่เคยมีความสัมพันธ์
กับทวารวดีดว้ ย
 ราวพศต.ที่ 13-15 ( ในยุคราชวงศ์ปาละแห่ งเบงกอล ) เป็ นช่วงที่พท
ุ ธศาสนา
แบบมหายานลัทธิมนตรยานมีอิทธิพลเหนือเถรวาท
7. สิ่ งที่ช่วยยืนยันว่าอาณาจักรศรี วิชยั เป็ นศูนย์กลางการศึกษาพระปริ ยตั ิธรรมของ
พระพุทธศาสนามหายานจนมีชื่อเสี ยง ได้แก่
 จดหมายเหตุของสมณจีนอี้จิง
 มหาเจดียแ์ ละพุทธศิลป์ ที่สาคัญ คือ มหาเจดียบ์ ุโรบุโด (เกาะชวา) , พระเจดีย ์
บรมธาตุ (ไชยา) , รู ปพระอวโลกิเตศวรโพธิสตั ว์ (ไชยา) , พระพิมพ์ดินดิบต่างๆซึ่ ง
มีท้ งั พระพุทธรู ปและรู ปพระโพธิสตั ว์ตามคติมหายานมีมากในภาคใต้ของไทย
*** ในช่วงพศต.ที่ 13 เป็ นต้นมา อิทธิพลของศรี วิชยั ได้แพร่ กระจายไปถึงกัมพูชา (ฟูนนั
หรื อเจนละ) จึงทาให้กมั พูชาหันมานับถือพุทธศาสนามหายานตามศรี วิชยั ไปด้วย
8. ในพศต.ที่12 ได้พบศิลาจารึ กภาษาสันสกฤต ที่จ.นครศรี ธรรมราช ซึ่ งได้ต้ งั ชื่อว่า ตาม
พรลิงค์ เพื่อเชิดชูเกียรติพระเจ้ากรุ งศรี วิชยั และอุทิศให้กบั พระพุทธสาสนา โดยการกล่าวถึง
การสถาปนาพระเจดียอ์ ีกด้วย
 จารึ กนี้อยูใ่ นยุคของพระวิษณุ กรรมเทพบุตร ซึ่ งมีความเกี่ยวข้องกับ
พระพุทธศาสนามหายาน
 ส่ วนปราสาทอิฐทั้ง 3 ที่กล่าวในจารึ กนี้ ปั จจุบน
ั ตั้งอยูท่ ี่วดั แก้ว วัดหลง
และวัดเรี ยง ภาคใต้ของไทย
9. จดหมายเหตุของจีนที่เรี ยกว่า ซิ กหลีฮุดจิ (ศรี พทุ ธหรื อศรี โพธิ์)
 เป็ นหลักฐานที่มาของความเจริ ญรุ่ งเรื องในพระพุทธศาสนาที่อาณาจักรศรี วิชยั
โดยเฉพาะมหายานลัทธิมนตรยาน (วัชรยาน ตันตระ รหัสยาน หรื อกาฬจักรยาน)
 มนตรยานจะถูกกับจริ ตของคนบางจาพวกที่ชอบทาอะไรง่ายๆ และรสนิยมแบบ
ชาวโลกียวิสยั จึงทาให้มีคนนับถือกันแพร่ หลายอย่างมาก
 อิทธิ พลของมนตรยานในไทย ไม่วา่ จะเป็ น บทสวด พิธีกรรม และคาถาขลัง
ต่างๆ ถือว่าเป็ นสิ่ งที่นิยมกันมากในปั จจุบนั
10. พอสรุ ปได้กว้าง ๆ ได้วา่
 ระยะแรก ๆ นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานคู่ไปกับศาสนาพราหมณ์
รวมทั้งยังมีความสัมพันธ์กบั อาณาจักรฟูนนั หรื อขอมในเรื่ องของศาสนาพุทธมหายาน
และศาสนาพรหมณ์
 ระยะหลังต่อมา พระพุทธศาสนาเถรวาทเจริ ญรุ่ งเรื อง เพราะมีหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
กับสุ โขทัยว่า “ ... เบื้องตะวันตกเมืองสุ โขทัยนี้มีอรัญญิก พ่อขุนรามคาแหงกระทา
โดยทาโอยทานแก่มหาเถรสังฆราชปราชญ์เรี ยนจบปิ ฎกไตรหลวก (รู้หลัก) กว่าปู่ ครู ใน
เมืองนี้ ทุกคนลุกแต่เมืองนครศรี ธรรมราช...”
 ในพศต.ที่17 พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ ได้เข้ามาในนครศรี ธรรมราช (ตาม
พรลิงค์) ซึ่ งเป็ นสมัยของพระเจ้าปรักกรมพาหุแห่งลังกา ท่านจึงได้ทาการฟื้ นฟู
พระพุทธศาสนา โดยที่พระสงฆ์จากประเทศต่างๆได้เข้าไปทาการอุปสมบทใหม่ที่
ลังกาแล้ว ก็ได้กลับมาตั้งคณะลังกาวงศ์ในประเทศของตน
 ภาคใต้ของไทยซึ่ งขณะนั้นเรี ยกว่า ตามพรลิงค์ มีกษัตริ ยม์ ลายูปกครองอยู่ ต่อมาใน
พศต.ที่17 พระราหุลซึ่ งเป็ นชาวลังกาและเป็ นสังฆปาโมกข์ (พระสังฆราช) ได้จาริ กผ่าน
พุกามมาตั้งคณะลังกาวงศ์ข้ ึนที่ตามพรลิงค์ เนื่องจากเหตุการณ์น้ ีเกิดก่อนอาณาจักร
สุ โขทัยประมาณ 100 ปี เมื่ออาณาเขตยุคพ่อขุนรามคาแหงแผ่ลงไปถึงหัวเมืองมลายู
ดังนั้นจึงรับเอาลัทธิน้ ีเป็ นศาสนาประจาชาติไทยสื บต่อกันมาจนถึงปั จจุบนั
 หลักฐานที่ปรากฏในตานานจามเทวีวงศ์และชินกาลมาลีปกรณ์ (พ.ศ.1150) ซึ่ งเป็ น
ภาษาบาลี ได้ช้ ีให้เห็นถึงอิทธิพลของอาณาจักรศรี วิชยั ที่ได้แพร่ กระจายอานาจมาที่ขอม
และอาณาเขตบริ เวณลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยา
 ในพศต.ที่15 อิทธิ พลของศรี วิชยั ได้เข้ามาครอบงาบริ เวณแม่น้ าเจ้าพระยา ดูได้จาก
การที่มีกษัตริ ยข์ ้ ึนมาปกครองขอม (พระเจ้าชัยวรมันที่1) และประดิษฐานมหายานทัว่ ไป
โดยเชื่อกันว่า อิทธิพลศรี วิชยั ยังไปไม่ถึงลุ่มแม่น้ าปิ ง แต่ในปั จจุบนั ได้พบภาพสลักมุก
พระเจดียอ์ งค์หนึ่งที่วดั ป่ าสัก อ.เชียงแสน ทาเป็ นรู ปเกียรติมุขแบบศรี วิชยั
 ในพศต.ที่15 ศรี วิชยั ได้รับอารยธรรมจากอินเดีย 2 แห่ ง คือ
1. จากลุ่มแม่น้ าคงคา = ราชวงศ์ปาละแห่งเบงกอล กาลังเป็ นใหญ่จึงได้รับลัทธิ
ตันตระอย่างเต็มที่
2. จากโจฬะแห่งอินเดียใต้ รับพระพุทธศาสนาในฐานะมิตรเป็ นบางคราว และ
ปฏิเสธในบางคราวที่เป็ นศัตรู
 สมัยศรี วิชยั ถือว่าพระพุทธศาสนาแบบมหายาน (ตันตระ) เจริ ญที่สดในภูมิภาคนี้ โดย
มีความสัมพันธ์กบั ราชวงศ์ปาละ บรรดาผูร้ ู ้หรื อธรรมจาริ กแห่งมหาวิทยาลัยนาลันทา
วิกรมศิลา อุทนั ตบุรี ได้เดินทางมาเผยแพร่ ศาสนาที่นี่ ศิลปะแบบปาละจึงเป็ นครู ของศรี
วิชยั แต่ศรี วิชยั ก็ผลิตศิลปะของตนเองด้วย โดยมีปาละเป็ นพื้นฐาน
 ราชวงศ์ปัลลวะ
สรุป อาณาจักรนครศรีธรรมราช-ศรีวชิ ัย
(ตามพรลิงค์ ในพศต.ที่ 7-19)
1. มีอายุนานถึงกว่า 1,000 ปี
2. แต่ระหว่างนั้นบางช่วงก็ตกอยูใ่ นอาณาจักรอื่นบ้าง
- อาณาจักรศรี วิชยั (พศต. 12 – 18)
- อาณาจักรทวารวดี (พศต. 11-15)
- ประเทศราชของอาณาจักรสุ โขทัย โดยเฉพาะในสมัยของพ่อขุนรามคาแหง
(พ.ศ. 1821-1873)
- ท้ายที่สุดก็ถูกผนวกเข้าเป็ นส่ วนหนึ่งของกรุ งศรี อยุธยา
3. ความสาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ ก็คือ
1. ได้เป็ นแหล่งรับพระพุทธศาสนาลัทธิลงั กาวงศ์เป็ นครั้งแรก
2. ได้สร้างพระพุทธสิ หิงค์
4. ต่อมาเมื่อเกิดอาณาจักรจักรศรี วิชยั ซึ่ งมีศูนย์กลางอยูท่ ี่ไชยา ดังนั้นอานาจจึงอยูภ่ ายใต้
การปกครองของศรี วิชยั
5. อาณาจักรศรี วิชยั มีเนื้อที่ต้ งั แต่ไชยาถึงเกาะชวา
- ชวา
มีปาเล็มปั ง เป็ นศูนย์กลาง
- ไชยา
มีไชยา เป็ นศูนย์กลาง
6. พระพุทธศาสนานิกายที่ทรงอิทธิพลน่าจะเป็ นนิกายมหายาน
- ส่ วนนิกายเถรวาท น่าจะมีความสาคัญอยูบ่ ริ เวณ กรุ งตามพรลิงค์ เพราะอิทธิพลเดิมยัง
ฝังรากอยู่
- นิกายเถรวาทเริ่ มฟื้ นตัวอีกครั้ง ประมาณ พศต. 17-18 เป็ นต้นมา โดยเฉพาะบริ เวณ
นครศรี ธรรมราช (อันเป็ นศูนย์กลาง)
7. อาจจะสันนิษฐานได้วา่ ในช่วง พศต. 7-17 นั้นภาคใต้ของไทยในอดีตในยุคอาณาจักร
ตามพรลิงค์ศรี วิชยั
- พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีศูนย์กลางแห่งความมัน่ คง ณ เมืองนครศรี ธรรมราช
- พระพุทธศาสนานิกายมหายาน มีศูนย์กลางอันมัน่ คง ณ เมืองไชยา
หลังจากพุทธศตวรรษที่ 17 แล้ว พระพุทธศาสนานิกาย
มหายานแห่งอาณาจักรศรี วชิ ยั เป็ นอันล่มสลายไปพร้อม ๆ กับ
นิกายมหายานแห่งละโว้
-
1.
2.
เพราะอาณาจักรสุ โขทัยขยายมาถึงละโว้ และหัวเมืองที่ข้ ึนอยูก่ บั
อาณาจักรศรี วิชยั (ภาคใต้ของไทย) เอามาเป็ นประเทศราช
นอกจากนี้อาณาจักรศรี วิชยั ยังถูกพวกมัชปาหิ ต (อิสลาม) ในชวา
รุ กขึ้นมาและได้แบ่งดินแดนไปอีก
- ส่ วนพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทโดยเฉพาะลัทธิ ลงั กาวงศ์ หลังพศต. 17 แล้วได้
เจริ ญรุ่ งเรื องขึ้นมาเป็ นลาดับเพราะ
1. มีเจ้าปกครอง/ผูป้ กครองขึ้นมาเป็ นลาดับเพราะนับถือและให้การสนับสนุน
2. อยูใ่ นอาณาจักรที่พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทมีผปู ้ กครองและประชาชนนับถือ
เป็ นส่ วนใหญ่
ศิลปะ : อาณาจักรศรีวชิ ัย
 พระพุทธรู ปปางสมาธิ ประทับนั่งขัดสมาธิราบบน
ฐานบัวค่า บัวหงาย
ศิลปะ
ทวารวดี พุทธศตวรรษที่ 12
วัสดุ
หิ นทราย
ขนาด
สู ง 21 ซม.
แหล่ งที่มา พบที่บา้ นพังแฟม ตาบลจะทิ้งพระ
อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
 คณฑี
ศิลปะ
วัสดุ
ขนาด
แหล่งที่มา
:
:
:
:
ศรี วิชยั ประมาณพุทธศควรรษที่ 15 - 16
ดินเผา
สู ง 18 ซม./ปก. 6 ซม.
ขุดพบที่บา้ นสทิงหม้อ อาเภอสทิงพระ
จังหวัดสงขลา
 ส่ วนองค์ ของพระวิษณุ (นารายณ์ )
ศิลปะ
ศรี วิชยั พุทธศตวรรษที่ 13 - 14
วัสดุ
หิ นทราย
ขนาด
สู ง 61.5 ซม.
แหล่ งที่มา พบที่วดั ขนุน (ร้าว) ตาบลพังยาง อาเภอระโนด
จังหวัดสงขลา
ขุนศิลปกรรมพิเศษ ธรรมการจังหวัดสงขลา มอบให้
เมื่อ พ.ศ. 2481