Chapter9 - UTCC e

Download Report

Transcript Chapter9 - UTCC e

บทที่ 9
การจัดการโซ่ อุปทาน
(Supply Chain Management)
1
การจัดการโซ่ อุปทาน
(Supply Chain Management: SCM)
ความสาคัญการจัดการโซ่ อุปทาน (Supply Chain Management:
SCM)
• เพื่อให้เกิดต้นทุนต่ำสุ ดในกำรดำเนินงำน
• ใช้เวลำที่รวดเร็ วที่สุด เกิดกำรสูญเสี ยน้อยที่สุดในกระบวนกำรกำร
ผลิต
• โดยเริ่ มตั้งแต่กำรกำรได้มำของวัตถุดิบในกำรผลิตสิ นค้ำ
2
• การขายสิ นค้ าในทุกขั้นตอนไปจนถึงการค้ าปลีก
• โดยทีส่ ิ นค้ าและบริการมีคุณภาพทีด่ ขี นึ้ อีกด้ วย
• ทาให้ ธุรกิจสามารถออกผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ ได้ อย่ างรวดเร็วและ
ได้ เปรียบคู่แข่ งอีกด้ วย
• ดังนั้นจึงควรมี การปรับปรุงโซ่ อุปทานในระบบของธุรกิจ
• ดูรูปที่ 9.1 และ 9.2
3
การพัฒนาการการจัดการโซ่อุปทานในประเทศไทย
• เริ่ มเมื่อประมาณ 10 กว่าปี ที่แล้ว (2536-7)
• บริ ษทั แรก ที่นาแนวคิดนี้มาใช้คือ Unilever Thailand และตามมา
ด้วย Nestle’
• โดยนาแนวคิด Space Management เข้ามาเผยแพร่ ในวงการค้าปลีก
ขนาดใหญ่ก่อน เช่น เซ็นทรัล โรบินสัน เดอะมอลล์
• SpaceMan ถูกพัฒนาให้เป็ น Category Management และมีการนา
ระบบ SSQR (Superior Suppliers Quality Relationship)
• ปัจจุบนั ได้มีการนาการจัดการโซ่อุปทานมาใช้ในบริ ษทั ขนาดใหญ่
จานวนมากขึ้นเรื่ อยๆ
4
พื้นฐานในการการจัดการโซ่อุปทาน
• Demand Management
• Supply Management
• Technology
Midstream
Upstream
Suppliers
M
Downstream
W
R
C
5
องค์ ประกอบของโซ่ อุปทาน (Components of Supply Chain)
ดูรูปที่ 9.3
1. กิจกรรมการจัดซื้อและการผลิตสิ นค้ า (Production Activity
Control and Purchasing)
• กิจกรรมต่ำงๆเหล่ำนี้มกั จะเกิดที่ตน้ น้ ำ (Upstream)
* การจัดซื้อ (Purchasing)
* การวางแผนและควบคุมการผลิต (Production Control and
Planning)
* การขนส่ งภายใน (Inbound Transportation)
* การรักษาสิ นค้ าคงคลัง (Inventory Maintenance)
6
* กำรบริ หำรกำรสัง่ ซื้อ (Order Processing)
* กำรบริ หำรวัตถุดิบ (Material Acquisition)
* กำรบรรจุภณ
ั ฑ์ (Protective Packaging)
* กำรบริ หำรโกดังเก็บสิ นค้ำ ( Warehousing)
* กำรขนถ่ำยและลำเลียงวัตถุดิบ (Material Handling)
* กำรเก็บข้อมูล (Information Maintenance)
7
2. กิจกรรมการกระจายสิ นค้ าทางกายภาพ
(Physical Distribution)
• เป็ นกิจกรรม ที่เกิดขึน้ เมื่อมีการผลิตสิ นค้ าสาเร็จรูปแล้ว โดยจะ
มีการจัดส่ งและกระจายสิ นค้ าไปยังผู้แทนในการจัดจาหน่ าย
(Distributor/Dealer/Wholesaler)
* การบริการลูกค้ า (Customer Service)
* การขนส่ งภายนอกโรงงาน (Outbound Transportation)
* การเก็บรักษาสิ นค้ าคงคลัง (Inventory Maintenance)
* การบริหารการสั่ งซื้อ (Order Processing)
8
* ตารางเวลาการส่ งสิ นค้ า (Product Scheduling)
* การบรรจุภัณฑ์ (Protective Packaging)
* การวางแผนในการกระจายสิ นค้ าและการบริหารสิ นค้ า
(DRP; Distribution Required Planning and Warehousing)
* การขนถ่ ายและลาเลียงวัตถุดิบ (Material Handling)
* การเก็บข้ อมูล (Information Maintenance)
* การเติมเต็มของสิ นค้ าทันที (Responsive Replenishment)
9
3. กิจกรรมการบริหารพืน้ ทีข่ ายและการนาเสนอขายต่ อผู้บริโภค
(Shoppers/ Category Management)
• กิจกรรมต่ างๆทีอ่ ยู่ปลายนา้ (Downstream)
• การเลือกสรรและจัดสรรชนิดของสิ นค้ าให้ เหมาะสม
(Assortment Rationalization)
- การทากิจกรรมการส่ งเสริมการตลาด (Optimize Promotion)
- การนาเสนอสิ นค้ าใหม่ สู่ ตลาด (Optimize New Product &
Introductions)
10
- การสร้ างคุณค่ าให้ กบั ลูกค้ า (Consumer Value)
- การสร้ างสรรสิ่ งใหม่ ๆให้ กบั ลูกค้ า (Creation)
- การบริหารชั้นวางสิ นค้ า (Shelf Space)
- การจัดการในด้ านต่ างๆ (Management )
- การเรียนรู้พฤติกรรมผู้บริโภค (Shopper’s Behavior)
- การวิเคราะห์ ลกู ค้ า (Consumer / End User Analysis)
11
กระบวนการจัดการโซ่ อุปทาน (Supply Chain Management)
ความหมาย
การจัดการโซ่ อุปทาน (Supply Chain Management)
หมายถึง กระบวนการดูแลปริมาณการผลิตตั้งแต่ เ ริ่มกระบวน
การคัดเลือกวัตถุดิบ การผลิต การกระจายสิ นค้ าไปยังธุรกิจค้ า
ส่ ง ค้ าปลีก จนกระทัง่ ถึงสิ้นสุ ดทีก่ ารบริการลูกค้ า โดยมี
วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ เกิดต้ นทุนต่าสุ ด และลูกค้ าเกิดความพึง
พอใจมากทีส่ ุ ด และกิจการมีรายได้ เพิม่ ขึน้
กระบวนการการจัดการโซ่ อุปทาน
ดูรูปที9่ .4 หน้ า 180
12
ความหมาย
• การจัดการโซ่ อุปทาน ( Supply chain management ) คือการ
ออกแบบ การวางแผนปฏิบัติการควบคุมติดตามกิจกรรมในโซ่
อุปทาน โดยมีวตั ถุประสงค์ ในการสร้ างคุณค่า ในการแข่ งขันละ
ยกระดับงานสากล การปรับอุปทานให้ สอดคล้องกับอุปสงค์และการ
วัดการปฏิบัติงาน (สานักงานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรม
ส่ งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, 2546)
13
โซ่ อุปทาน หรือเครือข่ ายผู้ขายปัจจัยการผลิต
(Supply Chain )
• โซ่ อุปทาน หรือเครือข่ ายผู้ขายปัจจัยการผลิต (Supply Chain ) จะ
ประกอบไปด้ วยทุกๆ ขั้นตอนทีเ่ กีย่ วข้ องกับการตอบสนองความ
ต้ องการของลูกค้ า
• ผู้ผลิตหรือผู้จัดส่ งวัตถุดิบ ผู้ขนส่ ง คลังสิ นค้ า พ่ อค้ าคนกลาง และลูกค้ า
อีกด้ วย
14
กลุ่มธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้ องกับกระบวนการ SCM
• ผู้ป้อนวัตถุดิบ (Supplier)
• ผู้ผลิตและโรงงาน (Manufacturer: Plants)
• ผู้ค้าส่ งค้ าปลีก (Wholesaler & Retailer) หรือตัวแทนในการ
จาหน่ ายและการกระจายสิ นค้ า (Distributors)
• ผู้บริโภค (Consumers)
15
สิ่ งทีเ่ ป็ นตัวเชื่อมต่ อองค์ ประกอบโซ่ อุปทาน
• สิ่ งทีเ่ ป็ นตัวเชื่อมต่ อองค์ ประกอบต่ างๆ ในโซ่ อุปทานคือ สายสั มพันธ์
ทางธุรกิจ (Business Relationship ) ตั้งแต่ ต้นนา้ (Upstream ) ถึง
ปลายนา้ (Downstream )
• การมีสายสั มพันธ์ ทดี่ ีในทางธุรกิจจะทาให้ เกิดความไว้ วางใจ (Trust )
นาไปสู่ การเป็ นพันธมิตรทางธุรกิจ (Business Alliance ) และจะทาให้
การดาเนินงานภายในโซ่ อุปทานเป็ นผลในทางปฏิบัตมิ ากขึน้ ทั้งนี้ จะ
พิจารณาถึงผลการดาเนินงานในระยะยาวของธุรกิจ ทีจ่ ะก่อให้ เกิด
ประโยชน์ ร่วมกันของทุกฝ่ าย (Mutually Benefit )
16
โซ่อุปทาน ( Supply Chain )
• โซ่ อุปทาน ( Supply Chain ) จะประกอบไปด้ วยทุก ๆ ขั้นตอนที่
เกีย่ วข้ องกับการตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า ซึ่งไม่ เพียงแต่
ผู้ผลิตและผู้จัดส่ งวัตถุดิบเท่ านั้น แต่ ยงั รวมถึงส่ วนของผู้ขนส่ ง
คลังสิ นค้ า พ่อค้ าคนกลาง และลูกค้ าอีกด้ วย ตัวอย่ างเช่ น ลูกค้ าที่
สั่ งซื้อยาสี ฟันอาจจะมีข้นั ตอนของโซ่ อุปทานดังแสดงในรูป
17
18
วัตถุประสงค์ ของกระบวนการ SCM
• ลดต้ นทุนในการดาเนินกิจกรรมต่ างๆทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการ
(Reduce Cost)
• ลดต้นทุนสิ นค้ำคงคลังแลบะ ต้นทุนกำรดำเนินงำน (Reducing
Inventory & Operating Cost)
• ทาให้ เกิดรายได้ เพิม่ ขึน้ (Enhance Revenue)
• สำมำรถจำหน่ำยสิ นค้ำได้หมด ไม่มีสินค้ำเหลือ สิ นค้ำเป็ นที่
ต้องกำรของผูบ้ ริ โภค (Matching Merchandise with
Consumer Demands)
19
กระบวนการจัดการสิ นค้ าและระบบทดแทนเพือ่ สนองตอบต่ อ
ผู้บริโภคอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
(Efficiency Consumer Response: ECR)
ECR นามาปรับใช้ในธุรกิจในปัจจุบนั โดยเฉพาะธุรกิจค้าปลีก
ขนาดใหญ่ ซึ่งนาแนวคิดนี้มาใช้ในการบริ หารช่องทาง
การตลาด
ดูรูปที่ 9.5 หน้า 183
20
• โดยการร่ วมมือกันระหว่ าง ตั้งแต่ ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ ง ผู้ค้าปลีก ตัวแทนใน
การจัดจาหน่ าย (Distributor / Dealers)
• เพือ่ สร้ างประสิ ทธิภาพ และทาให้ ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจและ
ได้ รับบริการทีด่ ีทสี่ ุ ด
21
องค์ ประกอบของ ECR
1. ความพร้ อมของเทคโนโลยี (Enabling Technology)
หมำยถึง กำรมีเทคโนโลยีเป็ นพื้นฐำนในกำรสร้ำงควำมพึงพอใจ
ให้กบั ลูกค้ำ ซึ่งมี 4 ส่ วนที่สำคัญคือ
1.1.Electronic Data Interchange :EDI จะเป็ นสิ่ งสนับสนุน
และอำนวยควำมสะดวกในกำรปฏิบตั ิงำน และอำจจะต้องมี
กำรลงทุนทั้งสองฝ่ ำย ทั้งฝ่ ำยผูผ้ ลิตและคนกลำงในช่องทำง
กำรตลำด
1.2.Electronic Funds Transfer: EFT : กำรชำระเงินออนไลน์
กันได้ โดยได้ท้ งั บัตรเครดิตและเดบิตหรื ออื่นๆ
22
1.3.Item Coding and Database management กำรมี่
ธุรกิจมีบำร์โคด และข้อมูลพื้นฐำนเพื่อบริ หำรลูกค้ำ เช่น
กำรใช้บำร์โค๊ดสำกล เช่น EAN / UCC 13 หรื อ EAN
UPC12 ใช้กบั สิ นค้ำในระดับ ค้ำปลีก เป็ นต้น
1.4 Activity Based Costing: กิจกรรมที่เกิดขึ้นต้อง
คำนึงถึงต้นทุนที่ต่ำสุ ดด้วย โดยพิจำรณำจำกกิจกรรมที่
เกิดขึ้นจริ ง ในช่องทำงกำรตลำด
23
2. การเติมเต็มของสิ นค้ า (Product Replenishment )
• หมายถึงการไหลของสิ นค้ าเพือ่ ให้ มีการเติมเต็มในชั้ นวางสิ นค้ า
ของผู้ค้าปลีก และความรวดเร็วในการสนองตอบต่ อความ
ต้ องการเพือ่ ให้ สินค้ าคงคลังมีในปริมาณทีเ่ หมาะสม มีเพียงพอ
กับความต้ องการของลูกค้ า และการปฏิบัติงานต้ องมีความ
น่ าเชื่อถือ (Reliable Operation) และมีการส่ งมอบสิ นค้ าได้ โดย
ไม่ มีเวลาพักสิ นค้ า (Cross Docking) ซึ่งพิจารณาได้ จาก
24
2.1.การรวมตัวกับผู้จดั หาสิ นค้ าหรือวัตถุดิบ (Integrated Suppliers)
สำมำรถรวบรวม Supplier ได้จำนวนมำก
2.2.การผลิตทีส่ อดประสานกัน (Synchronized Production )ผลิต
สิ นค้ำได้ตำมจังหวะเวลำที่ตอ้ งกำร
2.3.การเติมเต็มที่สอดประสานกัน (Continuous Replenishment) มี
กำรเติมสิ นค้ำให้เต็มอยูเ่ สมอเพื่อบริ กำรลูกค้ำ
2.4.การสั่ งซื้ออัตโนมัติ (Automated Store Ordering) กำรสัง่ ซื้อโดย
อัตโนมัติ
25
3.การบริหารตามประเภทของสิ นค้ า (Category Management)
• เป็ นการเพิ่มประสิ ทธิภาพเพื่อสนองตอบต่อความต้องการใน
กระบวนการที่เกิดขึ้นในช่องทางการตลาด โดยพิจารณาจาก
ความสามารถของสมาชิกในช่องทางการตลาดเพื่อให้ลูกค้าได้รับ
ประโยชน์สูงสุ ด พิจารณาได้จาก
3.1.การจัดโครงสร้ างพืน้ ฐานให้ รองรับ (Establish Infrastructure)
การมีเครื่ องช่วยอานวยความสะดวกพื้นฐานให้คู่คา้ และลูกค้า
• การจดัการแบบรวมศูนย์ (Centralization)
• การใช้ผเู้ ชี่ยวชาญภายนอก (Third-party Operators)
26
3.2. การส่ งเสริมการตลาด (Optimize Promotions) กำรส่ งเสริ ม
กำรตลำดได้รับประโยชน์สูงสุ ดทั้งสมำชิกในช่องทำงกำรตลำด
และลูกค้ำ (Trade Promotion & Consumer Promotion)
3.3. การคัดแยกประเภทของสิ นค้ า (Optimize Assortments) สิ นค้ำ
มีควำมหลำกหลำยอย่ำงเหมำะสม โดยพิจำรณำจำกพื้นที่ขำยให้
เหมำะสมกับสิ นค้ำที่ขำย และต้องรู ้วำ่ ผูบ้ ริ โภคในแถบนั้นๆ
ต้องกำรอะไร
3.4. การนาสิ นค้ าใหม่ เข้ าสู่ ตลาด (Optimize Introduction) มีสินค้ำ
ใหม่ๆที่ออกมำสู่ทอ้ งตลำดได้อย่ำงมีประสิ ทธิภำพและ
ประสิ ทธิผล โดยสำมำรถสร้ำงควำมพึงพอใจให้กบั ลูกค้ำได้
27